บัณฑิตที่เป็นศึกษิต
(Educated man) พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส(น.ม.ส.)ทรงประพันธ์ไว้เป็นกลอนแปดอย่างน่าฟังว่า หลักที่หนึ่งศึกษิตวิทยาสาร ย่อมชำานาญแนวนัยใช้ภาษา พูดก็เนียนเขียนก็แนบแบบวาจา ไม่บอๆ บ้าๆ ภาษาคน หลักทีส่ องสาทะจารเป็นญาณยึด ความประพฤติดีงามอร่ามผล ดำารงมั่นสัญญาสง่าคน ส่องสกลเป็นเยนตละแมนฯ หลักทีส่ าม Good taste มีเลสไข กุสุมรสสดสะอาดไม่ขาดแคลน หลักทีส่ ี่รู้ตรองให้ถ่องแท้ ความหุนหันพลันแล่นใช่แผนแด หลักที่ห้างอกไม่หยุดไม่สุดเติบ รู้ไม่พออยู่เป็นนิตย์คิดจะลอง หลักที่หกแปลความคิดประดิษฐ์ให้ ทั้งความรู้ความคิดพิศดาร เขาว่าลักษณ์หกยกเป็นหลัก
Educated man แสนโศภิต
ถ้าแปลได้ตรงเผ็งก็เก่งแสน เปรียบเหมือนแว่นส่องสว่างกระจ่างแท้ฯ ความเอียงความตรงบ่งให้แน่ มีเบาะแสฉันใดก็ไตร่ตรอง ฯ เพียงกระเถิบสารพรรณ์มันสมอง ดำาเนินคลองปัญญาวิชาการ ฯ เป็นความทำาขึ้นได้โดยนัยประสาน คิดไม่นานทำาได้ดังใจคิด เพื่อประจักษ์ใจสำานึกเป็นศึกษิต ชวลิตปัญญาวิชาชาญ
จากคำาประพันธ์ที่ น.ม.ส. ได้ทรงประพันธ์ไว้ ท่านได้แปลมาจากภาษาอังกฤษ สำาหรับใช้เป็นเครื่องตรวจสอบความเป็นศึกษิต สรุปได้ว่า ศึกษิต ต้องมีคุณสมบัติอย่างน้อยหกประการ คือ 1) มีความสามารถในการใช้ภาษา 2) มีกิริยามารยาทดี 3) มี่รสนิยมสูง 4) มีความคิดไตร่ตรองก่อนตัดสินใจ
5) มีความเจริญงอกงามอย่างต่อเนื่องและ 6) มีความสามารถในการแปลความคิดออกเป็นการกระทำา บัณฑิตปรากฏอยู่ที่เรา (ร่างกาย จิตวิญญาณ) ที่นี่เดี๋ยวนี้ จงตรวจดูเถิด ทำาหน้าที่ถูกต้องดีทสี่ ุด ในทุกอิริยาบถ ไม่หวังอะไร ไม่เป็นอะไร
ทำาหน้าที่เพื่อหน้าที่ เพราะรู้เห็นสิ่งต่างๆตามที่เป็นจริง คือรู้ความจริงโลกบัญญัติ ปฏิบตั ิหน้าที่ทางสังคมเพื่อการอยู่ร่วมกันโดยสันติสุข รู้ความจริงแท้
(ปรมัตถ์) เพื่อดับทุกข์ในใจ ชีวิตก็สดใสรุ่งเรือง ยิ้มได้นิรันดร.
ดร.มารุต ดำาชะอม 26 ก.ย. 32
…………………………………………. บัณฑิต ดำาเนินชีวติ ด้วยปัญญาที่ถูกต้องสมบูรณ์แบบ พาลชน ดำาเนินชีวติ ด้วย อวิชชา ตัณหา อุปาทาน และทุกข์ บัณฑิต
“ถ้าเป็นความดีของผู้อื่นแม้ไม่ถูกถามก็พูด แต่ถ้าเป็นความไม่ดีของผู้อื่นแม้ถูกถามก็ไม่พูด”
ลองตรวจสอบดูว่าเราเป็นบัณฑิต หรือพาลชน