Risk and Return
ชานนท์ ชิงชยานุรักษ์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เนื้อหา • แนวคิดเบื้องต้นเกีย่ วกับผลตอบแทนและความเสี่ยง • คำานวณหาอัตราผลตอบแทน (Expected Return) • การวัดความเสี่ยง (Risk Measurement) โดยคำานวณจาก ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน • สัมประสิทธิ์ความแปรปรวน (Coefficient of Variation) • ความเสี่ยงแบบเป็นระบบและแบบไม่เป็นระบบ (Systematic/ Unsystematic Risk)
การลงทุน (Investment) การลงทุน (Investment) การที่ธุรกิจได้จา่ ยเงินทุนออกไปเพื่อกิจกรรมหนึ่งในวันนี้ โดยธุรกิจหวัง “ผลตอบแทน”จากกิจกรรมในวันข้างหน้า วัตถุประสงค์ในการลงทุน การชะลอการบริโภคหรือใช้จา่ ยในปัจจุบัน ซึ่งเป็นการเพิ่มพูนความมั่งคั่งของเราเพื่อหวังว่าเราสามารถบริโภค หรือใช้จา่ ยได้มากขึ้นในอนาคตและได้รบั ความพอใจกว่า
ผลตอบแทน (RETURN) เราสามารถวัดผลตอบแทนในรูปของ ???
ผลตอบแทน (RETURN) • แนวคิดนักการเงินในการพิจารณาผลตอบแทนจะมุ่งเน้นถึง กระแสเงินสด ที่เกิดจากการลงทุนนั้น ๆ ไม่ใช่กำาไรทางบัญชี
“Cash, Not Profits, is King …”
ผลตอบแทน (RETURN) • ผลประโยชน์ทพี่ ึงจะได้รบั จากการลงทุนที่ทำาให้ส่วนของผู้ลงทุนมีมูลค่าเพิ่ มขึ้น ผลตอบแทน
= เงินสดรับปลายงวด – เงินลงทุนต้นงวด
อัตราผลตอบแทน = เงินสดรับปลายงวด – เงินลงทุนต้นงวด x 100 เงินลงทุนต้นงวด
ผลตอบแทน (RETURN) Ex. นาย A ลงทุนเริม่ ต้น 100,000 บาท ตอนต้นปี สิ้นปีได้รับ เงินสดกลับคืนมาจากการลงทุนนี้ 110,000 บาท ผลตอบแทน อัตราผลตอบแทน
= ??? = ???
ผลตอบแทน (RETURN) Ex. นาย A ลงทุนเริม่ ต้น 100,000 บาท ตอนต้นปี สิ้นปีได้รับ เงินสดกลับคืนมาจากการลงทุนนี้ 110,000 บาท ผลตอบแทน อัตราผลตอบแทน
= 110,000 – 100,000 = 10,000 บาท = 110,000 – 100,000 x 100 = 10% 100,000
• ในกรณี การลงทุนอาจมีการรับเงินสดในระหว่างปี และสามารถตีราคามูลค่าของการลงทุนในวันสิ้นงวดได้
ผลตอบแทน (RETURN) อัตราผลตอบแทน = (เงินสดรับปลายงวด – เงินลงทุนต้นงวด) + เงินสดรับระหว่างงวด x 100 เงินลงทุนต้นงวด
จากตัวอย่างเดิม สมมติว่าในระหว่างปีผู้ลงทุนได้รับเงินคืน
5,000 บาท หาอัตราผลตอบแทนได้ ???
ผลตอบแทน (RETURN) ผลตอบแทนจากการลงทุนประเภทต่าง ๆ – ลงทุนในหุน้ สามัญและหน่วยลงทุน – ลงทุนในหุน้ กู้ – ลงทุนในโครงการต่าง ๆ
ผลตอบแทน (RETURN) ผลตอบแทนจากการลงทุนในหุ้นสามัญ :
• ซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ABC จำากัดเมื่อต้นปีที่ราคา 100 บาท ปลายปีได้รับเงินปันผล 5 บาท หลังจากนั้น ขายหุน้ ไปได้ราคา 120 บาท อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนในหุ้นสามัญ ของ ABC เป็นเท่าไร ???
