1 การสนับสนุนทุ นเพื่องานสร้างเสริมสุขภาพในประเทศญีป ่ ุ่นและ ประเทศมองโกเลีย โดย ดอร์จซูเรน บายาร์ไซข่าน (Dorjsuren Bayarsaikhan) Highlight
ท้ายทีส ่ ุดแล้ว ผลประโยชน์ต่าง ๆ ของการสร้างเสริมสุขภาพจะเปลี่ยนจุดสนใจของการ ประกันสุขภาพในเรื่อ งความเจ็บปุวยไปสู่การธารงรักษาสุขภาพทีด ่ ี และจะเพิม ่ คุณค่า ทางยุทธศาสตร์สู่กระบวนทัศน์การพัฒนาการประกันสุขภาพทางสังคมในสถานการณ์ ทางสังคมและเศรษฐกิจทีพ ่ วั พันกันจนแยกไม่อ อก เช่นในปัจจุบน ั บทนา การสร้างเสริม สุขภาพกาลังกลายเป็นนโยบายทีส ่ ังเกตเห็นได้ชด ั เจนยิง่ ขึ้นทัง้ ในประเทศ พัฒนาแล้วและกาลังพัฒนาทีก ่ าลังเผชิญหน้ากับภาระโรคติดต่อ และโรคไม่ติดต่อ (Communicable and non-communicable diseases) เอกสารฉบับนี้อ ภิปรายถกเถียง ในเรื่อ งจุดรวมของนโยบายการสร้างเสริม สุขภาพ การจัดการการให้ทน ุ และมิติต่าง ๆ ของการประกันสุขภาพทางสังคมเพือ ่ การให้ทน ุ ในงานสร้างเสริม สุขภาพ สถานะทางสุขภาพในประชากรของประเทศญีป ่ ุน ติดอยูใ่ นกลุ่ม สูงสุดของโลก ทัง้ ๆ ทีม ่ ี อัตราการเพิม ่ ขึ้นของมะเร็ง โรคหัวใจ โรคทีเ่ กีย ่ วกับหลอดเลือ ดและหัวใจ และ โรคเบาหวาน โรคติดต่อ เช่น เอชไอวี/เอดส์ และไข้หวัดชนิดใหม่ ๆ ก็ยงั เป็นภัยคุกคาม สาธารณสุข ในประเทศมองโกเลียทัง้ โรคติดต่อ และโรคไม่ติดต่อ เป็นเรื่อ งทีน ่ ่า ตระหนกสาหรับการสาธารณสุข นับตั้งแต่ปี 1995 โรคทีเ่ กีย ่ วกับหลอดเลือ ดและหัวใจ มะเร็งและการบาดเจ็บ ได้เป็นสาเหตุนาของการเสียชีวิต การบริโภคบุหรี่และ แอลกอฮอล์ การไม่อ อกกาลังกาย และการทานอาหารทีไ่ ม่มีประโยชน์เป็นปัจจัยเสี่ยง โดยทัว่ ไปสาหรับโรคเรื้อ รังทัง้ หลาย ประเทศญีป ่ ุ่น ในปี 2000 ญีป ่ ุนได้ประกาศให้มี ‘การเคลื่อ นไหวเพือ ่ งานสร้างเสริม สุขภาพในระดับชาติ ในศตวรรษที่ 21’ (National Health Promotion Movement in the 21 st Century) ซึ่ง มีชื่อ ย่อ ๆ ว่า Healthy Japan 21 นโยบายนี้มีเปูาหมายทีจ ่ ะสนับสนุนให้พลเมือ งทุกคน มีสุขภาพและปราศจากโรค นโยบายตั้งเปูาในเรื่อ งอุ ปนิสัยการทานอาหารทีด ่ ีต่อ สุขภาพ การโปรโมทในเรื่อ งกิจกรรมการออกกาลังกาย การทดสอบเชิงวินิจฉัย และการลดการ ใช้ยาสูบ ตามธรรมเนียมเดิม ๆ การสร้างเสริม สุขภาพถือ ว่าเป็นวิถท ี างทีเ่ ต็ม ไปด้วยประโยชน์ใน การปูอ งกันโรค อีกทัง้ ยังโปรโมทสุขภาพในกลุ่ม ทางสังคมทีแ ่ ตกต่างกันด้วย หน่วยงาน ทีบ ่ ริหารงานเทศบาล ศูนย์สุขภาพ และชุม ชนในเมือ ง เป็นผู้ทม ี่ ีบทบาทหลักในการ เพิม ่ พูนกิจกรรมสร้างเสริม สุขภาพ ผู้นางานสร้างเสริม สุขภาพถูกเสาะหาและได้รับการ เสนอชื่อ โดยสมาชิกในชุม ชน และได้รับการฝึกอบรมเพือ ่ ดาเนินกิจกรรมสร้างเสริม สุขภาพในชุม ชนของตน สิ่งเหล่านี้รวมการรณรงค์ให้มีไลฟ์สไตล์ทด ี่ ีต่อ สุขภาพ
