คู่มือ Endnote

  • Uploaded by: AkeDemo
  • 0
  • 0
  • May 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View คู่มือ Endnote as PDF for free.

More details

  • Words: 3,033
  • Pages: 39
การใชโปรแกรม EndNote 7 และ 8 สรวง อุดมวรภัณฑ หนวยเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

การใชโปรแกรม EndNote 7 และ 8 เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote can help you with your Research and Thesis” รุนที่ 1 : 7 ตุลาคม พ.ศ. 2547 รุนที่ 2 : 22 ตุลาคม พ.ศ. 2547 คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

สงวนลิขสิทธิ์โดย คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

สารบัญ 1. แนะนํา EndNote ...................................................................................... 1 1.1. Endnote คืออะไร 1.2. ความตองการของระบบ 1.3. สวนประกอบของโปรแกรม EndNote 2.

1 1 2

การปอนขอมูลและการนําเขาขอมูล ........................................................ 4 2.1. การปอนขอมูลดวยมือ (manual) 2.2. การติดตอผานฐานขอมูลออนไลน (remote connection) 2.3. การนําเขาขอมูลจากฐานขอมูล (import) 2.3.1. การนําเขาขอมูลจาก PubMed 2.3.2. การนําเขาขอมูลจาก Science Direct

7 8 12 13 17

3. การสรางเอกสารบรรณานุกรม (bibliography) ....................................... 21 4. การสรางเอกสารบรรณานุกรม (bibliography) สําหรับวิทยานิพนธ ....... 28 ปญหาในการใชงาน • EndNote 7 ไมแสดงเมนูคําสั่งบน MS Word 2003............................ 32

1. แนะนํา EndNote 1.1. EndNote คืออะไร EndNote เปนโปรแกรมจัดการขอมูลทางบรรณานุกรม โปรแกรมจะทําหนาที่ในการจัดเก็บ รวบรวมและ นําเขาขอมูลบรรณานุกรมที่ไดมาจากแหลงตางๆ เชน การปอนเองดวยมือ การเขานําขอมูลจากฐานขอมูลออนไลน หรื อ แผ น ซี ดี และช ว ยในการจั ด เรี ย ง สื บ ค น ข อ มู ล ต า งๆ ที่ เก็ บ ไว รวมถึ ง การสร า งเอกสารบรรณานุ ก รมและ เอกสารรายงานตนฉบับตามรูปแบบที่วารสารตางๆ กําหนด โดยที่โปรแกรม EndNote เองรูจักรูปแบบของวารสาร ตางๆ ที่เปนที่รูจักแพรหลายกวา 1,100 ชื่อเรื่อง โดยสามารถทํางานรวมกับโปรแกรมประมวลผลคํา (Word

processor) เชน Microsoft Word Word Perfect และอื่นๆ ไดเปนอยางดี ซึ่งคุณสมบัติเหลานี้มีประโยชน อย า งมากต อ นั ก ศึ ก ษา อาจารย นั ก วิ จั ย ในการเขี ย นเอกสารรายงานการวิ จั ย วิ ท ยานิ พ นธ เพราะช ว ย ประหยัดเวลาเปนอยางมาก ปจจุบัน โปรแกรม EndNote เปนผลิตภัณฑของบริษัท Thomson ISI Researchsoft โปรแกรมถูก พั ฒ นาถึ ง เวอร ชั่ น 8

ผู ส นใจสามารถดาวน โ หลดโปรแกรมรุ น ทดลองได จ ากเว็ บ ไซด ข องบริ ษั ท คื อ

http://endnote.com

1.2. ความตองการของระบบ เวอรชั่น 7

คุณสมบัติ หนวยประมวลผล หนวยความจํา ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมประมวลผลคํา

เวอรชั่น 8

Pentium หรือเทียบเทาความเร็ว ไมนอยกวา 450 MHz 64 MB หรือสูงกวา 128 MB หรือสูงกวา Windows ME / 2000 / XP Windows 2000 / XP* /2003 Pentium หรือเทียบเทา

หรือรุนที่ใหมกวา

หรือรุนที่ใหมกวา

MS Word 97 หรือใหมกวา Word Perfect 9 หรือใหมกวา

MS Word 2000 หรือใหมกวา Word Perfect 10 หรือใหมกวา

โปรแกรมประมวลผลคํ า อื่ น ที่ สนั บ สนุ น การสร า งเอกสารในรู ป

RTF (Ric หมายเหตุ

ปจจุบัน (กันยายน พ.ศ. 2547) โปรแกรม EndNote 8 ไมสามารถทํางานรวมกับ MS Windows XP

Service Pack 2 ได แต EndNote 6.02 และ 7 ไมมีปญหาดังกลาว ซึ่งบริษัท Thomson ISI Researchsoft แนะนําใหใช MS Windows Service Pack 1 ไปกอนจนกวาจะทําการปรับปรุง โปรแกรม EndNote 8 ได

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

หนาที่ 1

1.3. สวนประกอบของโปรแกรม EndNote หลังจากทําการติดตั้งโปรแกรม EndNote ลงในเครื่อง โปรแกรมจะถูกติดตั้งลงในโฟลเดอร C:\Program

Files\Endnote8\ โดยที่ตัวโปรแกรมจะประกอบดวยสวนประกอบที่สําคัญดังตอไปนี้

• •

Endnote main program สวนประกอบหลักของโปรแกรม Connections

ไฟลที่กําหนดรายละเอียดสําหรับ EndNote ในการติดตอไปยัง ฐ า น ข อ มู ล อ อ น ไ ล น ต า ง ๆ อ ยู ที่ C:\Program

