Bad Economy Better Health

  • Uploaded by: Nattapol Kengkuntod
  • 0
  • 0
  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Bad Economy Better Health as PDF for free.

More details

  • Words: 590
  • Pages: 3
งานศึกษา: เศรษฐกิจย่า แย่อาจดีต่อสุขภาพของคุณ โดย เทเรซา แทมกินส์ Highlight

คุณพร้อ มแล้วหรือ ยังสาหรับข่าวดีเกีย ่ วกับภาวะเศรษฐกิจถดถอยครั้งนี้ การณ์ปรากฏว่า เศรษฐกิจโคลงเคลงไม่มั่นคงแบบนี้แท้จริงอาจดีต่อ สุขภาพคุณก็ได้ รายละเอียด แม้มันดูเหมือ นยากทีจ ่ ะเชื่อ , บทวิเคราะห์อันใหม่ของเศรษฐกิจตกต่าในยุค เดอะเกรท ดีเพรส 1

ชั่น -ซึ่งถูกเรียกว่าเป็นมารดาแห่งช่วงเวลาอั นทุกข์ยากของภาวะเศรษฐกิจทัง้ มวล -แนะนาว่า ภาวะการเสียชีวิตลดลงและอายุคาดเฉลี่ยเพิม ่ ขึ้นในระหว่างช่วงดังกล่าว นักวิจัยหลายคนประมาณว่า ในช่วงนั้น หนึ่งปีทผ ี่ ลิตภัณฑ์ม วลรวมภายในประเทศหรือ จีดีพี ลดลงร้อ ยละ 5 มีความสัม พันธ์กบ ั อายุคาดเฉลี่ยทีม ่ ีม ากขึ้น 1.9 ปี ขณะทีก ่ ารมีจีดีพส ี ูงขึ้นร้อ ยละ 5 ทาให้อ ายุคาดเฉลี่ยตกลงราวหนึ่งถึงสองเดือ น คุณโฮเซ่ เอ ทาเปีย กรานาดอส นายแพทย์แห่งสถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยมิชแ ิ กนวิทยา เขต แอน อาร์บอร์ (José A. Tapia Granados, M.D., of the Institute for Social Research at the University of Michigan, Ann Arbor) กล่าวว่า และก็ไม่ใช่แค่ในช่วงเดอะเกรท ดีเพรส ชั่นเท่านั้น งานวิจัยย้อ นหลังได้แสดงให้เห็นผลลัพธ์ทอ ี่ อกมา–อย่างน้อ ยก็มีการลดลงในเรื่อ ง อัตราการเสียชีวิต -ในช่วงเศรษฐกิจถดถอยของสหรัฐอเมริการะหว่างปี 1980 และ 1990 และ ภาวะถดถอยในประเทศอื่ น ๆ คุณโฮเซ่อ ธิบายต่อ “ด้วยเหตุผลบางอย่าง มันเป็นข่าวดี ทัศนะปกติในช่วงเศรษฐกิจถดถอย เช่นนี้มักจะมองว่าทุกอย่างนั้นแย่ไปหมด” ในงานศึกษาทีเ่ พิง่ ตีพม ิ พ์ในสัปดาห์นี้ ในวารสารโพรซีดดิ้งออฟเดอะแนชชั่นแนล แอคคาเด มี ออฟ ซายเอนส์ (Proceedings of the National Academy of Sciences) ดร. ทาเปียและ เพือ ่ นร่วมงานชื่อ ว่าคุณ เอนา วี ดิเอซ รูซ์ (Ana V. Diez Roux) ได้วิเคราะห์ การเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจและสุขภาพในประชากร ในสหรัฐอเมริกา ระหว่างปี 1920 และ 1940 รวมถึงปี ต่าง ๆ ทีอ ่ ยูใ่ นช่วงเดอะเกรท ดีเปรสชั่น ซึ่งเริ่ม ในปี 1929 สิ้นสุดในปี 1933

1

.ใช้การเขีย นทับศัพท์จากภาษาอั งกฤษ ทีว่ า่ The Great Depression คาอธิบายคือยุ คเศรษฐกิจของโลกตกต่าสุด ขีดซึ่งเกิ ดขึ้นในช่วง ปี 1929-1939 อ่านต่อเพิม ่ เติมได้ที่ http://www.nidambe 11.net/ekonomiz/2008q2/2008april14p3.htm, http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id= 74631 และ http://en.wikipedia.org/wiki/Great_Depression