2 พฤติกรรม ทัศนคติ นิสัยการทานอาหาร การเข้าถึงข้อ มูลทีเ่ กีย ่ วข้อ งกับสุขภาพ และการ ปรับปรุงความรู้ความสามารถและการศึกษาด้านสุขภาพในระดับชุม ชนเข้าไปด้วย งานศึกษาหลายชิ้นแนะว่า แนววิธีการทางานทีม ่ ีการมีส่วนร่วมของชุม ชน เหมาะสมกับ สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ (Socioeconomic setting) ซึ่งก็ปรากฏว่ามีประสิทธิผล ในการปรับปรุงพฤติกรรมทีเ่ กีย ่ วข้อ งกับสุขภาพและการโปรโมทเรื่อ งสุขภาพในประเทศ ญีป ่ ุน ประเทศมองโกเลีย นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 2000 รัฐบาลของประเทศมองโกเลียได้อ นุม ติโปรแกรมทาง สาธารณสุขทีต ่ ั้งใจให้เกิดผลในเรื่อ งการสร้างเสริม สุขภาพไปจานวนทัง้ สิ้น 16 โปรแกรม เช่น การควบคุม ยาสูบ การให้การศึกษาด้านสุขภาพ มะเร็ง และการปูอ งกันการบาดเจ็บ โภชนาการ กิจกรรมออกกาลังกายในกลุ่ม ประชากร สุขภาพของเด็กและวัยเจริญพันธุ์ อย่างไรก็ตาม หลักฐานทีช ่ ด ั เจนยังคงหาคาตอบแน่ชด ั ไม่ได้ว่า โปรแกรมเหล่านี้ประสบ ผลสาเร็จในการควบคุม และลดพฤติกรรมสุ่ม เสี่ยงในกลุ่ม ประชากรมากน้อ ยเพียงใด นับแต่ปี 2002 ได้มีรายงานการเพิม ่ ขึ้นของการมีเพศสัม พันธ์ทไี่ ม่ปลอดภัย มีแนวโน้ม การเพิม ่ ขึ้นในเรื่อ งของการบริโภคยาสูบ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในกลุ่ม เยาวชน มีการ ประมาณว่าประมาณร้อ ยละ 65 ของผู้ชายและ ร้อ ยละ 20 ในผู้หญิงบริโภคยาสูบ ซึ่ง นับว่าสูงกว่าตัวเลขเฉลี่ยโดยทัว่ ไปในประเทศกาลังพัฒนา ในปี 2006 การสารวจทีม ่ ีชื่อ ว่า สเต็ป (STEP) ว่าด้วยเรื่อ งการแพร่หลายของปัจจัยเสี่ยง ในโรคไม่ติดต่อ ประมาณการไว้ว่า 9 ในทุก 10 คน ทีผ ่ า่ นการสารวจ มีปจ ั จัยเสี่ยงอย่าง น้อ ยทีส ่ ุดหนึ่งอย่าง และ 1 ใน 5 คน มีปจ ั จัยเสี่ยง 3 อย่างหรือ มากกว่าในการทีจ ่ ะ พัฒนาเป็นโรคใดโรคหนึ่งได้ ปัจจุบน ั นี้ โปรแกรมสาธารณสุขในมองโกเลียถูกนาลงสู่ภาคปฏิบต ั ิในระดับประชากร แต่ จากประสบการณ์ ในประเทศอื่ น ๆ แสดงให้เห็นว่า ผลสาเร็จของงานสร้างเสริม สุขภาพ สามารถเพิม ่ ขึ้นได้ผา่ นการปฏิบต ั ิในระดับชุม ชนและในระดับปัจเจกบุคคล ในมองโกเลีย การสนับสนุนทุนเพือ ่ โปรแกรมสาธารณสุขนั้นขาดแคลนอย่างรุนแรง แม้ว่า