Files\Endnote8\Connections\



Import filters

ไฟล ที่ กํ า หนดรายละเอี ย ดสํ า หรั บ นํ า เข า ข อ มู ล (import

database) ผลการสืบคนที่ไดจากการคนขอมูลจากฐานขอมูล C:\Program ออนไลนหรือฐานขอมูลจากแผนซีดี อยูที่ Files\Endnote8\Filters



Output styles

ไฟลที่กําหนดรายละเอียดสําหรับการสรางขอมูลบรรณานุกรมให อยู ใ นรู ป แบบที่ กํ า หนดโดยวารสารและสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ ต า งๆ ที่ โปรแกรม EndNote สนับสนุนกวา 1,100 ชื่อวารสาร

• Templates

อยูที่

C:\Program Files\Endnote8\Styles เอกสารตนแบบ (template) สําหรับสรางเอกสารบรรณานุกรม ดวยโปรแกรม MS Word และ Word Perfect ดวยคุณสมบัติ Cite While You Write (CWYW) ในโปรแกรม EndNote 7 และ 8 อยูที่ C:\Program Files\Endnote8\templates

ไฟลอ งค ป ระกอบเหลา นี้ จ ะมี ก ารเปลี่ ยนแปลงเป น ระยะตามแต กํ า หนดโดยหน ว ยงานเจ า ของฐานข อ มู ล สํานักพิมพเจาของวารสารสิ่งพิมพ ซึ่งผูผลิตโปรแกรมจะทําการปรับปรุงไฟลองคประกอบเหลานี้ และจะแจงให ทราบทางเว็บไซดของโปรแกรม ผูใชสามารถควรเขาไปตรวจสอบถาพบวาโปรแกรม EndNote ทํางานผิดปกติ เชน

หนาที่ 2

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

การนําเขาขอมูลเกิดผิดพลาดหรือทําไมไดทั้งที่เคยทํางานไดดี อาจเนื่องจากเจาของฐานขอมูลมีการเปลี่ยนแปลง วิธีการบันทึกขอมูลหรือเปลี่ยนโครงสรางการจัดเก็บขอมูล เปนตน

จากเว็บไซด http://www.endnote.com คลิกที่ลิงค Support & services

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

หนาที่ 3

2. การปอนขอมูลและการนําเขาขอมูล EndNote เรียกไฟลที่รวบรวมขอมูลบรรณานุกรมวา “ไลบรารี (library)” มีนามสกุลเปน .enl การปอนขอมูลเขา ไลบรารีทําไดหลายวิธี ดังนี้

1. การปอนขอมูลดวยมือ (manual) 2. การติดตอผานฐานขอมูลออนไลน (remote conection) 3. การนําเขาขอมูลจากฐานขอมูล (import)

แบบฝกหัดที่ 1

หนาที่ 4

1 เปดโปรแกรม EndNote และเปดไลบรารีตัวอยาง Paleo.enl ซึ่งอยูในโฟลเดอร C:\Program files\Endnote 8\Examples\ 2 กดปุม OK

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

3 แสดงไลบรารี Paleo.enl ซึ่งมีขอมูลบรรณานุกรมจํานวน 200 ชื่อถูกเก็บไว รายการ ที่มีเครื่องหมายคลิปหนีบกระดาษอยูขางหนา (รายการที่ 1 ในรูป) แสดงวารายการนั้นมี ขอมูลรูปภาพแทรกอยู

Preview pane

4. ใชเมาสเลือกขอมูล เพื่อแสดงรายละเอียดของขอมูลรายการนั้นในชอง Preview pane 5. คลิกเมาส 2 ครั้งที่รายการ ถาตองการดูรายละเอียดทั้งหมด หรือเพื่อแกไขขอมูลของ รายการนั้น

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

หนาที่ 5

6. รายการที่มีเครื่องหมายคลิปหนีบกระดาษอยูดานหนา แสดงวามีขอมูลที่เปนรูปภาพ แทรกอยูในฟลด “Image”

EndNote 7 และ 8 มี reference type ชนิดใหมคือ “Figure” สําหรับเก็บรูปภาพ เพื่อใชประกอบการเขียนเอกสารตนฉบับ

(manuscript)

หนาที่ 6

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

2.1. การปอนขอมูลดวยมือ (manual)

การเพิ่ม Reference ใหม

7.

จากไลบรารี Paleo.enl ทําการเพิ่ม reference ใหมโดยเลือกคําสั่งจากเมนู

References / New Reference หรือกดปุม Ctrl+N บนคียบอรด

8. เลือก Reference Type เปน Book 9. ในชอง Author เติม “Jacobson, Carol” 10. กดปุม Enter เพื่อขึ้นบรรทัดใหมและพิมพชื่อที่ 2 “Roe, Jennifer” Tips

เพื่อให EndNote สามารถทําการประมวลผลไดถูกตอง การปอนชือ่ ผูแตง (Author) จะตองอยูในรูปแบบ “First Middle Last” หรือ

“Last, First Middle” ในกรณีที่รายการนั้นมีผูแตงมากกวา 1 ราย ใหใสชื่อละบรรทัด

11. ขณะที่เติมชื่อ EndNote จะพยายามชวยปอนขอมูลโดยนําชื่อที่มีอยูในรายการที่ ใกลเคียงกันใสเขาไป แตถาชื่อที่จะใสเขาไปไมตรงกับขอมูลที่มีอยูแลว EndNote จะถือวาเปนรายการใหมและแสดงผลเปนตัวอักษรสีแดง

