Bex

  • Uploaded by: sarayont
  • 0
  • 0
  • December 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Bex as PDF for free.

More details

  • Words: 1,391
  • Pages: 49
รู้จักกับตราสารหนี้และตลาดตราสารหนี้ สันติ กีร ะนันทน์

1

ตราสารหนี้ (Debt instruments)

“ สัญญา (ตราสาร) ที่แสดงการกูย้ ืมเงินระหว่างผู้กู้ (บริษัทผู้ออก ตราสารหนี้) กับผู้ให้กู้ (นักลงทุนในตราสารหนี้) โดยในสัญญาจะมีรายละเอียดเกีย่ วกับการกู้ยืมนั้นๆ ทั้งนี้ กองหนี้สิน (สินทรัพย์) จะถูกแบ่งออกเป็นหน่วยย่อย ซึ่งแต่ละหน่วยย่อยจะมีมูลค่าเท่ากัน”

2

ระบบการเงิน (Financial system) ระบบ กา รเ งิ น

สถา บันก ารเง ิ น

ตล าด กา รเ งิน

Financial Institution

Financial Institution

ตลาดเ งิ น Money Market

ตล าดท ุน Capital Market

ตลาดอ นุพั นธ์ Derivatives Market 3

ตลาดตราสารหนี้ ตล าดเง ิน Money Market

ตล าดท ุน Capital Market

ตลาดตราสารหนี้ เป็นส่วนหนึ่งของตลาดทุน (ตราสารหนี้ระยะยาว) และตลาดเงิน (ตราสารหนี้ระยะสั้น) 4

ตลาดตราสารหนี้ • ตลาดตราสารหนี้ แบ่งตามผู้ที่เกี่ยวข้องในการซื้อขาย • ตลาดแรก (P rimary market ) • ตลาดรอง (S eco ndary market ) • ตลาดตราสารหนี้ แบ่งตามวิธีการซื้อขาย • ตลาดทางการ Exchan ge • ตลาดเจรจาต่อรอง (Over t he coun ter – OT C) • ตลาดตราสารหนี้ แบ่งตามขนาดของการซื้อขาย • ตลาดค้าปลีก (Ret ail mar ket) • ตลาดค้าส่ง (Who lesal e market )

5

บทบาทและประโยชน์ของตลาดตราสารหนี้ บทบาท จุล ภาค

 แหล่งระดมทุน ขององค์กร

ผู้ออกตราสารทั้งภาครัฐและ เอกชน  แหล่งลงทุน เป็นทางเลือกของนักลงทุน

บทบาทมห ภาค  ลดการพึง่ พาเงินทุนจากต่างประเทศ  ลดช่องว่างระหว่างเงินลงทุนและ

เงินออม  สร้างความสมดุลของตลาดการเงิน  สร้างเสถียรภาพของอัตราดอกเบี้ยในป ระเทศ  ลดความเสี่ยงโดยรวมของระบบเศรษฐ กิจ 6

ตราสารหนี้

(Debt instruments) เครื่องมือเพื่อการจัดการสภาพคล่อง และการระดมทุนระยะยาว

7

องค์ประกอบของตราสารหนี้  มูลค่าที่ตราไว้ (P ar Val ue)  อัตราดอกเบี้ย (Coup on Rate )

• ชือ่ ผู้ออก (Iss ue Nam e) • ประเภทของตราสารหนี้ • ข้อสัญญา ( Co venan ts)

 งวดการจ่ายดอกเบีย้ (C oupon F reque ncy)  วันครบกำาหนดไถ่ถอน (Mat uri ty Da te) 8

ประเภทของตราสารหนี้      

แบ่งตามองค์กรผู้ออกตราสาร แบ่งตามลักษณะการถือกรรมสิทธิ์ แบ่งตามวิธีการจ่ายดอกเบี้ย แบ่งตามสิทธิในการเรียกร้อง แบ่งตามชนิดของอัตราดอกเบีย้ แบ่งตามชนิดของสิทธิแฝงที่ติดมาพร้อมกับตราสารหนี้

9

ประเภทของตราสารหนี้ แบ่งตามองค์กรผู้ออก ตราสารหนี้ภาครัฐ 2. 3. 4. 5.

พันธบัตรรัฐบาล พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ ตั๋วเงินคลัง พันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ฯลฯ

ตราสารหนี้ภาคเอกชน 2. 3. 4. 5.