งบประมาณจากรัฐบาลกลางจะถูกอ้ างถึงว่าเป็นแหล่งทุนหลัก แต่กไ็ ม่มีแนวทาง และเครื่อ งมือ ทางงบประมาณทีเ่ ฉพาะเจาะจงถูกบัญญัติไว้ งบประมาณสุขภาพใน ระดับชาติของปี 2005 ประมาณว่า ระดับการใช้จ่ายในเรื่อ งการบริการสาธารณสุขมีน้อ ย กว่าร้อ ยละ 5 ของค่าใช้จ่ายทางสุขภาพทัง้ หมด แบบแผนการสนับสนุนทุ นเพื่อโปรโมทสุขภาพ ในประเทศญีป ่ ุน รัฐบาลท้อ งถิน ่ ทาหน้าทีเ่ ป็นผู้รับผิดชอบหลักในการสนับสนุนให้ทน ุ งานสร้างเสริม สุขภาพ ในทางปฏิบต ั ิ การมีอ ยูข ่ องงบประมาณท้อ งถิน ่ เพือ ่ นาลงสู่ ภาคปฏิบต ั ิในกิจกรรมการสร้างเสริม สุขภาพแตกต่างกันในอาเภอทัง้ 47 อาเภอของ ญีป ่ ุน
3 ดังนั้นนโยบายการปรับเปลี่ยนทางการเงินถูกแปรลงสู่ภาคปฏิบต ั ิในรูปแบบของการ ช่วยเหลือ ทางการเงินจากรัฐบาลระดับชาติสู่รัฐบาลระดับท้อ งถิน ่ นโยบายทีว่ ่า วางเปูาหมายทีจ ่ ะสร้างสมดุลย์ในเรื่อ งงบประมาณของรัฐบาลท้อ งถิน ่ และสร้างความ มั่นใจว่า แม้ในระดับต่าทีส ่ ุดของการให้บริการทางสาธารณสุขจะประชาชนจะได้รับ บริการอย่างเท่าเทียมกันทัว่ ทัง้ ประเทศ มันมีผลกระทบเชิงบวกในเรื่อ งการปรับปรุงสุขภาพในอาเภอรอบนอกและลดความไม่ เสมอภาคในเรื่อ งอัตราการตายในอาเภอต่าง ๆ ในเดือ นเมษายนปี 2008 การตัดสินใจมี ขึ้นเพือ ่ ให้ทน ุ สนับสนุนในการปูอ งกันโรคกับแบบแผนการประกันสุขภาพทางสังคมของ ญีป ่ ุน ซึ่งมีเปูาหมายเพือ ่ ช่วยปัจเจกบุคคลในการควบคุม ดูแลสุขภาพของตนเอง สิ่งนี้ เป็นการปรับนโยบายพืน ้ ฐานทีถ ่ ก ู คาดหวังในการทาให้ Healthy Japan 21 แข็งแกร่งขึ้น ประสบการณ์ของมองโกเลียและญีป ่ ุนนามาซึ่งข้อ สังเกตทีน ่ ่าสนใจสาหรับการอภิปราย ถกเถียงในทีน ่ ี้ ในญีป ่ ุนเอง การลงสู่ภาคปฏิบต ั ิทป ี่ ระสบความสาเร็จในเรื่อ งกิจกรรมการ สร้างเสริม สุขภาพสามารถให้เครดิตกับการตัดสินใจเชิงนโยบายทีม ่ ีข้อ มูลจากหลักฐาน การสนับสนุนทีแ ่ ข็งแกร่งจากรัฐบาล และการออกกฎในเรื่อ งการสนับสนุนทุน ส่วน ทางด้านมองโกเลียนั้น ได้อ นุมัติโปรแกรมทางสาธารณสุขทีส ่ าคัญ ๆ มากมาย ถือ ว่า เป็นความชาญฉลาดด้านนโยบาย (Policy-wise) แต่การลงสู่ภาคปฏิบต ั ิจาเป็นต้อ งมีการ ปรับปรุงพร้อ มกับการสนับสนุนทางการเงินทีจ ่ าเป็น ประเทศทัง้ สองใช้วิธีการสนับสนุนทุนเพือ ่ ให้ทน ุ การสร้างเสริม สุขภาพทีแ ่ ตกต่างกัน ใน หลักการ งบประมาณของรัฐบาลกลาง ดูเหมือ นว่าเป็นวิธีการสนับสนุนทุนทีเ่ หมาะสม สาหรับงานงานการสร้างเสริม สุขภาพในระดับประชากร อย่างไรก็ตามหากขาดไปซึ่งการ แนะแนวทางทีเ่ หมาะสมและเครื่อ งมือ ทางงบประมาณ งานการสร้างเสริม สุขภาพอาจ ไม่ได้รับทุนทีเ่ พียงพอ งบประมาณรัฐบาลท้อ งถิน ่ และการมีส่วนร่วมของชุม ชนมีบทบาทสาคัญในการสนับสนุน ทุนและการลงสู่ภาคปฏิบต ั ิในเรื่อ งกิจกรรมการสร้างเสริม สุขภาพในระดับชุม ชนในญีป ่ ุน ปัจจุบน ั นี้ การประกันสุขภาพทางสังคมจะสนับสนุนงานสร้างเสริม สุขภาพในระดับปัจเจก บุคคล มันสาคัญทีจ ่ ะตั้งข้อ สังเกตว่า การสร้างเสริม สุขภาพทัง้ สามระดับ และวิธีการ สนับสนุนทุนมีเปูาทีจ ่ ะสนับสนุนให้คนทุกคน ใช้ชวี ิตตามไลฟ์สไตล์ทด ี่ ีต่อ สุขภาพและมี ความรู้ความสามารถด้านสุขภาพทีเ่ พียงพอ ไม่ว่าเขาจะอยูใ่ นสถานะทางสังคมและ เศรษฐกิจระดับใดก็ตาม โปรแกรมครอบจักรวาลเพือ ่ ครอบคลุม การประกันสุขภาพทางสังคมเป็นปัจจัยสาคัญ สาหรับญีป ่ ุน มันจะสร้างความเชื่อ มั่ นว่า สมาชิกทีม ่ ีประกันทุกคนมีการเข้าถึง และได้ สิทธิประโยชน์จากการสร้างเสริม สุขภาพทีม ่ าพร้อ มกับการดูแลสุขภาพแบบปูอ งกัน รักษาและฟืน ้ ฟูตามสิทธิ์ ทรี่ ้อ งขอ การประกันสุขภาพทางสังคมยังเอื้ อ อานวยให้เกิด การบูรณาการทีม ่ ีประสิทธิผลของการสร้างเสริม สุขภาพไปสู่เรื่อ งการให้บริการด้าน สุขภาพและการจัดการเรื่อ งทุน ซึ่งเป็นเรื่อ งจาเป็นสาหรับการได้ม าและการธารงรักษา โปรแกรมครอบคลุม การดูแลรักษาทุกโรค (Universal health-care coverage) การสนับสนุนทุนในงานสร้างเสริม สุขภาพกับการประกันทางสุขภาพทางสังคมเป็นเรื่อ ง ค่อ นข้างใหม่ ในอดีต การสร้างเสริม สุขภาพ ไม่ใคร่จะได้ถก ู นาเข้าไปรวมในสิทธิ ประโยชน์การประกันสุขภาพทีเ่ กือ ้ หนุนกัน เพราะมันถูกพิจารณาว่า เป็นไปเพือ ่ ประโยชน์ สาหรับสาธารณะและดังนี้กเ็ ลยถูกจัดให้ฟรีแก่ประชากร ในปี 2004 เหล่าผู้เชี่ยวชาญ ด้านการสร้างเสริม สุขภาพและการประกันทางสังคมได้พบปะกันในโอกาสงานประชุ
4 องค์อ นามัยโลกและสมาคมความมั่ นคงทางสังคมสากล ( International Social Security Association) และก็ได้เห็นร่วมกันทีจ ่ ะสร้างความพยายามร่วมกันเพือ ่ สร้าง ความแข็งแกร่งให้กบ ั การสร้างเสริม สุขภาพและการปูอ งกันโรค ภายในระบบ ประกันสังคม และการประกันสุขภาพทางสังคม ในปี 2007 งานประชุม ความมั่ นคงระดับ โลก (World Security Forum) ได้คุยในประเด็นเรื่อ งการสร้างความแข็งแกร่งให้กบ ั การ สร้างเสริม สุขภาพในระบบการประกันสุขภาพทางสังคมอี กด้วย ดังทีม ่ ีเรื่อ งทีไ่ ด้เรียนรู้เกีย ่ วกับการสร้างเสริม สุขภาพและการประกันสุขภาพทางสังคม มี การกระตุ้นมากมายเพือ ่ การประกันสุขภาพทางสังคมทีม ่ ุ่ งไปทีก ่ ารสร้างเสริม สุขภาพ เมื่ อ เปรียบเทียบกับวิธีการสนับสนุนทุนแบบอื่ น การประกันสุขภาพทางสังคมมีศักยภาพสูง ทีส ่ ุดในการจัดการความจาเป็นทางสุขภาพของผู้คน และมีอิทธิพลต่อ พฤติกรรมของ ผู้คนผ่านทางแรงจูงใจหลากหลายและความสัม พันธ์พเิ ศษกับสมาชิกผู้ชว่ ยสนับสนุน และผู้ให้บริการ มันจะเป็นทางเลือ กทีน ่ ่าสนใจทีเดียวสาหรับประเทศมองโกเลีย ทีจ ่ ะสืบสารวจเรื่อ งการ สนับสนุนทุนเพือ ่ การสร้างเสริม สุขภาพกับเรื่อ งการประกันสุขภาพทางสังคม ด้วยเหตุผล สองข้อ หนึ่งคือ เพือ ่ เพิม ่ ทุนเพือ ่ งานการสร้างเสริม สุขภาพ และสองคือ เพือ ่ ขยายผล การสร้างเสริม สุขภาพให้ทวั่ ทัง้ ประชากรในวงกว้าง มองโกเลียนาเอาการประกันสุขภาพ แกนบังคับมาใช้ในปี 1993 และประสบความสาเร็จเกือ บทีจ ่ ะเป็นแบบการครอบคลุม การ รักษาทุกโรคในปี 1996 ด้วยการอุ ดหนุนจากรัฐบาลสาหรับประชากรกลุ่ม เสี่ยงและ รายได้ต่า ปัจจุบน ั การประกันสุขภาพได้รับการยอมรับและปฏิบต ั ิอ ย่างดีในมองโกเลีย ประเด็นที่ ต้อ งคุยก็คือ ภาคการบริหารการประกันสุขภาพสนใจทีจ ่ ะขยายสิทธิประโยชน์ด้านการ ประกันหรือ เปล่า หรือ ว่าภาคการบริหารการประกันสุขภาพมีเงินเพียงพอทีอ ่ ยูต ่ ่อ ไปได้ หรือ ว่า สมาชิกทีช ่ ว่ ยจ่ายเงินอุ ดหนุนตั้งใจทีจ ่ ะจ่ายสิทธิประโยชน์ในงานสร้างเสริม สุขภาพด้วย ในปี 2005 การสารวจชิ้นหนึ่งถูกทาขึ้นเพือ ่ ตรวจสอบความคิดเห็นของผู้คนในเรื่อ ง สุขภาพ ความจาเป็นทางสุขภาพและการรับรู้โดยรวมของการสร้างเสริม สุขภาพ (งานวิจัยทีไ่ ม่ได้เผยแพร่ โดย ดี บายาไซคานและ เค นากามุระ) การสารวจชี้ให้เห็นว่า สมาชิกทีช ่ ว่ ยอุดหนุนสนับสนุนงานสร้างเสริม สุขภาพอย่างกว้างขวาง นับเป็นส่วนหนึ่ง ของสิทธิประโยชน์ด้านประกันสุขภาพ แม้ว่าเรื่อ งนี้ต้อ งการค่าใช้จ่ายอุ ดหนุนเพิม ่ เติม คาอธิบายทีน ่ ่าเป็นไปได้กค ็ ือ ว่า สิทธิประโยชน์การประกันทีม ่ ีอ ยูใ่ นปัจจุบน ั มุ่ งไปทีก ่ าร ดูแลเชิงรักษาทัง้ หมด ดังนั้นสมาชิกทีช ่ ว่ ยอุ ดหนุนอย่างกระตือ รือ ร้นได้รับสิทธิประโยชน์ การประกันแต่เพียงเมื่ อ พวกเขาเกิดปุวยและต้อ งเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล การสารวจทีว่ ่านี้แนะนาว่า ความจาเป็นของผู้คนและอุ ปสงค์กาลังเปลี่ยนแปลงและพวก เขาก็มีความกังวลในเรื่อ งสุขภาพมากขึ้น ผลการสารวจยังเผยให้เห็นว่าชาวมองโกเลีย ขาดความรู้ ความสามารถและทักษะทางสุขภาพทีเ่ พียงพอ ในการทีจ ่ ะปฏิบต ั ิอ ย่างมี สมรรถนะเพือ ่ การดูแลสุขภาพและปัญหาทีเ่ กีย ่ วข้อ งกับสุขภาพของตนเอง สมมติฐานถูกพัฒนาขึ้นจากผลลัพธ์ทไี่ ด้จากการสารวจซึ่งนาเอาข้อ มูลทีเ่ กีย ่ วข้อ งกับ สุขภาพ การศึกษาและคาแนะนาในเรื่อ งสุขภาพแบบมือ อาชีพมารวมกันเข้า เป็นสิทธิ ประโยชน์การประกันทีม ่ ีอ ยูใ่ นปัจจุบน ั
