Can Climate Change Make Us Sicker

  • Uploaded by: Nattapol Kengkuntod
  • 0
  • 0
  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Can Climate Change Make Us Sicker as PDF for free.

More details

  • Words: 756
  • Pages: 3
1 การเปลีย ่ นแปลงของสภาพภูมิอากาศสามารถท าให้เราป่วยได้ง่ายขึน ้ หรือเปล่า ? โดย ไบรอัน วอลช์

“หากคุณดูทก ี่ ารเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอ ากาศในช่วงระยะเวลาทีน ่ านสักหน่อ ย มันจะส่งผล กระทบอย่างใหญ่หลวงในเรื่อ งสาธารณสุข นั่นก็คือ เรื่อ ง น้้า สุขาภิบาล คุณภาพอากาศ และ อาหารทีเ่ พียงพอ” รายละเอียด เราพูดถึงอะไรกันแน่ เมื่อ เราพูดคุยกันเกีย ่ วกับเรื่อ งภาวะโรคร้อ น? โลกจะร้อ นขึ้นใช่ไหม นั่น เป็นเรื่อ งเชื่อ ขนมกินได้เลยว่าใช่แน่นอน หรือ ว่า แผ่นน้้าแข็งทีข ่ ั้วโลกก้าลังจะละลาย และ สัตว์ปา่ ทีไ่ ม่สามารถปรับตัวเข้ากับอุ ณหภูมิทอ ี่ ุ่ นขึ้นอาจเข้าใกล้ภาวะสูญพันธุ์ จริง ๆ แล้วมัน หมายถึงอะไรส้าหรับสุขภาพของเราในฐานะมนุษยชาติ ? มันเป็นค้าถามทีย ่ งั ค้างคาใจแสนยากทีจ ่ ะตอบอย่างน่าแปลกใจ ขยายความก็คือ งานวิจัยใน เรื่อ งผลกระทบด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอ ากาศทีม ่ ีต่อ สุขภาพมนุษย์ได้ล้าหลัง วิทยาศาสตร์ด้านสภาพภูมิอ ากาศในสาขาอื่ น ๆ แต่สิ่งทีเ่ ราทราบก็คือ ว่า นักวิทยาศาสตร์และแพทย์หลาย ๆ คนเป็นกังวลใจมากขึ้น กล่าวคือ มีความเสี่ยงทีเ่ พิม ่ ขึ้นในเรื่อ งการเสียชีวิตจากคลื่นความร้อ น (Heat waves) การกระจายใน วงกว้างของโรคเขตร้อ น เช่น มาลาเรีย ไปสู่เขตพืน ้ ทีท ่ ไี่ ม่เคยเป็นมาก่อ น สิ่งเหล่านี้ท้าให้ โรคต่าง ๆ ทีม ่ ีแหล่งก้าเนิดมาจากน้้า (water-borne diseases) มีสถานการณ์ เลวร้ายมากขึ้น “เมื่อ เราคิดถึงเรื่อ งการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอ ากาศ เราคิดถึงเกีย ่ วกับเรื่อ งแผ่นน้้าแข็ง และความหลากหลายทางชีวภาพ แต่เราลืม ทีจ ่ ะพูดถึงสุขภาพของมนุษย์ ” “มีผลลัพธ์ทาง สุขภาพจ้านวนมากมายเลยทีอ ่ ่ อ นไหวต่อ สภาพภูมิอ ากาศ” กล่าวโดย ดร. โจนาธาน แพทซ์ ศาสตราจารย์ด้านการศึกษาทางสิ่งแวดล้อ มและวิทยาศาสตร์สุขภาพในประชากร แห่ง มหาวิทยาลัย วิสคอนซิน -เมดิสัน (Dr. Jonathan Patz, a professor of environmental studies and population health sciences at the University of Wisconsin-Madison) องค์การอนามัยโลก และองค์กรสุขภาพระดับโลกอื่ น ๆ ก้าลังท้างานเพือ ่ เตือ นเราให้ระลึกใน ข้อ เท็จจริงดังกล่าว เมื่ อ วันที่ 31 เดือ นมีนาคม สมาคมสาธารณสุขแห่งสหรัฐอเมริกา (American Public Health Association, APHA) ได้เปิดตัวพิม พ์เขียวฉบับปฐมฤกษ์เพือ ่ สู้ กับผลกระทบทางสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอ ากาศ และในวันที่ 7 เมษายน