หุ้นกู้ไม่มปี ระกัน หุ้นกู้มีประกัน หุ้นกู้ด้อยสิทธิ หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ ฯลฯ

Supr anat ional Issue rs 10

ประเภทของตราสารหนี้ แบ่งตามลักษณะการถือกรรมสิทธิ์

แบ่งตามวิธีการจ่ายดอกเบีย้

 ตราสารหนีช้ นิดจ่ายเงินแก่ผู้ถอื (B ear er B ond)  ตราสารหนีช้ นิดจดทะเบียน (Reg ist ered B on d)  ตราสารหนีช้ นิดจดบัญชี (I nscrib ed B ond)

 ตราสารหนีช้ นิดจ่ายดอกเบีย้ ประ จำา (F ix-I nt eres t B on d)  ตราสารหนีช้ นิดทบดอกเบีย้  ตราสารหนีท้ ี่ไม่มีการจ่าย ดอกเบี้ย (Z ero-Cou pon Bond )

11

ประเภทของตราสารหนี้

แบ่งตามสิทธิในการเรียกร้อง  หุ้นกู้ด้อยสิทธิ (S ubo rdin ate Bond)  หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ (S eni or B ond )

แบ่งตามการใช้สินทรัพย์คำ้าประกัน  หุ้นกู้มีหลักประกัน (S ecu red B ond)  หุ้นกู้ไม่มหี ลักประกัน (U nsecured Bond )

12

ประเภทของตราสารหนี้ แบ่งตามชนิดของอัตราดอกเบี้ย  หุ้นกูจ้ ่ายดอกเบี้ยคงที่ (Fix-rate Bond)  หุ้นกูจ้ ่ายดอกเบี้ยแบบลอยตัว (Floating rate Bond)

แบ่งตามชนิดของสิทธิแฝง  หุ้นกู้ปกติ (straight and option free Bond)  หุ้นกู้แปลงสภาพ (Convertible Bond)  หุ้นกู้ทผี่ ู้ออกมีสิทธิขอไถ่ถอนก่อ นครบกำาหนด (Callable or Puttable Bond)

13

ประโยชน์ของตราสารหนี้: นักลงทุน • ผู้ลงทุนสามารถคาดการณ์ผลตอบแทนได้ค่อนข้างแน่นอน หรืออีกนัยหนึ่ง เมื่อเปรียบเทียบกับผลตอบแทนที่คาดหวังในการ ลงทุนใน ตราสารทุน • มีความเสีย่ งในการลงทุน น้อยกว่านักลงทุนในตราสารทุน • กระแสเงินสดทีน่ ักลงทุนได้รับค่อนข้างแน่นอน • นักลงทุนสามารถใช้ตราสารหนี้ ประกอบใน Port foli o เพือ่ ประโยชน์ในการกระจายความเสี่ยงจากการลงทุน (D iversif ic at ion) • ผลประโยชน์อื่นๆ เช่น เป็นหลักประกันในการทำาสัญญาใดๆ กับองค์กรภาครัฐและ/หรือเอกชน 14

ประโยชน์ของตราสารหนี้: บริษัทผู้ออก • ผู้ออกสามารถที่จะกำาหนดกระแสเงินสดจ่าย ทั้งสำาหรับดอกเบีย้ และมูลค่าไถ่ถอน ค่อนข้างแน่นอน ตั้งแต่วันออกตราสาร • ต้นทุนในการระดมเงินทุนตำ่ากว่าระดมเงินทุนจากเจ้าของ • ความเสี่ยงของนักลงทุนที่ต้องแบกรับ น้อยกว่าลงทุนใน ตราสารทุน • มีผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการประหยัดภาระภาษี (G ain from lever age) 15

กระบวนการออกตราสารหนี้ในตลาดแรก  พันธบัตรรัฐบาลและตั๋วเงินคลัง  ธปท. เป็นผู้ดำาเนินการประมูล  พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ  กรมบัญชีกลางเป็นผู้ดำาเนินการจัดประมูล ผ่านสำานักงาน บริหารหนี้สาธารณะ  ส่วนใหญ่ สถาบันการเงินจะเป็นผู้จัดจำาหน่าย  หุ้นกู้ภาคเอกชน  สถาบันการเงินเป็นผู้ดำาเนินการจัดจำาหน่าย 16

การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ  อันดับความน่าเชือ่ ถือ  Sover eign cr edit rat ing  Com pany rat ing  Iss ue rat ing  ทำาไมต้องจัดอันดับความน่าเชือ่ ถือ  นักลงทุนทราบระดับความเสี่ยงประเภท Cr edit risk  ใช้ในการพิจารณาต้นทุนในการออกตราสารหนี้ 17