ผลตอบแทน (RETURN) ผลตอบแทนจากการลงทุนในหุ้นสามัญ :
• ซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ABC จำากัดเมื่อต้นปีที่ราคา 100 บาท ปลายปีได้รับเงินปันผล 5 บาท หลังจากนั้น ขายหุน้ ไปได้ราคา 120 บาท อัตราผลตอบแทน = เงินปันผล + (ราคาขาย - ราคาซื้อ) ราคาซื้อ
ผลตอบแทน (RETURN) ผลตอบแทนจากการลงทุนในหุ้นกู้ :
• ซื้อหุ้นกู้ของบริษัท XYZ จำากัดเมื่อต้นปีที่ราคา 95 บาท ปลายปีได้รับดอกเบี้ย 7 บาท หลังจากนั้นขายหุ้นกู้ ไปได้ราคา 97 บาท อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนในหุ้นกู้ ของ XYZ เป็นเท่าไร ???
ผลตอบแทน (RETURN) ผลตอบแทนจากการลงทุนในหุ้นกู้ :
• ซื้อหุ้นกู้ของบริษัท XYZ จำากัดเมื่อต้นปีที่ราคา 95 บาท ปลายปีได้รับดอกเบี้ย 7 บาท หลังจากนั้นขายหุ้นกู้ ไปได้ราคา 97 บาท อัตราผลตอบแทน = ดอกเบีย ้ รับ + (ราคาขาย - ราคาซ้ือ) ราคาซ้ือ
Expected Return & Uncertainty ผลตอบแทน
ที่คาดว่าจะได้รบั เนื่องจากผลของการลงทุน เป็นเรือ่ งที่จะเกิดในอนาคต ดังนั้น การลงทุน ต้องพิจารณาถึง
(Expected Return) ความไม่แน่นอน ของผลตอบแทนดังกล่าว (Uncertainty)
ความเสี่ยง (RISK) ความไม่แน่นอน (Uncertainty) – ความไม่รวู้ ่าจะเกิดอะไรขึ้นในอนาคตแน่ ความเสี่ยง (Risk) – อัตราของความไม่แน่นอนว่ามีมากน้อยเพียงใด
ทัศนคติที่มีต่อความเสี่ยง (Risk Attitude) กลัวความเสี่ยง Expected Return
เฉย ๆ กับความเสี่ยง รักความเสี่ยง Risk
x1
x2
การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)
ในการประเมินความเสี่ยงอย่างง่ายสามารถทำาโดย - การวิเคราะห์ความอ่อนไหว (Sensitivity Analysis) สินทรัพย์ A เงินลงทุนเริ่มแรก 10,000บาท อัตราผลตอบแทนต่อปี pessimistic 13% most likely 15% optimistic 17% พิสัย (range) 4%
สินทรัพย์ B 10,000บาท 7% 15% 23% 16%
การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)
ในความเป็นจริงเหตุการณ์ 3 ระดับมีโอกาสเกิดไม่เท่ากัน - การแจกแจงความน่าจะเป็น (Probability distributions) สินทรัพย์ A สินทรัพย์ B เงินลงทุนเริ่มแรก 10,000บาท 10,000บาท อัตราผลตอบแทนต่อปี pessimistic (25%) 13% 7% most likely (50%) 15% 15% optimistic (25%) 17% 23% พิสัย (range) 4% 16%
การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) Range B Range A
0.5 0.4 0.3 0.2 0.1 0
0
5
10
15
20
25
การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)
ข้อจำากัดของการใช้พิกัด Range Z Range Y Range X
0.5 0.4 0.3 0.2 0.1 0
0
5
10
15
20
25
การวัดความเสี่ยง (Risk Measurement) การวัดความเสี่ยง หรือ การวัดการกระจายหรือความผันผวนของผลตอบแทนที่เกิดขึ้นว่าห่า งจากค่าที่คาดหวังไว้อย่างไร นอกเหนือจากการประเมินความเสี่ยงจากการวัดพิสัยแล้ว วิธที ี่นิยมใช้วัดความเสี่ยงและเหมาะสมที่สุด คือ การหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( , SD ,Standard Deviation)