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

หนาที่ 7

เมื่อใสตัวอักษรตัวแรก EndNote จะ พยายามเดา โดยนําชื่อที่มีอยูในรายการแลว มาใสเขาไป

12. ใสขอมูลในฟลดที่เหลือดังนี้ Year : 1999 Title: Impacts of meteorites on Earth City: New York Publisher: Blackcourt Press Number of Pages: 100 13. เมื่อพิมพเสร็จแลว ปดหนาตาง reference โดยกดที่ปุมเครื่องหมาย X ที่มมุ บน ดานขวา หรือใชเมนู File / Close Reference (Ctrl+W) 14. ปดไลบรารี Paleo.enl โดยกดที่ปุมเครื่องหมาย X ที่มุมบนดานขวา หรือใชเมนู File / Close Library (Ctrl+W)

2.2. การติดตอผานฐานขอมูลออนไลน (remote connection) เปนการสืบคนขอมูลจากฐานขอมูลออนไลนโดยใช EndNote connection

ของโปรแกรม EndNote

ติดตอสืบคนขอมูลกับแหลงขอมูลออนไลนโดยตรง ซึ่ง EndNote เตรียม connection file ไปยังแหลงฐานขอมูลออนไลน หองสมุดหนวยงานตางๆ ที่เปนที่รูจักและนิยมใชกวา 400 แหงทั่วโลก อยางไรก็ดีการสืบคนผาน EndNote connection มีขอจํากัด กลาวคือ EndNote connection ไม สามารถทํางานผานระบบบริการอินเทอรเน็ตที่มี proxy หรือ firewall

ได

ในกรณีนั้นผูใชตองเขาสืบคนขอมูลดวย

โปรแกรมเว็บเบราสเซอร และบันทึกขอมูลแลวนําเขาโปรแกรม Endnote เองดังจะไดกลาวในหัวขอตอไป แบบฝกหัดตอไปจะทดลองใช EndNote connection ติดตอกับฐานขอมูล NLM Pubmed ซึ่งไมสามารถ ใชงานไดจากเครือขายของมหาวิทยาลัยมหิดล เนื่องจากไมสามารถผาน firewall ของมหาวิทยาลัยได

หนาที่ 8

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

แบบฝกหัดที่ 2

15. สรางไลบรารีใหมใหชื่อวา connection.enl 16. จากเมนู Tools เลือกคําสั่ง Connect 17. จากรายการ favorite connection ดานขวามือ ถาไมเห็นชื่อของ PubMed (NLM) ใหเลือกคําสั่งยอย Connect… ที่อยูดานบนของรายการ favorite connection

Favorite connection แสดงรายการของ

connection file ที่ใชบอย หรือที่ใชงานลาสุด

18. ที่หนาตาง Choose A Connection File เลือกฐานขอมูลออนไลนที่ตอ งการ ในที่นี้ คือ PubMed (NLM)

Tips

กดปุม Find เพื่อการคนชื่อ connection file ที่ตองการอยางรวดเร็ว

19. 20.

EndNote จะทําการติดตอกับฐานขอมูล PubMed เมื่อติดตอไดแลวจะแสดงหนาตาง Retrieved References Window และหนาตาง Remote Search Window เติมคําคนที่ตองการ (Penicillin acylase) ลงในชอง Search และเลือกรายการใน กลอง drop down list ดานหลังเปน Keywords [MeSH]

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

หนาที่ 9

21.

กดปุม Search

ใสคําที่ตองการสืบคนลงในชอง

หนาที่ 10

22.

EndNote จะรายงานผลการสืบคน เลือกชวงของขอมูลที่ตองการในชอง กดปุม OK

23.

ขอมูลที่ไดจะถูกแสดงใน Retrieved References Window

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

24. 25.

ดับเบิลคลิกที่ reference ที่ตองการเพื่อดูรายละเอียดของรายการนั้น โอนขอมูลที่สืบคนไดเขาสูไลบรารีที่ตองการ โดยใชเมาสคลิกเลือกรายการที่ตองการ แลวกดปุม Copy xx References to ตรงมุมบนขวาของหนาตาง

Tips

ในการเลือกรายการจํานวนทีละหลายรายการพรอมกัน … ถารายการนั้นอยูติดกัน ใหกดปุม shift คางไวหนาใชเมาสคลิกเลือกรายการ ถารายการนั้นอยูหางกัน ใหกดปุม Ctrl คางไวหนาใชเมาสคลิกเลือกรายการ

26.

กําหนดไลบรารีที่จะรับขอมูล ซึ่งมี 3 ทางเลือก คือ

New Library … สรางไฟลไลยรารีใหม Choose Library … เลือกไลบรารีที่มีอยูแลวจากรายการ xxx.enl เลือกไลบรารีที่กําลังเปดใชงานอยู

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

หนาที่ 11

2.3. การนําเขาขอมูลจากฐานขอมูล (import) การนําเขา (import) ขอมูล หมายถึงการสืบคนขอมูลโดยผานโปรแกรม เว็บเบราเซอรหรือโปรแกรมสําหรับ คนขอมูลโดยเฉพาะ แลวบันทึกขอมูลไว จากนั้นใชคําสั่ง import ของ EndNote อานรายการที่สืบคนไดเขามา เนื่องจากฐานขอมูลออนไลนแตละแหงมีวิธีในการบันทึกขอมูลในรูปแบบที่ตางกัน การนําขอมูลที่สืบคนไดเขาสู ไลบรารีจึงแตกตางกัน สิ่งที่ควรรูเกี่ยวกับการนําเขาขอมูลสู Endnote library คิอ วิธีบันทึกขอมูลจากฐานขอมูลออนไลน ซึ่งศึกษาไดจากเอกสารคําอธิบายวิธีใชของผูใหบริการ ฐานขอมูลนั้น Import filter ที่ถูกตองสําหรับนําขอมูลเขาโปรแกรม สําหรับฐานขอมูลออนไลนที่ใชกัน