5 แพ็คเก็จในเรื่อ งสิทธิประโยชน์ตามทีไ่ ด้ตั้งสมมติฐานเอาไว้ถก ู เลียนแบบในแง่ของ ค่าใช้จ่ายการประกันสุขภาพและรายได้ การเลียนแบบได้สาธิตให้เห็นว่า การขยายสิทธิ ประโยชน์การประกันสุขภาพโดยรวมเอาการสร้างเสริม สุขภาพเข้าไปด้วย ในแง่การเงิน แล้วสามารถอยูต ่ ่อ ไปได้ในระดับการอุ ดหนุนทีม ่ ีอ ยูใ่ นปัจจุบน ั สิ่งนี้เป็นทางเลือ กหนึ่งที่ เป็นไปได้ เพือ ่ ส่งเสริม ผลสาเร็จในงานสร้างเสริม สุขภาพกับวิธีการสนับสนุนทุนที่ เหมาะสมในประเทศมองโกเลีย บทสรุป จากการสังเกตการณ์ ในญีป ่ ุนและมองโกเลีย แสดงให้เห็นว่า การให้ทน ุ ทีเ่ พียงพอและ มั่นคงเป็นเรื่อ งทีจ ่ าเป็นสาหรับปฏิบต ั ิการทีป ่ ระสบความสาเร็จในเรื่อ งนโยบายและ โปรแกรมของงานการสร้างเสริม สุขภาพ การเข้าแทรกแซงจากรัฐและการสนับสนุนเรื่อ ง ทุนเป็นสิ่งจาเป็นเพือ ่ แปลงนโยบายด้านการสร้างเสริม สุขภาพไปสู่ภาคการปฏิบต ั ิทม ี่ ี ประสิทธิผล การให้ทน ุ เพือ ่ งานสร้างเสริม สุขภาพอาจมีแหล่งทุนหลากหลาย เพือ ่ ความ เหมาะสมกับระดับการปฏิบต ั ิทแ ี่ ตกต่างกัน นับตั้งแต่ระดับรัฐบาลกลาง รัฐบาลท้อ งถิน ่ ชุม ชนและปักเจกบุคคล การประกันสุขภาพทางสังคมและปัจเจกบุคคล การประกันสุขภาพทางสังคมเป็นหนึ่งใน แหล่งทุนทีม ่ ีศักยภาพ เพือ ่ การสนับสนุนงานสร้างเสริม สุขภาพในระดับปัจเจกบุคคล การ ริเริ่ม ทีจ ่ ะสนับสนุนทุนเพือ ่ งานสร้างเสริม สุขภาพกับการประกันสุขภาพทางสังคมเป็น เรื่อ งค่อ นข้างใหม่ แต่กม ็ ีประโยชน์และศักยภาพในการขยายสิทธิประโยชน์ในการประกัน ประเทศทีใ่ ช้ในการศึกษานี้ จากการวิเคราะห์ประสิทธิผลของต้นทุนและหลักฐานในเรื่อ ง การสร้างเสริม สุขภาพ จะช่วยเกือ ้ หนุนองค์กรต่าง ๆ ทีท ่ างานประกันสุขภาพทางสังคม เพือ ่ การปฏิบต ั ิงานเชิงรุก ในการโปรโมทสุขภาพท่ามกลางสมาชิกทีม ่ ีการประกันตน ท้ายทีส ่ ุดแล้ว ผลประโยชน์ต่าง ๆ ของการสร้างเสริม สุขภาพจะเปลี่ยนจุดสนใจของการ ประกันสุขภาพในเรื่อ งความเจ็บปุวยไปสู่การธารงรักษาสุขภาพทีด ่ ี และจะเพิม ่ คุณค่า ทางยุทธศาสตร์สู่กระบวนทัศน์การพัฒนาการประกันสุขภาพทางสังคมในสถานการณ์ ทางสังคมและเศรษฐกิจทีพ ่ วั พันกันจนแยกไม่อ อก เช่นในปัจจุบน ั แหล่งทีม ่ า http://www.who.int/bulletin/volumes/86/11/08-052126.pdf