การวัดความเสี่ยง (Risk Measurement) การหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
σ= R= Ri = Pi =
N =
∑ (R − R ) i
2
( Pi )
อัตราผลตอบแทนที่คาดหวัง อัตราผลตอบแทนสำาหรับความเป็นไปได้ที่เกิดขึ้น ความน่าจะเป็นของผลตอบแทนที่เกิดขึ้น จำานวนรวมของความเป็นไปได้
อัตราผลตอบแทนที่คาดหวัง (Expected Risk of Return, R )
อัตราผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตโดยที่ยังมี ความไม่แน่นอนของเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น
Expected Rate of Return = ∑ (Probability of Return) (Possible Return) n
i =1 n
R
= ∑ (Ri) (Pi) i =1
ผลที่ เป ็นไป ได้ ความ น่าจ ะเป็ อัต ราผล ตอบแท มูล ค่ าถ่วง นำำา ห น Pi น นักPi Ri Ri x สิน ทร ัพ ย์ A pessimistic most likely optimistic
.25 .50 .25
13% 15% 17%
R
1.0
3.25% 7.50% 4.25% = 15.00%
สิน ทร ัพ ย์ B pessimistic
.25
7%
1.75%
most likely
.50
15%
7.50%
optimistic
.25
23%
5.75%
1.0
R
= 15.00%
การวัดความเสี่ยง (Risk Measurement) การหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
σ= R= Ri = Pi =
N =
∑ (R − R ) i
2
( Pi )
อัตราผลตอบแทนที่คาดหวัง อัตราผลตอบแทนสำาหรับความเป็นไปได้ที่เกิดขึ้น ความน่าจะเป็นของผลตอบแทนที่เกิดขึ้น จำานวนรวมของความเป็นไปได้
สินทรัพย์ A ผลที เ่ ป็นไ ปไ ด้ (i) 1 2 3
Ri
R
13 15 17
15% 15% 15%
Ri − R ( Ri − R )
-2% 0% 2%
4% 0% 4%
2
Pi
Pi ( Ri − R ) 2
.25 .50 .25
1% 0% 1% 2%
2 ( R − R ) ( Pi ) ∑ i
σ=
∑ (R − R ) i
2
( Pi ) = 2 = 1.41%
สินทรัพย์ B ผลที เ่ ป็นไ ปไ ด้ (i) 1 2 3
Ri
R
7 15 23
15% 15% 15%
Ri − R ( Ri − R )
-8% 0% 8%
64% 0% 64%
2
Pi
Pi ( Ri − R ) 2
.25 .50 .25
16% 0% 16% 32%
2 ( R − R ) ( Pi ) ∑ i
σ=
∑ (R − R ) i
2
( Pi ) = 32 = 5.66%
การวัดความเสี่ยง (Risk Measurement) ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 4 ขั้นที่ 5 ขั้นที่ 6
คำานวณหาค่าผลตอบแทนที่คาดหวัง คำานวณหาค่าส่วนที่เบี่ยงเบนของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแต่ละกรณี กับผลตอบแทนทีค่ าดหวัง ยกกำาลังสองส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแต่ละเหตุการณ์ ถ่วงนำ้าหนักส่วนเบี่ยงเบนยกกำาลังสองที่คำานวณได้จากขั้นที่ 3 ด้วยความน่าจะเป็นของแต่ละเหตุการณ์ รวมค่าถ่วงนำ้าหนักที่คำานวณได้จาก ขั้นที่ 4 ค่าที่ได้ คือ ความแปรปรวน ถอดรากทีส่ องของผลที่ได้จากขั้นที่ 5 จะได้คา่ ส่วนเบีย่ งเบน มาตรฐาน
Probability distribution สิน ทร ัพ ย์ A
สิน ทร ัพ ย์ B -15
อั ตราผ ลต อบแท น (%) 0
15
30
สินทรัพย์ ใดมีความเสี่ยงมากกว่ากัน ???