Tips

แพรหลาย สามารถหาขอมูลไดจากคูมือผูใช (user guide) ของโปรแกรม EndNote 8 หนา

152-156 ซึ่งคูมือดังกลาวจะถูกติดตั้งมาพรอมกับโปรแกรมในรูปเอกสาร PDF หรืออาจจะ ดาวนโหลดดวยตนเองจากเว็บไซดของโปรแกรม (http://www.endnote.com) ในหนา support & service

เตรียมตัวกอนใช งาน

หนาที่ 12

26.

เรียก import filter ที่จําเปนตองใชมาใสใน favorite filter โดยใชคําสั่งจากเมนู

27.

Edit / Import filters / Open Filter Manager … ทําเครื่องหมายหนา filter ที่ตองการ แลวปดหนาตาง

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

2.3.1 Tips

การนําเขาขอมูลจาก PubMed สําหรับผูใช Endnote เวอรชั่น 6 และ 7 National Library of Medicine (NLM) ไดทํา การเปลี่ยนโครงสรางการจัดเก็บขอมูลของฐานขอมูล PubMed มีผลทําใหการนําเขาขอมูลเขา สูโปรแกรมเกิดผิดพลาด คือ ถานําเขาขอมูลครั้งละมากกวา 1 reference ในเวลาเดียวกัน จะ พบวาขอมูลทั้งหมดจะถูกนําเขาไปซอนกันอยูในฟลดเดียวกัน วิธีแกไข ใหทําการดาวนโหลด pubmed import filter ตัวใหมจากเว็บไซด EndNote ที่ http://www.endnote.com/enpmalert.asp

ดาวนโหลดไฟล PubMed (NLM).enf

ไปทับไฟลเกาที่อยูในโฟลเดอรยอย Filters ของ

EndNote (C:\Program Files\Endnotex\Filters) 29.

เขาสูฐานขอมูล PubMed คนหาขอมูลจากคําสืบคนที่ตองการ (ใช penicillin

acylase เปนตัวอยาง) Tips

URL ของ PubMed http://www.pubmed.org http://www.ncbi.nlm.nih.gov หรืออาจจะเขาจากลิงค E-database ซึ่งอยูทางเฟรมดานซายของเว็บไซตหองสมุดสตางค มงคล สุข

http://stang.sc.mahidol.ac.th

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

หนาที่ 13

แกไขตัวเลือกในกรณีที่ตองการสงขอมูลเขา EndNote

30. 31. 32. 33. Tips

จากผลลัพธที่ได ทําเครื่องหมายในชองหนารายการที่ตองการ ในกรอบตัวเลือกหลังกลอง Display เลือก MEDLINE ในกรอบตัวเลือกหลังกลอง Send to เลือก File กดปุม Send to

เนื่องจาก PubMed จะแสดงผลการสืบคนหนาจอละ 20 รายการ ในกรณีที่ไดผลการสืบคน จํานวนมาก ใหทําการเลือกรายการที่ตองการจากทีละหนาจอและนําขอมูลไปพักที่ Clipboard ของ PubMed กอน (โดยเลือก Display เปน MEDLINE และเลือก Send to เปน

clipboard เมื่อไดขอมูลครบแลวจึงเขาสู PubMed Clipboard (เลือกลิงค Clipboard ดานบน)

หนาที่ 14

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

34. 35.

PubMed จะสงขอมูลใหทําการดาวนโหลด เลือกทําการบันทึกแฟมในโฟลเดอรที่ตองการ อาจจะทําการเปลี่ยนชื่อและนามสกุลของ ไฟลตามความเหมาะสมได (ใหทําการบันทึกเปน pubmed.txt)

Tips

การนําขอมูลเขา EndNote

ไฟลขอมูลที่ไดมีลักษณะเปน plain text (มีเฉพาะตัวอักษร) จึงอาจจะใชนามสกุลเปน .txt เพื่อจะไดเปดดูไดดวยโปรแกรมอื่น เชน Notepad หรือ MS Word

36. 37. 38.

กลับเขาโปรแกรม EndNote สรางไลบรารีใหมชื่อ “pubmed.enl” ไปที่เมนู File เลือกคําสั่ง Import… ในชอง Import Data File : กดปุม choose File… เลือกไฟล “pubmed.txt” ที่ บันทึกจากขอ 35

39.

ในชอง Import Option : เลือก PubMed (NLM) เปน import filter ถาไมเห็น PubMed (NLM) ในรายการ แสดงวายังไมไดเลือก PubMed (NLM) ใน รายการ favorite filter ใหเลือก Other Filters…กอน และเลือก PubMed (NLM)

40.