อายุคาดเฉลี่ยโดยทัว่ ไปเพิม ่ ขึ้น 8.8 ปี ระหว่าง ปี 1920 และ 1940 แต่อ ายุทเี่ พิม ่ ขึ้นก็ขึ้น ๆ ลง ๆ ตามภาวะเศรษฐกิจ นักวิจัยทัง้ สองพบว่า ภาวะการเสียชีวิตลดลงและอายุคาดเฉลี่ยเพิม ่ ขึ้นในระหว่างเดอะ เกรท ดี เพรสชั่น และในช่วงเศรษฐกิจถดถอยในช่วงปี 1921 และ 1938 ก็เช่นเดียวกัน เมื่อ เปรียบเทียบ กับปีอื่ น ๆ ในช่วงดังกล่าวการทาอั ตวินิบาตกรรมเพิม ่ ขึ้นแต่มันก็น้อ ยกว่าร้อ ยละ 2 ของการ เสียชีวิตในช่วงนั้น เมื่อ นักวิจัยดูทส ี่ าเหตุการเสียชีวิตหลัก ๆ อี กหกอย่าง รวมถึง โรคหัวใจและไต วัณโรค และ อุบต ั ิภัยบนท้อ งถนน ระหว่างปี 1920 และ 1940 พวกเขาตั้งข้อ สังเกตว่า การเสียชีวิตจาก สาเหตุเหล่านั้นลดระดับลงในระหว่างช่วงเศรษฐกิจถดถอยและเกิดขึ้นอี กครั้งในช่วงเวลาที่ เศรษฐกิจกลับมาเจริญรุ่งเรือ ง (แบบแผนคล้าย ๆ กันก็พบในภาวะการเสียชีวิตของเด็กและทารก ด้วย) ในช่วงเดอะเกรท ดีเพรสชั่น อายุคาดเฉลี่ยเพิม ่ ขึ้นจาก 57.1 ปี ในปี 1929 ไปสู่ 63.3 ปี ในปี 1933 โดยเฉพาะในประชากรทีไ่ ม่ใช่คนผิวขาว แสดงให้เห็นว่ามีการเพิม ่ ขึ้นมากของอายุคาด เฉลี่ย ประชากรทีไ่ ม่ใช่ผวิ ขาว เพศชาย มีอ ายุยน ื ยาวขึ้นแปดปีในช่วง เดอะ เกรท ดีเพรสชั่น คือ เพิม ่ ขึ้นจาก 45.7 ปี ในปี 1929 ไปสู่ 53.8 ปี ในปี 1933 แม้ว่าคุณทาเปียไม่ได้ทาการศึกษาในเรื่อ งอั ตราการฆาตกรรม เขากล่าวว่า งานวิจัยบางชิ้นแนะ ไว้ว่า การฆาตกรรม มีแนวโน้ม ทีจ ่ ะลดลงในช่วงเศรษฐกิจถดถอย คุณทาเปียกล่าวต่อ ว่า แม้ว่ามันไม่ชด ั เจนว่าทาไมอั ตราการเสียชีวิตอาจลดลงในช่วงเศรษฐกิจ ถดถอย มันเป็นทีร่ ู้กน ั ว่าผู้คนมีแนวโน้ม ทีจ ่ ะดื่ม และสูบน้อ ยลง และผู้คนก็มีแนวโน้ม ทีจ ่ ะออกไป ทานอาหารนอกบ้านและขับรถบ่อ ยน้อ ยลงด้วย เขากล่าวเสริม อี กว่า แม้ว่าเรื่อ งเหล่านี้บอ ่ ยครั้ง เป็นไปตามเหตุผลทางเศรษฐกิจอย่างเดียวโดด ๆ มันก็สามารถแปลไปสู่อุปท ั วเหตุสองสาม อย่างได้ อีกทฤษฎีหนึ่งก็คือ ในช่วงเวลาเศรษฐกิจขาลง ผู้คนต่างก็ร่วมไม้ร่วมมือ กัน ช่วยเหลือ กัน มากกว่าตอนทีพ ่ วกเขาอยูใ่ นช่วงเศรษฐกิจขาขึ้น “สิ่งนี้จะปรับปรุงระดับความสามัคคีกน ั ในสังคมและการสนับสนุนจุนเจือ กันทางสังคม และมัน สามารถก่อ ให้เกิดผลสาเร็จในเชิงป้อ งกันในเรื่อ งสุขภาพด้วย” คุณทาเปียกล่าว

