เลาเรื่องจากโรงเรียน (หนังสือพิมพเนชั่นสุดสัปดาห/1 พฤษภาคม 2552) สุกัญญา หาญตระกูล
[email protected]
ภาษาไทย เปน ‘วิชาชีพ’ หรือ ‘วิชาการ’?
ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาจีน ภาษาญี่ปุน ภาษาบาลี ภาษาอาหรับ มี อยูในการสอบความถนัดทางวิชาชีพ (แพท) อันเปนองคประกอบหนึ่งในการเขาเรียนมหาวิทยาลัย แตเหตุใดสําหรับภาษาไทย เมื่อมีขอเสนอวาควรจะจัดสอบในกลุมการสอบความถนัดทาง วิชาชีพ (แพท) ดวย จึงมีเสียงคัดคานวาจะจัดสอบในกลุมการสอบความถนัดทางวิชาชีพ (แพท) ไมได เพราะเนื้อในของวิชาภาษาไทย เกี่ยวของกับวิชาการเปนหลัก ในขณะที่การสอบความถนัดทางวิชาชีพ (แพท) ตองการคัดคนใหเหมาะกับวิชาชีพ? อนิจจา คงไมถึงกับตองเปนนักวิชาการอะไรกระมังที่จะรูวาไมใชแคเปนคนไทยพูดอานเขียน ไทยไดทั่วไปทุกคนจะทําอาชีพดานภาษาไทยไดและดี เชน ไปเปนครูสอนภาษาไทยใหคนไทย ครูสอน ภาษาไทยใหชาวตางประเทศ นักแปล ลาม นักเขียน นักวิจัย คนควาทางภาษาไทยฯ เชนเดียวกัน ใชวาชาวอังกฤษพูดอานเขียนอังกฤษไดทั่วไปทุกคนจะมาทําอาชีพดานภาษา ดังกลาวไดและดีโดยปราศจากความรูดาน ‘วิชาการ’ ในระดับอุดมศึกษาเปนพื้นฐาน หรือมิฉะนั้นอยาง นอยก็ตองมีประสบการณในวิชาชีพดานนั้นอยางมากๆ จนเปนที่ยอมรับของทาง ‘วิชาการ’ ภาษานั้นๆ ‘วิ ช าชี พ ’ หรื อ ‘วิ ช าการ’ จึ ง เป น สองด า นของเหรี ย ญเดี ย วกั น ไม ต อ งไปถามหรื อ เถี ย ง นักวิชาการทางภาษาหรอก ความถนัดทางวิชาชีพภาษาไทย มีอยูแนๆ เชนเดียวกับภาษาอื่นๆ จึงควรตอง จัดภาษาไทยใหมีอยูในขอบขายการสอบความถนัดทางวิชาชีพ (แพท) ดวย หากไมมี หรือมีไมได ก็สรุปไดเลยวานอกจากวิกฤติทางการเมืองที่เราตองหาทางออกรวมกัน อยางเรงดวนในขณะนี้ เรายังมีวิกฤติภาษาไทย อันคุกรุนสะสมมานานไมแพวิกฤติทางการเมือง ซึ่งเปนทั้ง วิกฤติระดับสถาบันทางการเมือง และวิกฤติระดับความรูทางการเมือง (political literacy) ของ พลเมือง กลาวคือ อันทักษะภาษาไทยที่อานเขาใจ ตอบคําถามถูก เขียนยอความและเขียนขอความที่ ตองการสื่อสารดวยการเขียนไดในระดับหนึ่ง (Thai language literacy) ตามมาตรฐานชวงชั้นนั้น ถือเปนทักษะทั่วไป จัดวาเปนทักษะชีวิตขั้นต่ําที่จําเปนสําหรับการดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ ซึ่งนาจะอยูใน กรอบของการสอบมาตรฐานชวงชั้น หรือการสอบ เอ็นที หรือโอเน็ต กลาวคือถึงจะไมเรียนตอขั้นอุดมศึกษา ทัก ษะภาษาไทยระดั บนี้ ก็ต อ งไดต ามมาตรฐานช ว งชั้ น อยูแล ว ทั ก ษะภาษาไทยระดับนี้ ก็ต องได ตาม มาตรฐานชวงชั้นอยูแลว ทักษะภาษาไทยระดับนี้ไมควรจะใชมาตรฐานในการสอบ แพท หรือ แกท แต อยางใด แต ห ากจะศึ ก ษาถึ ง ขั้ น อุ ด มศึ ก ษา ความสามารถหรื อทัก ษะด า นภาษาไทยนี้ จ ะต อ งถึ ง ขั้ น กาวหนา (advanced) แลวพอสมควรคือไมเพียงอานเขาใจ ตอบคําถามสิ่งที่อานดวยการเขียนได 1
แตตองมีทักษะการเขียนอธิบาย การเขียนโตแยง การเขียนสนับสนุน การเขียนโนมนาวอื่นๆ ไดอีก คือหาก สามารถคิด สามารถวิเคราะห ในหัวสมองและดวยการพูดแลวยังไมพอ จะตองมีทักษะในทางเขียนออกมา เปนภาษาไทยใหไดดวยจึงจะสมกับการเรียนถึงขั้นอุดมศึกษา ซึ่งมาตรฐานทักษะภาษาไทยระดับกาวหนา นี้นาจะเปนมาตรฐานของการสอบความถนัดทั่วไป (แกท) เพราะวาไมวาจะในวิชาไหน ระดับอุดมศึกษา ยอมจะตองใชทักษะการเขียนโดยเฉพาะในวิชาสังคมศึกษา วรรณคดี สื่อสารมวลชน การศึกษาฯ แมในวิชา ทางคณิ ตศาสตร วิทยาศาสตร ก็ไมใชวาจะไมใชทักษะภาษาเสียเลย ก็ยังตองใชทักษะภาษาไทยขั้น กาวหนาดวยเชนกัน โดยเฉพาะหากจะเนนการแกโจทยการแกปญหา (problem solving) ตลอดเวลาที่ผานมา การที่อาจารยมหาวิทยาลัยวิชาสังคมศาสตร วรรณคดี ฯลฯ ‘บน’ มาก เรื่องนักศึกษา ‘ออน’ ภาษาไทยมากโดยเฉพาะภาษาเขียน กลาวคือ ใหเขียนภาษาไทยแบบบรรยาย ก็เขียนไมดี ปะติดปะตอไมคอยได ยิ่งใหเขียนแบบโตแยงหรือเขียนโนมนาว ก็จะยิ่งเขียนไมไดเขาไปใหญ เชนนี้ จะนับวาการสอบความถนัดทั่วไป (แกท) วิชาภาษาไทยคัดนักเรียนเขาเรียนอุดมศึกษาของ สทศ. ไร ป ระสิ ท ธิ ภ าพได ห รื อ ไม เพราะคั ด นั ก เรี ย นได ไ ม ต รงสเปคแบบเดี ย วกั บ ที่ อ าจารย ม หาวิ ท ยาลั ย ดานคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรก็ไดเคย ‘บน’ เสียงดังมากอนที่จะมีการวิจัยหาเหตุผล ยิ่งการสอบความถนัดทั่วไปภาษาไทย ของแกทขณะนี้ มักมีแตขอสอบปรนัย และถึงแมจะมี ขอสอบอัตนัยที่ตองอาน แตก็ตอบแบบปรนัยอยูดีนั้นเลา จะถือวาเปนขอสอบที่วัดมาตรฐานความรูและ ทักษะภาษาไทยขั้นกาวหนา ไดหรือ? ยิ่งจะมาแกปญหาภาษาไทยแตในขอบขายของแพท และแกทก็เปนการแกไขปญหาตรงปลาย น้ํา จะกรองหรือกักอยางไรตรงปลายน้ําก็ชวยคุณภาพน้ําไดเพียงเล็กนอย โดยที่ความเสียหายใหญอยูที่น้ํา ซึ่งขุนมาตั้งแตตนน้ํานั่นตางหาก และนั่นแหละคือฝนรายที่สุดของเรา ที่หากเด็กไทยออนภาษาไทย ปญหา ไมไดอยูที่เฉพาะขอสอบและการสอบใดๆ เพียงโดดๆ แตทวา ลึกยิ่งกวานั้นคือหลักสูตรและการเรียนการ สอนภาษาไทยทุกชวงชั้นนั่นแหละที่ ‘ออน’ เสียจนสับสนกันไปหมด แมในระดับสถาบัน (ภาษาไทย) และโตๆ ดวยกัน ก็คงยังจะตองปรับคลื่นกันเสียเหนื่อย กวาจะ พูดกันรูเรื่อง
2