กดปุม Import เพื่ออานขอมูลเขามา

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

หนาที่ 15

Tips

ผลลัพธที่ไดจากการสืบคนขอมูลจากฐานขอมูล PubMed โดยวิธี Remote connection และ Import filter จะตางกันเล็กนอย โดยที่ขอมูลจากวิธี Remote connect จะมีฟลด URL ซึ่งสามารถลิงคกลับไปดูรายละเอียดของเอกสารที่เว็บไซดของ PubMed ได ในขณะที่ผลจากวิธี

import filter จะไมมีขอมูลในฟลดนี้

แสดงขอมูลเอกสารอางอิงฉบับเดียวกันที่สืบคนไดจาก PubMed โดยใชคําคน “penicillin acylase” ดานซายคือขอมูลที่ไดจาก remote connection และดานขวาไดจากวิธี import filter สังเกตวาฟลด URL ของหนาตางดานขวาไมมีขอมูล

หนาที่ 16

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

2.3.2

การนําเขาขอมูลจาก ScienceDirect 41.

เขาสูฐานขอมูล Science Direct ใชคําวา “penicillin acylase” เปนคําคน

42. 43.

จากผลการสืบคน ทําเครื่องหมายที่กลองหนารายการที่ตองการ กดปุม export citations เพื่อระบุวาตองการสงขอมูลออก

43

ที่หนาตาง Export Citations

44. 45.

ตัวเลือก Export :

เลือก .Citations + Abstracts”

ตัวเลือก File Format : เลือก “RIS format (for Reference Manager,

Procite, Endnote”

44

45

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

หนาที่ 17

46.

กดปุม Export Science Direct จะสงขอมูลมาและติดตอกับโปรแกรม

EndNote โดยอัตโนมัติ 47.

เลือกตําแหนงโฟลเดอรและไลบรารีไฟลที่จะเก็บขอมูล

47

หมายเหตุ

ไมสามารถสรางไฟลไลบรารีใหมเพื่อรับขอมูลในขั้นตอนนี้ ตองใชไฟลไลบรารีที่มีอยูแลวเทานั้น ดังนั้น ถาตองการจะเก็บขอมูลไวในไฟลไลบรารีใหม จะตองสรางไฟลไลบรารีกอนที่จะสั่ง

export ขอมูลจาก Science Direct 48

48.

เลือก Import filter เปน “Refman RIS” จากขอมูลที่นําเขามาจะพบวามีความผิดพลาดคือ รายชื่อวาสารถูกนําเขาไปอยูในฟลด

alternate journal ซึ่งถาไมแกไขจะทําใหการนําขอมูลไปสรางเอกสารอางอิงผิดพลาด สาเหตุเนื่องจาก import filter “RefMan RIS” ที่ใชนําขอมูลเขาผิดพลาด จําเปนตอง แกไข import filter ดังกลาว

หนาที่ 18

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

การแกไข import filter

48. 49.

เลือกเมนู Edit / Import filters / Open Filter Manager… ทําการคนหา filter RefMan RIS อยางรวดเร็วโดยกดปุม Find เลือกตัวเลือก by

Name… เพื่อระบุวาตองการคนหา filter

49

50.

จากกลอง Find by Name พิมพ Refman กดปุม Find

50

51

51. 52.

Filter manager จะแสดงชื่อ RefMan RIS กดปุม Edit เพื่อเปด filter มาแกไข ใชคําสั่ง File / Save as บันทึก filter นี้ในชื่อ “ScienceDirect RIS”

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

หนาที่ 19

53

53.

แกไขคาของ field Journal ใหเปน JO และคาของ field Alternate Fournal ใหเปน JF

54.

บันทึกการเปลี่ยนแปลงคาของ filter ScienceDirect RIS และทําการสืบคน ขอมูลจาก Science Direct อีกครั้ง โดยเลือกใช filter ScienceDirect

RIS เปนตัวนําขอมูลเขา

หนาที่ 20

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

3. การสรางเอกสารบรรณานุกรม (Bibliography) ประโยชนที่สําคัญของโปรแกรม EndNote คือการนํารายการบรรณานุกรมที่เก็บไวไปใชอางอิงในเอกสารรายงาน หรือจัดเตรียมตนฉบับ (manuscript) เพื่อสงตีพิมพ EndNote สนับสนุนรูปแบบการอางอิงเอกสารที่วารสารตางๆ กวา 1,100 ชื่อเรื่องกําหนดไว การใชโปรแกรม EndNote จัดทําเอกสารตนฉบับจึงชวยลดภาระและเวลาในการจัดทําเอกสารไดเปนอยางดี โปรแกรมประมวลผลคํา (Word processor) ที่ EndNote สนับสนุนคือ Microsoft Word และ Word

Perfect สําหรับโปรแกรมประมวลผลคําอื่นสามารถทํางานรวมกับ EndNote ไดโดยผานรูปแบบ Rich Text Format (RTF) หลั งจากที่ ติดตั้ง โปรแกรม EndNote ลงในเครื่อ งคอมพิ วเตอร จะพบเมนู ข อง EndNote เพิ่ ม ในเมนู Tools(เครื่องมือ) ของโปรแกรม Microsoft Word

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

หนาที่ 21

เตรียมตัวสราง เอกสาร

1.

2.

ใชโปรแกรม Microsoft Word สรางเอกสารใหม พิมพขอความตัวอยาง The fossil in question was generally regarded to be the 220 million year-old remains of tyrannosaurus. Several years ago, however, this hypothesis was overturned by the discovery of yet another species. เลือกคําสั่งจากเมนู Tools / Endnote / Find Citation(s)…

3.

ถายังไมไดเปดไฟลไลบรารี EndNote จะถามชื่อไฟลไลบรารีที่ตองการ ในที่นี้จะใช ไลบรารีตัวอยางที่มากับโปรแกรมคือ Paleo..enl ซึ่งอยูที่โฟลเดอรยอย Examples ของโปรแกรม endnote (c:\Program Files\Endnotex\Examples)

4

5

จากกรอบขอความ “EndNote Find Citation(s)”

4. 5.