2 องค์การอนามัยโลก จะอุทศ ิ วัน „สุขภาพโลก ‟ ประจ้าปี (World Health Day) ให้เป็นจุด บรรจบพบกันระหว่างโรคและภาวะโรคร้อ น สารทีจ ่ ะสื่อ ก็คือ ว่า การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอ ากาศทีร่ ุนแรงอาจท้าให้การสาธารณสุข ในระดับโลกแย่ลงถึงระดับฐานราก เหล่าแพทย์จ้าเป็นต้อ งพร้อ มทีจ ่ ะจัดการกับผลทีต ่ ามมา และนั่นมีกรณี ทางด้านจริยธรรมต้อ งแสดงให้เห็นชัดเพือ ่ การลดการปล่อ ยก๊าซคาร์บอน เพือ ่ รักษาชีวิตในอนาคต “หากคุณดูทก ี่ ารเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอ ากาศในช่วงระยะเวลาทีน ่ านสักหน่อ ย มันจะส่งผล กระทบอย่างใหญ่หลวงในเรื่อ งสาธารณสุข นั่นก็คือ เรื่อ ง น้้า สุขาภิบาล คุณภาพอากาศ และ อาหารทีเ่ พียงพอ” “ข้อ เท็จจริงก็คือ ว่า สุขภาพของมนุษย์ควรจะเป็นศูนย์กลางในการโต้วาที ทางการเมือ งว่าด้วยเรื่อ งการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอ ากาศ แต่ตอนนี้มันไม่ใช่ ” กล่าว โดย ดร. เดวิด เฮแมนน์ ผู้ชว่ ยผู้อ้านวยการใหญ่เพือ ่ ความมั่ นคงทางสุขภาพและสิ่งแวดล้อ ม ขององค์การอนามัยโลก (Dr. David Heymann, Assistant Director-General for Health Security and Environment at WHO) ขั้นแรกเริ่ม เลยทีจ ่ ะสร้างความกระจ่างในเรื่อ งทีว่ ่านี้กค ็ ือ การท้าความเข้าใจให้ได้ว่าอุ ณหภูมิ ทีอ ่ ุ่ นขึ้นจะส่งผลต่อ เราและโรคต่าง ๆ อย่างไรแน่ นักวิทยาศาสตร์สามสี่รายทราบในหัวข้อ นี้ มากกว่า ดร. โจนาธาน แพทซ์ซึ่งเขาเป็นสมาชิกคนหนึ่งในคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่า ด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอ ากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change, IPCC). เมื่อ อุณหภูมิสูงขึ้น อากาศร้อ นขึ้น หน้าร้อ นทีแ ่ ห้งแล้งมากขึ้น กลายมาเป็นมาตรฐานใน ภูมิภาคต่าง ๆ ทีค ่ รั้งหนึ่งเคยมีสภาพอากาศปานกลาง คลื่นความร้อ นอั นทรงพลัง (เช่นทีเ่ คย เกิดขึ้นในยุโรปเมื่อ ปี 2003 ได้คร่าชีวิตผู้คนไปประมาณ 35, 000 