ผู้จัดอันดับความน่าเชื่อถือ (Credit rating agency ­ CRA)  บริษั ท ทริส เรทติ ้ง จ ำา กัด (TRI S)

บริษัท ฟิ ทช์ เรทติ้ ง (ประ เทศ ไทย ) จำา กั ด (FI TC H)

18

อันดับความน่าเชื่อถือของ TRIS  ผลการจัดอันดับความน่าเชื่อถือจำานวน 8 อันดับ AAA

ความน่าเชือ่ ถือสูงสุด,ความเสี่ยงตำ่าสุด

AA A BBB BB B C D

ความน่าเชือ่ ถือตำ่าสุด,ความเสี่ยงสูงสุด

หมายเ หตุ : + แสดงค วามแต กต่างอั นดับ ความน ่ า เชื่อถือร ะดับ เดี ยวกั น BBB- ขึ้นไ ป คื อ หุ ้น กู้ ที ่เ หมาะสมสำาห รั บการลงทุ น กองทุนบ ำาน าญ และบ ริษัทประก ัน ภัย ไม ่แ นะนำาใ ห้ล งทุน หุ้ นกู้อ ัน ดับ ตำ่า กว่า BBB 19

ผลตอบแทนและราคาตราสารหนี้ Price and Yield calculation

20

ผลตอบแทนจากการลงทุนในตราสารหนี้

   

จากการซื้อ/ขายตราสารหนี้ (C apit al Ga in) จากดอกเบี้ย (I nt er est Inco me ) จากส่วนลด (Discou nt ) จากการนำาไปลงทุนต่อ (Int ere st on Int er est )

21

ภาษีของนักลงทุน ประเภท นักลงทุน

ดอกเบี้ยรับ

กำาไรจากการขาย

ภาษีสิ้นปี

บุคคลธรรมดา ในประเทศ

หัก ณ ที่จ่าย15%

หัก ณ ที่จ่าย 15% ยกเว้น Zero-coupon

เลือกรวมหรือไม่ก็ได้

บุคคลธรรมดา ต่างประเทศ

หัก ณ ที่จ่าย15% ยกเว้น Government bond

หัก ณ ที่จ่าย 15% ยกเว้น - Zero-coupon - Government bond

ขึน้ กับแต่ละประเทศ (อนุสัญญาภาษีซอ้ น)

นิติบุคคล ในประเทศ

หัก ณ ที่จ่าย 1%

ไม่หัก ณ ที่จา่ ย

ทั้งหมด ต้องรวมคำานวณกำาไรสุทธิ

นิติบุคคล ต่างประเทศ

หัก ณ ที่จ่าย 15% ยกเว้น Government bond

หัก ณ ที่จ่าย 15% ยกเว้น Government bond

ขึน้ กับแต่ละประเทศ (อนุสัญญาภาษีซอ้ น) 22

มูลค่าของตราสารหนี้ มูลค่าของตราสารหนี้ คือ มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่นักลงทุนจะได้รับตลอด อายุตราสารหนี้ นั่นเอง

23

หลักการ  ทำาไมมูลค่าที่เหมาะสม (I nt rinsic value) ของตราสารหนี้ จึงเป็น ผลรวมของมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่จะได้รบั ทั้งหมด อันเนื่องมาจากการถือครองตราสารหนี้นั้น ตลอดอายุ  เหตุผล นักลงทุนย่อมต้องวิเคราะห์ถึงประโยชน์ที่จะได้รับจากการ ลงทุน เทียบกับต้นทุนที่ต้องลงทุนไป มูลค่าปัจจุบันของผลประโยชน์ ทั้งหมดนั้น จึงเป็นต้นทุนสูงสุดที่ผู้ซื้อจะยอมจ่าย และเป็นมูลค่าตำ่าสุดที่ ผู้ขายจะยอมขาย

24

อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนในตราสารหนี้

• • • • •

อัตราผลตอบแทนที่ผู้ถือตราสารหนี้ต้องการ (requi red rat e of ret urn หรือ Yield) อัตราผลตอบแทนปัจจุบนั (Curren t Y ield) อัตราผลตอบแทนถึงวันครบกำาหนด (Y iel d to Mat uri ty) อัตราผลตอบแทนถึงวันเรียกคืน (Y iel d to Ca ll) Yield to wo rst อัตราผลตอบแทนเมื่อนับรวมผลประโยชน์ที่ได้รับจากการนำาดอกเบีย้ ไ ปลงทุน (R eali zed Compou nded Yield )