หนาที่ 22

พิมพชื่อ “morehouse” ลงในชอง Find : กดปุม Search จะไดผลลัพธ 1 รายการ กดปุม Insert

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

6.

รายการอางอิงที่เลือกจะถูกนําไปแทรกในตําแหนงที่เคอรเซอรอยุในปจจุบัน ขณะเดียวกัน Endnote จะทําการสรางเอกสารอางอิงตามรูปแบบที่กําหนดไวที่ทาย ไฟลเอกสาร

ลองทําตอ

7. 8. 9.

พิมพขอความเพิ่มตอทาย It is now the undisputed progeny of the species at hand. ใชคําสั่ง Find Citation(s) อีกครั้ง คนคําวา 1987 เลือกเอกสารรายการที่ 1 และ 3 กดปุม Insert

8

9

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

หนาที่ 23

10. สังเกตรายการที่ถูกแทรกเขาไป

การเปลี่ยน รูปแบบการ อางอิง

สมมุติวาเรากําลังทําตนฉบับเพื่อสงไปตีพิมพในวารสาร Nature เนื่องจากทางวารสารมี การกําหนดรูปแบบการอางอิงเอกสารและบรรณานุกรมเปนแบบของตัวเอง ซึ่ง EndNote สนับสนุนรูปแบบดังกลาวดวย

11. เลือกเมนู Tools / Endnote8 / Format Bibliography…

11

หนาที่ 24

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

12. กดปุม Browse ที่อยูหลังหัวขอ With output style :

12

13

13. 14. 15. 16.

เลือก output style เปน “Nature” กดปุม OK กดปุม OK ให EndNote ทําการจัดรูปแบบเอกสารใหม รูปแบบเอกสารตนฉบับจะเปลี่ยนไปเปนแบบของวารสาร Nature ถาตองการเปลี่ยนรูปแบบของวารสารไปเปนแบบอื่นใหทําซ้ําตามขอ 11 - 14:

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

หนาที่ 25

อยางไรก็ดี เอกสารตนฉบับที่ไดยังไมสมบูรณ เนื่องจากรายการ citation และ citation ที่เห็นนั้นถูกสรางขึ้น จากโปรแกรม EndNote

ไมใชขอความจริง สังเกตไดจากถาใชเมาสเขาไปคลิกที่บริเวณใดๆ ของสวนที่เปน citation

หรือ

references บริเวณนั้นจะกลายเปนสีเทา เนื่องจากขอความที่เห็นนั้นเกิดจากการทํางานรวมกันของ MS Word และ EndNote เนื้อความในนั้นเปนรหัสคําสั่งชนิดเขตขอมูล (field code) ซึ่งจะแสดงผลไดอยางถูกตองเฉพาะบนเครื่อง คอมพิวเตอรที่มีโปรแกรม MS Word และ EndNote และมีไฟล EndNote library ที่ใชอางอิงอยูเทานั้น ถานําไฟลนี้ไป เปดบนเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องอื่นที่ไมมีโปรแกรม EndNote ติดตั้ง จะเกิดการแสดงผลที่ผิดพลาดขึ้น

คําเตือน

ก.

หามทําการแกไขขอความในสวนที่เปน citation และ references ดวย ตัวเอง

ถาพบขอผิดพลาด เชน สะกดผิด ใหกลับไปแกตัวสะกดที่ EndNote

library แลวให EndNote ทําการปรับปรุงขอความที่แกไขใน Word เอง ถา ขอความยังไมถูกแกไขใหใชคําสั่ง “Tools / EndNote 7 / Format Bibliography…” เพื่อปรับปรุงขอความ ถาตองการลบ citation ออก ควรยกเลิกการฟอรแมตเอกสารกอน ดวยคําสั่ง Tools / EndNote / Unformat Citation(s) แลวจึงลบ citation ที่ไมตองการ

ข.

ออก ค.

เอกสารที่ไดในขัน้ นี้ยังไมเสร็จสมบูรณ ไมสามารถนําไปใชกับเครื่องคอมพิวเตอร เครื่องอื่นที่ไมไดติดตั้งโปรแกรม EndNote

การทําลายรหัส เขตขอมูลของ Endnote ที่ซอน ในเอกสาร ตนฉบับ

หนาที่ 26

ดังไดกลาวมาแลววา citation และ references ที่ไดจากขั้นตอนกอนหนานี้ไม สามารถนําไปแสดงผลไดอยางถูกตองบนเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องอื่น ดังนี้ถาตองการจะ สงเอกสารตนฉบับไปใหตรวจทานหรือสงใหพิจารณาตีพิมพ ตองทําลายรหัสเขตขอมูล

(field code) ที่ซอนอยูเสียกอนโดยใชคําสั่ง Remove Field Codes 17. ที่โปรแกรม MS Word เลือกคําสั่งจากเมนู “Tools / EndNote 7 / Remove Field Codes”

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

18. จะเกิ ด ไดอะลอกขึ้ น มาแจ ง ให ท ราบว า จะทํ า การสร างไฟล ใ หม ซึ่ง มี ข อ ความ เหมือนกับไฟลเดิมแตไมมีรหัสเขตขอมูล สวนไฟลตนฉบับยังคงอยู สามารถทํา การแกไขและเรียกใชไดอีกในภายหลัง