Risk and a single investment
Consider 2 possible investments: • Investment in Treasury bill which is a government security that mature in 90 days and promise to pay an annual of 6% • Investment in the stock of local company which the estimate of the annual returns will be Probability of Occurrence 10 % 20% 40% 20% 10%
Rate of Return on Investment -10% 5% 15% 25% 40%
Risk and a single investment 1.0 Treasury bill Stock of local company
0.5 0.4 0.3 0.2 0.1 -10%
5%
15%
25%
40%
Measuring Risk Probability of Occurrence 10 % 20% 40% 20% 10%
Rate of Return on Investment -10% 5% 15% 25% 40%
return : k = (.10)(-10%) + (.20)(5%) + (.40)(15%) + (.10)(40%) = 15 % 1/2 2 2 ( -10% 15%) (.10) + ( 5% 15%) (.20) = 12.85% risk : SD = + ( 15% - 15%)2(.40) + ( 25% 15%)2(.20) + ( 40% - 15%)2(.10)
Risk Averse plc: Expected Return & Standard Deviation expected return standard deviation Project 1 Project 2 Project 3 Project 4 Project 5
16 20 26 12 26
0 0 24.7 12 49.8
Make a decision which project would be selected ? 30
Expected Return (%)
25
Project 2 Project 1
20 15 10
Project 5
Project 3 Project 4
5 0 0
10
20
30
Standard deviation (Risk)
40
50
Make a decision which line would be selected ? I1 or I2 ? And why ? I3 or I4 ? 30
Expected Return (%)
I1
25 20
I2
15 10 5
I3
0 0
I4 10
20
30
Standard deviation (Risk)
40
50
Make a decision which project would be selected ? 30
Expected Return (%)
25
Project 2 Project 1
20 15 10
Project 3
Project 5
Project 4
5 0 0
10
20
30
40
Standard deviation (Risk)
50
สัมประสิทธิ์ความแปรปรวน (Coefficient of Variation) • เพื่อปรับขนาดผลตอบแทนให้สามารถเปรียบเทียบกันได้ จึงนำาเอาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานหารด้วยอัตราผลตอบแทนที่คาดห วังค่าที่ได้ คือ สัมประสิทธิค์ วามแปรปรวน (Coefficient of Variation หรือ CV) • ตัวอย่าง ผลการคำานวณอัตราผลตอบแทนที่คาดหวัง และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของโครงการ A และโครงการ B สรุปได้ดังนี้
โครงการ A B
R
SD
20% 25%
30% 35%
สัมประสิทธิ์ความแปรปรวน (Coefficient of Variation) โครงการ A,
CV = 1.5
โครงการ B,
CV = 1.4
สัมประสิทธิ์ความแปรปรวนเป็นการวัดความเสี่ยงต่อหนึ่งหน่วยขอ งผลตอบแทนที่คาดหวัง เมื่อสัมประสิทธิ์ความแปรปรวนสูงโอกาสความเสี่ยงจากการลงทุนจ ะสูงตามไปด้วย
ประเภทของความเสี่ยง • ความเสี่ยงที่เป็นระบบ (systematic risk, undiversifiable risk, market risk, macro risk)
• ความเสี่ยงที่ไม่เป็นระบบ
(unsystematic risk, diversifiable risk, specific risk, micro risk)
ความเสี่ยงทั้งสองประเภทต่างกันอย่างไร ???