25

การวัดอัตราผลตอบแทนที่ผู้ถือตราสารหนี้ต้องการได้รับ  อัตราผลตอบแทนปัจจุบัน (Current Yield) Current Yield=

Current Baht Coupon Payment Market Price

 อัตราผลตอบแทนถึงวันครบกำาหนด (Yield to Maturity) n

Pbond = ∑ CFt t t=1 (1+r)

+

FVbond n (1+r)

26

การวัดอัตราผลตอบแทนที่ผู้ถือตราสารหนี้ต้องการได้รับ  อัตราผลตอบแทนถึงวันเรียกคืน (Y iel d t o Call ) n

Pbond = ∑ CFt t t =1(1+r)

+

Callprice n (1+r)

 อัตราผลตอบแทนเมื่อนับรวมผลประโยชน์ที่ได้รับจากการนำาดอกเบี้ยไปล งทุน (Realized Compounded Yield)

27

เส้นอัตราผลตอบแทน (Yield Curve) “ เส้นแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราผลตอบแทน (Yi el d) กับอายุคงเหลือของตราสารหนี้ (Time to Mat uri ty) โดยทุกๆ จุดบน Yi el d Curve จะแสดงอัตราผลตอบแทน ตามอายุที่เหลือของตราสารหนี้ ”

28

รูปร่างของเส้นอัตราผลตอบแทน  โดยทั่วไปมีอยู่ 4 รูปแบบ 1. แบบปกติ (N orma l Yi eld Cu rve )

อั ตร าผลตอ บแท นร ะย ะย าวสูง กว่า ระ ยะสั ้ อัตราผลตอบแทน % (Yield) น

อายุคงเหลือ (TTM)

29

รูปร่างของเส้นอัตราผลตอบแทน 2. แบบลาดลง (Inve rte d Yield Curve )

อัต รา ผลตอบ แท นร ะย ะสั ้นส ูงก ว่า ระ ยะ ยาว อัตราผลตอบแทน % (Yield)

แบบลาดลง (Inverted Yield Curve)

อายุคงเหลือ (TTM)

30

รูปร่างของเส้นอัตราผลตอบแทน 3. แบบหลังเขา (H umped Yiel d Curve)

- อั ตรา ผล ตอบแท นเพิ ่มข ึ ้น จา กนั ้นล ดลงเมื่ ออา ยุต รา สา รห นี ้เพิ ่มขึ้น อัตราผลตอบแทน % (Yield)

แบบหลังเขา (Humped Yield Curve)

อายุคงเหลือ (TTM)

31

รูปร่างของเส้นอัตราผลตอบแทน 4. แบบราบ (Flat Y ield C urv e)

อั ตรา ผล ตอบแท นเท ่า กั นท ุกช่ วงอา ยุคง เห ลือ อัตราผลตอบแทน % (Yield)

แบบราบ (Flat Yield Curve)

อายุคงเหลือ (TTM)

32

ความสัมพันธ์ระหว่างราคาและอัตราผลตอบแทน ราคาพันธบัตรและอัตราผลตอบแทนก็มีทิศทางตรงข้ามกัน ราคา ดอกเบี้ย

Price

Yield

33

ความสัมพันธ์ของราคาและอัตราผลตอบแทน  มีความสัมพันธ์เชิงผกผัน  ถ้า yiel d เพิม่ ขึ้น 1% ราคาลดลง x บาท และถ้า yiel d ลดลง 1% ราคาเพิ่มขึ้น y บาท : x จะน้อยกว่า y เราเรียกคุณสมบัตินี้ว่า Convexit y  ตราสารหนี้อายุยาว มีความเสีย่ งในเรื่อง pri ce risk สูงกว่า ตราสารหนี้อายุสั้น  การวัด Price ri sk (Market ris k, I nt erest rat e risk) อาจจะใช้ตัววัด PVBP (D V01), YVCP, Du rat io n (Maca ulay and Modif ie d) 34

ความสัมพันธ์ของราคาและอัตราผลตอบแทน  ความเสี่ยง pr ice risk ที่เพิ่มขึ้นตามอายุของตราสารหนี้ที่เพิ่มนั้น เพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง (decr eas ing r ate)  ตราสารหนี้ที่จ่าย cou pon มาก มีความเสี่ยง pr ice risk น้อย