19. กดปุม OK 20. จะได ไ ฟล ใ หม ขึ้ น อี ก หนึ่ ง ไฟล ซึ่ ง มี ข อ ความเหมื อ นกั บ ไฟล แ รก แต ข อ ความส ว น citation และ references เปนตัวอักษรลวน 21. ทําการบันทึกไฟลที่ไดในชื่อใหม และนําไฟลที่ไดในขอ 20 สงใหตรวจทานหรือสง วารสารเพื่อเสนอพิจารณาตีพิมพได

22. ถาไดรับคําเสนอแนะใหแกไขขอความใดๆ ใหมาทําการแกไขที่ไฟลตนฉบับ เสร็จแลว สั่ง Remove Field Codes (ตามขอ 17 – 19)กอนสงไปตีพิมพ

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

หนาที่ 27

4. การสรางเอกสารบรรณานุกรม (Bibliography) สําหรับวิทยานิพนธ ในหัวขอที่ 3 เราไดทําการสรางเอกสารบรรณานุกรมจากตนฉบับที่เปนไฟลเดียว ซึ่งเหมาะสําหรับการทําเอกสาร เพื่อการสงตีพิมพในวารสาร ที่มักจะมีเนื้อหาไมยาว สามารถเตรียมตนฉบับเปนไฟลเดียวได แตในกรณีการเขียนวิทยานิพนธของ นักศึกษาระดับปริญญาโท – เอก นั้นมักจะแบงเนื้อหาเปนหลายบท เชน บทคัดยอ บทนํา วิธีการวิจัย ผลการวิจัยและสรุป ผลการวิจัย ซึ่งแตละบทจะมีเนื้อหาที่ตอเนื่องกัน และนําเอกสารอางอิง (references) ไปไวขางทาย การสรางบรรณานุกรม ดวยคําสั่ง Format bibliography จึงใชไมไดในกรณีนี้ เพราะคําสั่ง Format bibliography จะสรางบรรณานุกรมไวขาง ทายไฟลเอกสารเสมอ ในกรณีดังกลาวใหสรางบรรณานุกรมดวยคําสั่ง RTF Document Scan ในโปรแกรม EndNote แทน โดยมีหลักการสรุปเปนขั้นตอนไดดังนี้

1. ใชโปรแกรม MS Word สรางไฟลตนฉบับและแทรก citation ตามวิธีการเดิม 2. สั่งบันทึกเอกสารเปน Rich text format (RTF) 3. เขาโปรแกรม EndNote ใชคําสั่ง RTF Document Scan สรางเอกสารบรรณานุกรม

สรางเอกสาร ตนฉบับ

1. ทดลองสรางเอกสารจํานวน 3 ไฟล และทําการแทรก citation ในเอกสารตามวิธีที่ เคยทํา

2. ปดคุณสมบัติ Cite While You Write (ทําการฟอรแมตเอกสารในขณะทําการพิมพ งานในเวิรด) โดยใชคําสั่ง Tools / EndNote / Unformat Citation(s) เนื่องจากคําสั่ง RTF Document Scan ของโปรแกรม EndNote จะไม ทํางานถาเอกสารนั้นถูกฟอรแมตมาแลว 3. บันทึกเอกสารทั้งสามเปนชนิด rich text format ในชื่อ Introduction, Method และ Result ตามลําดับ การสั่งบันทึกเอกสารเปน rich text format

• • • • • •

หนาที่ 28

ที่โปรแกรม MS Word ไปที่เมนู Files / Save as เลือกโฟลเดอรที่ตองการเก็บไฟล ------------------------------------ 1 ในรูป ตั้งชื่อไฟล (ในตัวอยางใชชื่อ introduction) ----------------------------- 2 ในรูป ในชอง Save as type: เลือก rich text format (rtf)----------- 3 ในรูป กดปุม Save --------------------------------------------- 4 ในรูป จะเห็นวาไฟลถูกบันทึกในชื่อ introduction.rtf

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

1

4 2

3

4. จะไดไฟลเอกสารในชื่อ introduction.rtf, method.rtf และ result.rtf ตามลําดับ

5. ออกจากโปรแกรม MS Word 6. เปดโปรแกรม EndNote และเปดไลบราลีที่ใชในการอางอิงวิทยานิพนธ 7. เลือกคําสั่ง Tools / RTF Document Scan / RTF Document Scan… 5 ในรูป

5

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

หนาที่ 29

6 : ไฟล ไดอะลอก

7

8

9

10

8. ที่ไฟลไดอะลอก ( 6 ในรูป) เลือกไฟลเอกสารไฟลแรกที่ใช (ตามตัวอยางคือ introduction.rtf) 9. กดปุม Open 10. ที่สแกนไดอะลอก EndNote จะแสดงผลการตรวจสอบเอกสารอางอิงที่ถูกอางถึงใน บริเวณชองคานบน ( 7 ในรูป )

11. กดปุม Scan Next… ( 8 ในรูป ) เพื่อเลือกเอกสารลําดับตอไป 12. ทําซ้ําขั้นตอนที่ 8 – 11 จนเลือกไฟลเอกสารครบทุกไฟล การเลือกไฟลตองเลือก ตามลําดับที่ใชใหถูกตอง ในตัวอยางคือ method.rtf และ result.trf ตามลําดับ

13. เลือก Output Style ตามตองการ ( 9 ในรูป)

หมายเหตุ

ถาไมเห็นรายชื่อที่ตองการในชอง Output style

ใหเลือกรายการ Select

Another Style… แลวหา Output style ที่ตองการจากรายการที่ EndNote แสดง บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล กําหนดใหอางอิงเอกสารตามรูปแบบ Vancouver หรือ APA style (คือ APA 5th ใน EndNote)

