“ ” ในการอบรมมี 2 ประเด็นหลัก 1. เรียนรู้การเป็นวิทยากรทีจ ่ ะต้องทำางานกับชุมชน 2. การมีองค์ความรู้ เชิงลึก เรือ ่ งโรค ปัจจัยเสี่ยงของพื้นที่ และกลวิธีการปรับ เปลี่ยน หลักกการและเหตุผล วัตถุประสงค์ 1. มีทัศนคติที่ดีในการทำางานชุมชน 2. มีองค์ความรู้การเป็นวิทยากร ออกแบบเวที การวิเคราะห์ สังเคราะห์และการบันทึก 3. การนำาองค์ความรู้สู่การปฏิบัติและการถ่ายทอด กลุ่มเป้าหมาย การดำาเนินงาน ระยะที่ 1 อบรมปฏิบัติการพร้อมฝึกปฏิบัติ ( วิทยากรกระบวนการ ) 2-3 วัน ระยะที่ 2 อบรมปฏิบัติการพร้อมฝึกปฏิบัติ (องค์ความรู้ เชิงลึก) 2-3 วัน การประเมินผล 1. การมีส่วนร่วม จากการสังเกตและจากแบบประเมินผลและการนำา เสนอ 2. ผลการฝึกทักษะจากการสังเกตและจากแบบประเมินผลและการนำา เสนอ 3. ติตามการดำาเนินการในพื้นที่ จากการสังเกตและจากแบบประเมิน ผลและผลการทำาเวที 4. ผลการดำาเนิน จากรายงานความก้าวหน้า การนำาเสนอและรายงาน ผลการดำาเนินงานแต่ละพื้นที่และการติดตามหลังอบรม 5. ชุมชนนำาผลการดำาเนินงานไปใช้ประโยชน์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. การอบรมสามารถนำาสู่การปฏิบัติได้จริง 2. การดำาเนินงานที่สอดคล้องกับพื้นที่ 3. ชุมชนสามารถจัดการปัญหาได้ด้วยตนเอง หมายเหตุ
การลงชุมชน
1. กำาหนดประเด็นลดเสี่ยง 2. ประเมินความพร้อมของชุมชน 3. กำาหนดกลยุทธ์และขับเคลื่อนชุมชน 4. การเปลี่ยนแปลงชุมชน
การขับเคลื่อนตามประเด็นโจทย์ที่ชุมชนต้องการ 1 ความรู้เรือ ่ งโรค 2 การปรับพฤติกรรมด้านสิ่งแวดล้อม เช่น การใช้ปุ๋ย ชีวภาพ การปลูกผักปลอดสาร 3 การปรับพฤติกรรม เช่นการออกกำาลังกาย อาหาร
ตารางการอบรมปฏิบัติการวิทยากรกระบวนการ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต(ระยะที่ 1) (ประเด็นที่ 1 ) กิจกรรม อุปกรณ์ ผู้รบั ผิดชอบ
เวลา วันที่ 1 (2 ชม) - แบ่งกลุ่มพูดคุย 4 ประเด็น - ธง/ป้าย/อื่นๆแสดงสัญญาลักษณ์กลุ่ม - จามรี อุทัยรัตน์ (ไม่ต้องบอกประเด็นพูดคุยให้รู้ก่อน - กระดาษ Flip Chart - อ.มารุต ดำาชะอม 1. มาทำาอะไรที่นี่ - ปากกาเขียนกระดาษ 4 สี /กลุ่ม - อ.สนั่น เพ็งเหมือน 2. ทำาอย่างไรจึงได้มา - เทปกาว 3. ใครรออยู่ - บอร์ดตั้ง 1 บอร์ด/กลุ่ม 4. มีจบหลักสูตรแล้วเราได้อะไร - แผ่นใส (1 ชม) - บรรยาย “เจตคติ ” 1 องค์ประกอบของชีวิต 2 ปรับวิญญาณ (1 ชม 30 นาที) - บรรยาย “ทำางานอย่างไรให้มีความสุข” - แผ่นใส 1. ประโยชน์กับชีวิต 2. ประโยชน์กับชุมชน (2 ชม) - บรรยายระเบียบวิธีวิจัย วันที่ 2 (2 ชม) - ฝึกจิตประสานกายด้วยโยคะ - เครื่องมือการศึกษาชุมชน 1. แผนที่เดินดิน 2. Time Line 3. โครงสร้างชุมชน - ฝึกควบคุมจิตด้วยลมหายใจ (2 ชม) - ลงศึกษาชุมชน - เตรียมนำาเสนอผล วันที่ 3 - นำาเสนอผลการศึกษาชุมชน(กลุ่มละ 15 - 30 นาที) 1. วิจารณ์/สะท้อน 2. สรุปบทเรียน (1 ชม) - การออกแบบเวที (1 ชม) -คุณลักษณะวิทยากรกระบวนการ
(2 ชม) (1 ชม)
เวลา วันที่ 1 (2 ชม)
- ทดลองออกแบบเวที - ถอดบทเรียน/สรุปบทเรียน - ประเมินผล ตารางการอบรมปฏิบัติการฝ่าวิกฤติจัดการความเสี่ยงในชุมชน (ประเด็นที่ 2 ) กิจกรรม อุปกรณ์ ผู้รบั ผิดชอบ
- แนวทางฝ่าวิกฤติควบคุมสหปัจจัย 1. เรียนรู้ธรรมชาติการเกิดโรค 2. คำาจำากัดความ 3. เผชิญข้อเท็จจริง (1/2-1 วัน) - เรียนรู้เรื่องอาหารสุขภาพเชิงลึก 1. อาหารเพื่อการควบคุมนำ้าหนัก 2. อาหารที่ควรเลือกกินเพื่อสุขภาพและสาธิตอาหาร 3. เทคนิคการปรับปลี่ยนพฤติกรรม (1/2-1 วัน) - เรียนรู้เรื่องการออกกำาลังกาย 1.การออกกำาลังกายเพื่อการเผาผลาญอาหาร 2. การออกกำาลังกายกับการเกิดโรค 3. การออกกำาลังกายเพื่อ (1 ชม) - ถอดบทเรียน/สรุปบทเรียน - ประเมินผล (ระยะที่ 2 เดือนที่ 2 ) ช่วงเช้า - ทบทวนความรู้ - นำาเสนอประเด็น แผนการดำาเนินงาน รูปแบบเวที ช่วงบ่าย - ผู้รบั การอบรมดำาเนินงานในพื้นที่ บันทึก ประมวลผล โดยมีทีมวิทยากร สังเกต ให้ข้อเสนอแนะ - นำาเสนอผลการลงพื้นที่และการดำาเนินงาน - ประเมินผลและวิเคราะห์ปัจจัย จุดอ่อน - นำาเสนอปรับแผน/รูปแบบการดำาเนินงาน
จามรี อุทัยรัตน์ นายแพทย์........... อ.เพ็ญพักตร์ จริยานุกุล โภชนากร รพ.ตรัง
(ระยะที่ 3 เดือนที่ 3 ) ช่วงเช้า - ทบทวนความรู้ ช่วงบ่าย - ผู้รบั การอบรมดำาเนินงานในพื้นที่ บันทึก ประมวลผล โดยมีทีมวิทยากร สังเกต ให้ข้อเสนอแนะ - นำาเสนอผลการลงพื้นที่และการดำาเนินงาน - ประเมินผลและสรุป รายงาน