ความเสี่ยงทีไ่ ม่เป็นระบบ • ความเสีย่ งที่ไม่ได้เกิดโดยสภาพแวดล้อมรวม เป็นความเสี่ยงเฉพาะตัว ได้แก่ • ความเสี่ยงในการดำาเนินธุรกิจ (business risk) • ความเสี่ยงทางการเงิน (financial risk)
ความเสี่ยงทีไ่ ม่เป็นระบบ ความเสีย่ งในการดำาเนินธุรกิจ (business risk) • เป็นความเสี่ยงเกี่ยวกับกระแสเงินสดรับและจ่ายที่เกิด ขึน้ จริงไม่เป็นไปตามทีค่ าดไว้
ความเสี่ยงทีไ่ ม่เป็นระบบ ความเสีย่ งในการดำาเนินธุรกิจ (business risk)
• ความไม่แน่นอนของ กระแสเงินสดรับ • ภาวะการแข่งขัน • การคาดคะเนที่เกี่ยวกับคู่แข่ง • ราคาขายและยอดขายที่แตกต่างจากการประมาณไว้
ความเสี่ยงทีไ่ ม่เป็นระบบ ความเสีย่ งในการดำาเนินธุรกิจ (business risk)
• ความไม่แน่นอนของ กระแสเงินสดจ่าย • การไม่สามารถควบคุมต้นทุนการดำาเนินงาน • ต้นทุนคงที่ (fixed cost) • ต้นทุนผันแปร (variable cost)
ความเสี่ยงทีไ่ ม่เป็นระบบ ความเสีย่ งในการดำาเนินธุรกิจ (business risk) • เป็นความเสี่ยงเกี่ยวกับกระแสเงินสดรับและจ่ายที่เกิด ขึน้ จริงไม่เป็นไปตามทีค่ าดไว้ • เกิดจาก “ความเสี่ยงทางด้านการขายประกอบกับความเสีย่ งทา งด้านการดำาเนินงาน” เป็นหลัก ทำาให้กระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับไม่เป็นไปตามที่ค
ความเสี่ยงทีไ่ ม่เป็นระบบ ความเสีย่ งทางการเงิน (financial risk) • เป็นความเสี่ยงทีเ่ กี่ยวข้องกับการที่ธุรกิจจัดหาเงินมาใ ช้ในการดำาเนินงาน • เงินทุนจากเจ้าของ • เงินทุนจากเจ้าหนี้
• การกู้ยืมก่อให้เกิดภาระผูกพัน (obligation) ในการชำาระคืนดอกเบี้ยและเงินต้น
ความเสี่ยงที่เป็นระบบ • ความเสี่ยงที่ เกิดจากระบบโดยรวม เช่น ภาวะเศรษฐกิจ การเมือง สังคม ซึง่ เป็นสิ่งที่ไม่มีใครสามารถหลีกเลี่ยง หรือไม่มีใครสามารถควบคุมได้ • ทุกคนได้รบั ผลกระทบจากความผันผวนของเหตุการณ์เหล่า นี้ แต่ว่าผลกระทบที่เกิดขึ้นกับแต่ละหน่วยธุรกิจ หรือกับแต่ละบุคคลนัน้ อาจจะมีความรุนแรงไม่เท่ากัน • การวัดผลกระทบนี้ ก็คือการวัดปริมาณความเสีย่ งที่เป็นระบบ (ซึ่งมักจะรูจ้ ักกันทั่วไปว่า เบต้า (β))
ความเสี่ยงที่เป็นระบบ • ความผันผวนในอัตราแลกเปลี่ยน (Exchange rate risk) • ความผันผวนในอัตราดอกเบี้ย (Interest rate risk) • ความผันผวนในราคาสินค้า วัตถุดบิ (Commodities price risk)
• ความผันผวนในเหตุการณ์ทางการเมือง (Political risk) • ความผันผวนในเหตุการณ์ทางสังคม (Social risk)
ลำาดับของการจัดการความเสี่ยงทั้งสอง • ต้อง diversify ก่อน เพราะไม่มีต้นทุนเพิ่ม “ don’t put all of your eggs in one basket” • จากนั้น ถ้าต้องการลดปริมาณความเสีย่ งที่เป็นระบบ จึงจะทำาการประกันความเสี่ยง หรือ hedge ซึง่ มีต้นทุนในการจัดการ
สรุป • แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับผลตอบแทนและความเสี่ยง • คำานวณหาอัตราผลตอบแทน (Expected Return) • การวัดความเสี่ยง (Risk Measurement) โดยคำานวณจาก ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน • สัมประสิทธิ์ความแปรปรวน (Coefficient of Variation) • ความเสี่ยงแบบเป็นระบบและแบบไม่เป็นระบบ (Systematic/ Unsystematic Risk)
Reference • • • •
อ.สุจรรย์พินธ์ สุวรรณพันธ์, การเงินธุรกิจ 1 อ.สิริเกียรติ รัชชุศานติ, การเงินธุรกิจ 1 สุมาลี จิวะมิตร, การบริหารการเงิน 1 Keown, Martin, Petty, Financial Management Principles and Application