คน) จะท้าให้มีผู้เสียชีวิต เพิม ่ ขึ้นอีก ในเวลาเดียวกัน โมเดลทางสภาพภูมิอ ากาศหลาย ๆ แบบแนะว่า ในภาพรวม ฝน ฟ้าก็จะตกบ่อ ยน้อ ยลง แต่มีความรุนแรงมากขึ้นเมื่ อ ตกลงมาจริง ๆ ซึ่งก็จะน้าไปสู่ความ เคราะห็ร้ายซ้้าสอง ความแห้งแล้งทีย ่ าวนานขึ้นและรุนแรงมากขึ้นในบางพืน ้ ทีจ ่ ะท้าให้ความอดอยากเลวร้าย มากขึ้น แต่กระนั้นพายุฝนทีพ ่ ด ั กระหน่้ารุนแรงก็น้ามาซึ่งความเสี่ยงมากขึ้นของโรคทีม ่ ี แหล่งก้าเนิดจากน้้า เช่น อหิวาตกโรค (Cholera) “มันไม่ใช่แค่เรื่อ งอากาศร้อ นขึ้น มันเป็น การเปลีย ่ นแปลงของสภาพภูมิอ ากาศ” ดร. โจนาธาน กล่าวต่อ “มันก้าลังเปลี่ยนแปลงวัฏ จักรของอากาศ ท้าให้เกิดน้้าท่วมหนักมากขึ้น และก็ความแห้งแล้งทีร่ ุนแรงมากขึ้น” ส้าหรับบางโรค การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอ ากาศจะเป็นตัวช่วย ลองดูไข้ม าลาเรียตอนนี้เป็น ตัวอย่างก็ได้ โรคทีเ่ กิดจากแมลงเช่นนี้ ส่วนใหญ่จ้ากัดอยูใ่ นพืน ้ ทีเ่ ขตร้อ นชื้น นั่นก็เป็น เหตุผลว่าท้าไมคุณไม่จ้าเป็นต้อ งใช้ยาควินิน (Quinine) เมื่อ คุณก้าลังปีนเขาผ่าน สวนสาธารณะเซ็นทรัลปาร์ค (Central Park) แต่ถา้ หากว่าอุ ณหภูมิสูงขึ้น ยุงทัง้ หลายทีเ่ ป็น พาหะน้าปรสิตของเชื้อ มาลาเรียจะสามารถขยายอาณาเขต ขณะเดียวกันพายุฝนทีร่ ุนแรง มากขึ้นจะช่วยให้พวกยุงมีทวี่ างไข่ม ากขึ้น รายงานของปีนี้โดยศูนย์ระบาดวิทยาและสาธารณสุขของออสเตรเลีย ( Australia's Center for Epidemiology and Public Health) ประมาณการว่า มีผู้คนระหว่าง 20 ถึง 80 ล้านคน จะอาศัยอยูใ่ นภูมิภาคทีม ่ ีเชื้อ มาลาเรียภายในปี ค.ศ. 2080 ขณะทีป ่ รสิตก็ขยายอาณาเขต ของมัน การศึกษาอี กชิ้นหนึ่งทีพ ่ งึ่ เผยแพร่เมื่ อ 3 เมษายนทีผ ่ า่ นมา โดยบรรดาแพทย์ชาว อังกฤษ ได้ยกระดับความเป็นไปได้ทโี่ รคทีแ ่ หล่งก้าเนิดมาจากพวกแมลง (ทีไ่ ม่รู้จักกันอย่าง แท้จริงในเกาะทีเ่ ย็นสบายอย่างสหราชอาณาจักร) สามารถก่อ ปัญหากับเกาะอั งกฤษ เช่นนี้ แล้วต้อ งขอประชดประชันต่อ การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ

3 ดร. เดวิด กล่าวว่า “มีความน่ากังวลจริง ๆ เกีย ่ วกับมาลาเรีย มาลาเรียกลายเป็นโรคทีก ่ ้าลัง คุกคามมากขึ้น เพราะมันกระจายไปสู่ พืน ้ ทีใ่ หม่ ๆ ทีผ ่ ู้คนไม่มีภูมิคุ้ม กัน เพราะว่า พวกเขาไม่ เคยเป็นมาก่อ น” องค์การอนามัยโลกและองค์กรอื่ น ๆ ก้าลังผลักดันเพือ ่ เสริม ความแข็งแกร่งให้กบ ั ระบบ สาธารณสุขทัง้ โลกในการเตรียมพร้อ มส้าหรับการเปลี่ยนแปลงทีภ ่ าวะโลกร้อ นอาจน้ามา นั่น หมายความว่า เป็นการเตรียมพร้อ มให้สังคมต่าง ๆ รับมือ กับคลื่นความร้อ น (การสร้างความ มั่นใจว่าคนชราทีอ ่ ยูใ่ นกลุ่ม เสี่ยงทีส ่ ุดจะไม่ถก ู ทิง้ ให้อ ยูเ่ พียงล้าพัง) และปรับปรุงระบบการ ป้อ งกันเพือ ่ ต่อ ต้านโรคทีเ่ กิดจากแมลงเป็นพาหะ กับการมีมุ้ งหรือ ตาข่ายป้อ งกันโรค มาลาเรีย (Anti-malaria nets) และยาต่าง ๆ เช่น อาร์ทม ี ิสซินิน (Artemisinin) การเตรียม ตัวเช่นนี้จะเป็นเรื่อ งความจ้าเป็นโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในส่วนต่าง ๆ ของประเทศก้าลังพัฒนา เช่น ประเทศในแอฟริกาทีอ ่ ยูท ่ างตอนใต้ของทะเลทรายซาฮารา และเอเชียใต้ เป็นต้น (sub-Saharan Africa, south Asia) พืน ้ ทีเ่ หล่านี้ จะต้อ งรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอ ากาศมากทีส ่ ุด แต่ ดร. โจนาธาน ก็อ ยากจะเห็นการสาธารณสุขจัดการกับปัญหาการปล่อ ยก๊าซคาร์บอน โดยตรง นั่นคือ การจัดการกับภาวะโลกร้อ นทีส ่ าเหตุของมัน ส้าหรับดร. โจนาธาน คาร์บอนไดออกไซด์ควรจะถูกปฏิบต ั ิเยีย ่ งมลพิษทีท ่ ้าร้ายสุขภาพของมนุษย์ แม้ว่ามันจะโดย ทางอ้อ ม อี กทัง้ มันก็เป็นประโยชน์ทางการแพทย์ทล ี่ ดมันลงได้ “นโยบายพลังงานกลายเป็น หนึ่งเดียวกันและเป็นเหมือ นกับนโยบายทางการสาธารณสุข” กล่าวต่อ โดย ดร. โจนาธาน นโยบายต่าง ๆ ทีล ่ ดการปล่อ ยก๊าซสามารถส่งผลกระทบทางบวกโดยตรงต่อ สุขภาพมนุษย์ ในปัจจุบน ั ได้ด้วย ลองจินตนาการดูว่าสิ่งแวดล้อ มของเราจะดีขึ้นมากกว่าเดิม เพียงใด และ ระดับคอเลสเตอรอลอาจดีขึ้นด้วยถ้าหากพวกเราจ้านวนมากขึ้นหันมาปั่นจักรยานไปท้างาน มากกว่าขับรถยนต์ หรือ หากนักวางผังเมือ งทัง้ หลายเน้นย้้าความส้าคัญมากขึ้นในเรื่อ งการ ออกแบบชุม ชนทีเ่ ดินเท้าหาสู่กน ั ได้ และสร้างความมั่ นใจในเรื่อ งการคมนาคมขนส่ง สาธารณะทีย ่ งั่ ยืน แต่ความเป็นจริงก็คือ ว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอ ากาศก้าลังเกิดขึ้นวันนี้ และจะแย่ลงใน วันพรุ่ง ถึงแม้ว่าเราจัดการรวบรวมเอาความพยายามระดับโลกเข้าด้วยกันเพือ ่ ลดการปล่อ ย ก๊าซคาร์บอน ซึ่งดูเหมือ นว่าท้าจริงได้นิดหน่อ ยและก็ยากมากขึ้นทุกวัน (ค้าวิพากษ์วิจารณ์ ในนิตยสารเนเจอร์ (Nature) ฉบับวันที่ 3 เดือ นเมษายน ถกเถียงว่า การเปลี่ยนแปลงทาง เทคโนโลยีทจ ี่ ้าเป็นต้อ งลดก๊าซคาร์บอนของพลังงานอาจเป็นเรื่อ งยากมากกว่าทีเ่ ราคิด ขณะเดียวกันทีก ่ รุงเทพ ฯ นักการทูตทีเ่ ข้าร่วมประชุม เรื่อ ง สภาพภูมิอ ากาศ ซึ่งจัดโดย องค์การสหประชาชาติกม ็ ีความก้าวหน้าเพียงเล็กน้อ ยในการคิดหาสิ่งทีจ ่ ะมาแทนพิธีสาร เกียวโต) ถ้าหากมีเงินทีจ ่ ะถูกน้าไปใช้ในการเตรียมโลกส้าหรับผลกระทบทางสุขภาพจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอ ากาศเมื่ อ เปรียบกับการใช้เงินไปกับการบรรเทาก๊าซคาร์บอนทีป ่ ล่อ ย ออกมา ความส้าคัญอั นดับแรกน่าจะอยูท ่ ก ี่ ารปรับเปลี่ยนระบบสาธารณสุขของเราให้เข้ากับ โลกทีอ ่ ุ่ นขึ้น ในระดับหนึ่งภาวะโลกร้อ นจะเป็นสิ่งทีห ่ ลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่การทนทุกข์ของ มนุษย์ไม่จ้าเป็นต้อ งมี หากว่าเราฉลาดเพียงพอทีจ ่ ะเตรียมตัวรับมือ ให้พร้อ ม แหล่งทีม ่ า http://www.time.com/time/health/article/0,8599,1728139,00.html

Related Documents

Climate Change
May 2020 31
Climate Change
December 2019 46
Climate Change
November 2019 52
Climate Change
June 2020 26
Climate Change
July 2020 23

More Documents from ""