35

ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อมูลค่าและผลตอบแทน จากการลงทุนในตราสารหนี้    

อายุคงเหลือของตราสารหนี้ (T ime to Mat ur it y) อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋วของตราสารหนี้ (Co upon Rat e) อัตราดอกเบี้ยในตลาด (Int er est R at e) การรายงานการจัดอันดับความน่าเชือ่ ถือ

36

ความผันผวนของราคาตราสารหนี้  Du ra tio n : อายุเฉลี่ยของตราสารหนี้ โดยให้นำ้าหนักตามมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินแต่ละงวด  ประโยชน์ : เป็นตัววัดการเปลี่ยนแปลงของราคาตราสารหนี้ ตราสารหนี้ที่มี Duration สูง จะมีการเปลี่ยนแปลงของราคามากกว่า  การใช้งาน : หากคาดว่าราคาของตราสารหนี้จะสูงขึ้น ควรเลือกซื้อตราสารหนี้ที่มี Duration สูง ซึ่งจะให้กำาไรจากส่วนต่างของราคาสูง เนื่องจากราคาจะเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึน้ มากกว่าตราสารหนีท้ ี่มี Duration ตำ่า

37

Macaulay duration  เป็นการวัดอายุเฉลีย่ คงเหลือของตราสารหนี้ เพือ่ สามารถเปรียบเทียบอายุคงเหลือของตราสารหนี้ ที่มกี ารจ่ายดอกเบีย้ ไม่เท่ากัน  คำานวณจากอายุเฉลีย่ คงเหลือ ถ่วงนำ้าหนักด้วยมูลค่าปัจจุบนั ของกระแสเงินสดทีไ่ ด้รับแต่ละงวด  ปกติ durat ion จะสั้นกว่า time t o m aturit y สำาหรับตราสารหนี้ประเภทที่จ่ายดอกเบีย้ แต่ zero-coup on bond จะมี dura tion เท่ากับ time t o m aturit y

38

Duration and Convexity Price

Pr icing E rror from c onve xit y Durat ion Yiel d 39

ความเสี่ยงจากการลงทุนในตราสารหนี้

40

ความเสี่ยงคืออะไร  ความเสี่ยงคือความไม่แน่นอน (U nc ertai nty )  ความเสี่ยง หมายถึง อัตราผลตอบแทนที่เกิดขึน้ จริง (R ea lized re turn) มีโอกาสที่จะผิดไปจากอัตราผลตอบแทนที่คาดหวังจากการลง ทุน (Ex pected ret urn )

41

ความเสี่ยงจากการลงทุนในตราสารหนี้  Interest Rate Risk/Price Risk ความเสีย่ งเกิดจากการเปลีย่ นแปลงอัตราดอกเบีย้  Default Risk ความเสีย่ งจากการผิดนัดชำาระดอกเบีย้ หรือเงินต้น  Reinvestment Rate Risk ความเสีย่ งจากการนำาดอกเบีย้ ไปลงทุนต่อในอัตราดอกเบี้ยที่ลดลง  Event Risk ความเสีย่ งที่เกิดจากเหตุการณ์ มีผลต่อราคาตราสารหนี้ 42

ความเสี่ยงจากการลงทุนในตราสารหนี้  Liquidity Risk ความเสีย่ งเกิดจากสภาพคล่องของตราสารหนี้  Inflation Risk ความเสีย่ งเนือ่ งจากการลดลงของอำานาจซื้อ  Option–Embedded Risk ความเสีย่ งเนือ่ งจากสิทธิแฝงในตราสารหนี้  Risk–Risk / Black–Box Risk ความเนื่องจากการไม่ทราบราคาและอัตราผลตอบแทนที่แท้จริง 43

การซื้อขายในตลาดรอง BEX

44

Bond Electronic Exchange (BEX) BEX Retail bond market - Exc hange mann er - Faci lit at e ret ail in vest or (smal l and l arger orde r) - Trade through brok er

ETP Wholesale bond market - Over-t he-coun ter mann er - Facil it at e inst it uti ons (in vest ors and de alers ) - Propri et ary tr adin g

45

BEX Website

46

ข้อมูลข่าวสารเรื่องตราสารหนี้

47

Investment Information

48

Thank you For further information please contact Bond Electronic Exchange Tel 0-2229-2783-91 [email protected] 49

Related Documents


More Documents from "sand"

Analysis
November 2019 20
Ch03linear Programming
December 2019 15
Bex
December 2019 13
Risk Return
November 2019 23