ดร. คริสโตเฟอร์ รูฮ์ม ศาสตราจารย์ด้านเศรษฐศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัน นอร์ท แคโรไล นา วิทยาเขตกรีนโบโร่ (Christopher Ruhm, a professor of economics at the University of North Carolina, Greensboro) ได้ทางานวิจัยในเรื่อ งการเสียชีวิตในช่วงเศรษฐกิจถดถอย หลายครั้งทีพ ่ งึ่ ผ่านเมื่อ เร็ว ๆ นี้ เขากล่าวว่า ผลวิจัยใหม่นี้ไม่ใช่เรื่อ ง “ผิดปกติ ” (out in left field) และก็ตรงกับการวิจัยในช่วงเศรษฐกิจขาลงทีไ่ ม่รุนแรงมากนัก อย่างไรก็ตามความสาคัญ ของผลกระทบไม่ได้ถก ู คาดหวังไว้ (และผลก็ปรากฏออกมาในระหว่างช่วงเวลาทีเ่ ศรษฐกิจ ล้ม ละลายเกือ บจะทัง้ หมดไม่ใช่แค่เพียงตอนเศรษฐกิจถดถอย) “คุณลองคิดดู เมื่อ มีเศรษฐกิจล้ม ละลาย ผมก็อ าจจะคิดได้ว่ามันน่าจะมีสิ่งอื่ น ๆ กาลังเกิดขึ้นซึ่ง สิ่งนั้นก่อ ให้เกิดผลตรงกันข้ามมากกว่า” ศาสตราจารย์ คริสโตเฟอร์กล่าวต่อ “เมื่อ ตอนสหภาพ โซเวียตแตกและเศรษฐกิจก็ถงึ คราล่ม สลาย เหตุการณ์ ทเี่ กิดขึ้นนั้นไม่ดีต่อ สุขภาพของผู้คน” ด้วยเหตุทห ี่ มอหลายคนได้สร้างความก้าวหน้าในเรื่อ งอายุคาดเฉลี่ยในศตวรรษทีแ ่ ล้ว (ใน สหรัฐอเมริกา ตอนนี้เราคาดว่าจะมีอ ายุยน ื จนถึง 77.7 ปี) เศรษฐกิจอาจมีผลกระทบต่อ สุขภาพ เล็กน้อ ยกว่าอายุคาดเฉลี่ยทีไ่ ด้เห็นจากงานศึกษาชิ้นใหม่ “ในเศรษฐกิจยุคใหม่ ผมไม่คิดว่าคุณจะได้เห็นอะไรบางอย่างใกล้เคียงกับตัวเลขทีม ่ ากขนาด นั้น” งานวิจัยของ ดร. คริสโตเฟอร์ รูฮ์ม แนะนาว่าสาหรับการเพิม ่ ขึ้นของร้อ ยละในแต่ละจุดใน เรื่อ งอั ตราการว่างงาน การเสียชีวิตจะลดลงร้อ ยละ 0.5 “นั่นคือ ผลกระทบทีม ่ ิใช่เรื่อ งเล็ก ๆ แต่ในแง่ของตัวชี้วัดใหญ่ ๆ ของสุขภาพ มันไม่ใช่ตัวชี้วัดที่ ครอบงาในเรื่อ งสุขภาพหรือ อะไรบางอย่างทีใ่ กล้เคียงเลย” ดร.รูฮ์ม กล่าวต่อ ว่า งานวิจัยของเขาไม่ได้ให้ข้อ มูลทีเ่ ป็นนัยในการรับมือ กับการสูญเสียงาน แต่ เขามีข้อ มูลทีห ่ ลายคนบอกกับเขาว่า พวกเขามีน้าหนักลดลง 30 ปอนด์ หลังการถูกเลิกจ้าง เพราะพวกเขาหยุดการกินอาหารนอกบ้าน และเริ่ม หันมาออกกาลังกายมากขึ้น “นั่นเป็นเพียงแค่ หลักฐานเกร็ดเล็กเกร็ดน้อ ย แต่การณ์ กลับปรากฏว่าข้อ มูลสนับสนุนเรื่อ งดังกล่าว” ตามที่ ดร. รูฮ์ม กล่าว ผู้ให้คาปรึกษาและนักบาบัดเกีย ่ วกับการถูกเลิกจ้างงาน บ่อ ยครั้งแนะนา ผู้คนให้เข้าควบคุม เรื่อ งต่าง ๆ ทีพ ่ วกเขาสามารถทาได้ เช่น เอาใจใส่ในสิ่งทีเ่ ขาทาน พยายามที่ จะกระตือ รือ ร้นมากขึ้นกว่าเดิม อี กสักหน่อ ย หรือ ลองพยายามให้ม ากขึ้นในการติดต่อ กับ ครอบครัว “อย่างน้อ ย หลาย ๆ ส่วนทีค ่ ุณสามารถควบคุม ได้ พยายามทีจ ่ ะเคลื่อ นสิ่งเหล่านั้นไป ในทางบวก –และข้อ มูลก็แนะนาไว้ว่า จริง ๆ แล้วผู้คนต่างก็ทาเช่นนั้น ” ดร. รูฮ์ม กล่าวทิง้ ท้าย

แหล่งทีม ่ า http://edition.cnn.com/2009/HEALTH/09/29/bad.economy.better.health/index.html

Related Documents

Economy Is Really Bad
April 2020 43
Bad
April 2020 43
Bad
November 2019 52

More Documents from ""