14. กดปุม Format… ( 10 ในรูป ) 15. EndNote จะสรางไฟลผลลัพธขึ้นมาใหม ซึ่งไฟลเหลานี้จะมีชื่อเหมือนไฟลตนฉบับ แลวตามดวยชื่อของ Output style ที่เลือก เชน ถาเลือก Output style เปน หนาที่ 30

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

Vavcouver ไฟลผลลัพธที่ไดจะมีชื่อเปน introduction-vancouver.rtf method-vancouver.rtf และ result-vancouver.rtf ตามลําดับ โดยที่ รายการเอการอางอิงจะปรากฏที่สวนทายของไฟลเอกสารลําดับสุดทายนั่นเอง

16. ให นํ า ไฟล ผ ลลั พ ธ ที่ ไ ด ไ ปใช ส ว นไฟล ต น ฉบั บ นั้ น ยั ง คงอยู ถ า ต อ งทํ า การแก ไ ข ขอความใดๆ ใหทําที่ไฟลตนฉบับและใชคําสั่ง RTF document scan สราง เอกสารตามวิธีที่ไดกลาวมาแลว

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

หนาที่ 31

ปญหาในการใชงาน EndNote 7 ไมแสดงเมนูคําสั่งบน MS Word 2003 ปญหา หลังจากติดตั้ง EndNote 7 แลวไมพบทูลบารและเมนูคําสั่งของโปรแกรม EndNote ในเมนูของ MS Word 2003

สาเหตุ EndNote 7 ตองการไฟล EN7cwyw.dot และ EN7cwyw.wordxp.wll ในโฟลเดอร Startup ของโปรแกรม MS Word (ดูวิธีหาตําแหนงที่ตั้งของโฟลเดอร Startup ได ในขอ 1-3 ดานลาง) ซึ่งไฟลทั้งสองทําใหโปรแกรม MS Word แสดงทูลบาร เมนูคําสั่งและทํางานรวมกับ Endnote ได โดยปกติเมื่อทําการติดตั้ง EndNote โปรแกรมติ ด ตั้ง ของ Endnote จะทํ า การคั ด ลอกไฟล ดั ง กล า วทั้ ง สองไปไว ที่ โฟลเดอร Startup ของ MS word เอง ยกเวนใน MS Word 2003 ซึ่งเกิด ขอผิดพลาด ผูใชจึงตองทําการแกไขดวยตัวเอง

หนาที่ 32

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

1. จากโปรแกรม MS Word 2003 เลือกเมนู Tools / Options… 2. จากหนาตาง Option เลือกแท็บ File locations ตัวเลือก Startup folder 3 กดปุม Modiffy 4

2 ใชเมาสเลือกที่

2

3 1 4

3. จําชื่อและตําแหนงของโฟลเดอรไว (โดยทั่วไปมักจะเปน C:\Documents and Settings\user-name\Application Data\Microsoft\Word\STARTUP User-name หมายถึง ชื่อผูใชที่ logon เขาใชงาน Windows อยูในขณะนั้น ซึ่งจะเปนอะไรก็ได แลวแตการตั้งชื่อบัญชีผูใชของผูดูแลเครื่อง ในตัวอยางคือ

USER

4. กดปุม Cancel และ Close ตามลําดับ เพื่อปดหนาตาง Options 5. ปดโปรแกรม MS word 2003 เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

หนาที่ 33

6. เปด Windows explorer เลือกโฟลเดอรที่ติดตั้งโปรแกรม Endnote (ปกติจะอยูที่ C:\Program Files\Endnote)

7. คัดลอก (copy) ไฟล EN7cwyw.dot และ EN7cwyw.WordXP.wll ไปที่โฟลเดอร startup ของ MS Word (ตามที่หาไดจากขอ 3)

หมายเหตุ

ที่โฟลเดอร C:\Program Files\Endnote ถามองไมเห็น นามสกุลของไฟล .dot และ .wll 1. จาก Windows Explorer เลือกเมนู Tools ( 5 ในรูป ) 2. เลือกคําสั่ง Folder Options… ( 6 ในรูป ) 5

6

ไมเห็นนามสกุล

หนาที่ 34

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

3. ที่หนาตาง Folder Options เลือกแท็บ View ในชอง Advanced Settings เอาเครื่องหมายในชอง Hide extensions for known file types ออก ( 7 ในรูป ) 4. กดปุม OK

8 7

ถาหาโฟลเดอร Startup ของ MS Word ไมพบ เนื่องจากโฟลเดอร C:\Documents and Settings\user-name\Application

Data เปนโฟลเดอรที่ถูกซอนไว จะตองสั่งใหแสดงโฟลเดอรเหลานี้เสียกอนจึงจะมองเห็น ได

1. จาก Windows Explorer เลือกเมนู Tools / Folder Options… 2. ที่หนาตาง Folder Opions เลือกแท็บ View 3. ในชอง Advanced settings: ในตัวเลือก Hidden files and folders ใหเลือกตัวเลือก Show hidden files and folders ( 8 ในรูปดานบน) 4. กดปุม OK

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “How EndNote 7.0 can help you with your Research and Thesis” งานสารสนเทศและหองสมุดสตางค มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

หนาที่ 35

Related Documents

Endnote
November 2019 6
Endnote
November 2019 4
Endnote
June 2020 5
Endnote
November 2019 7
Endnote
July 2020 9
Endnote-lib
July 2020 4

More Documents from ""

May 2020 11
June 2020 6
June 2020 5
May 2020 4