Pichakorn Wongwishyakorn 518 47074 28 Journal Review #1
WHY DO PEOPLE AVOID ADVERTISING ON THE INTERNET? Cho C. H. and Cheon H. J. (2004), “Why do people avoid advertising on the internet?,” Journal of Advertising, vol. 33 no. 4 (Winter 2004), 89-97.
Keywords: Ad avoidance, Internet, Ad clutter, Negative experience, Goal impediment Main idea of the article จากความหลากหลายของรูป แบบการโฆษณาที่มีอ ยูบ นสื่อ อิน เตอรเ น็ต เชน Banner, Pop-up, Email ads และอื่นๆ ลวนเกิดขึ้นจากความเชื่อที่วา อินเตอรเน็ตเปนสื่อกลาง ซึ่ง บรรจบกัน (Convergent medium) สํา หรับ สื่อ ทุก ชนิด กลา วคือ สื่อ อิน เตอรเ น็ต เปน สื่อ ลูก ผสมระหวา ง โทรทัศ น วิท ยุ หนัง สือ พิม พ นิต ยสาร กระดานปา ย (Billboard) และอื่น ๆ ซึ่ง หากเปรีย บเทีย บกับ สื่อ พื้น ฐาน (Traditional Media) แลว สื่ออิน เตอรเ น็ต มีค วามสามารถในการบรรลุเ ปา หมาย มีรูป แบบการทํา งาน มี การตอบสนองสองทางของการนํา เสนอขอ มูล (Interactivity) และ/หรือ การกํา หนดตํา แหนง ของขอ มูล ขาวสาร (Information-oriented medium) ที่มากกวาสื่อพื้นฐาน Summary of the article บทความนี ้เ ปน การศึก ษาทํ า ความเขา ใจเกี ่ย วกับ สาเหตุก ารหลีก เลี ่ย งขอ ความโฆษณาบนสื ่อ อิน เตอรเ น็ต โดยใชวิธีก ารวิจัย เชิง สํา รวจแบบออนไลน (On-line survey) กับ นัก ศึก ษาปริญ ญาตรี จํานวน 266 คน ผลการศึกษาพบวา การหลีกเลี่ยงขอ ความโฆษณาบนสื่อ อิน เตอรเ น็ต เกิด ขึ้น เนื่อ งจาก ความยุง เหยิง ของโฆษณาที่ป รากฏ (Perceived ad clutter) ประสบการณใ นแงล บที่เ คยเกิด ขึ้น (Prior negative experience) กับ ตนเอง และการถูก ขัด ขวางการเขา ถึง เปา หมาย (Perceived goal impediment) ที่ตองการ My reactions ขา พเจา เห็น ดว ยกับ บทความชิ้น นี้ เนื่อ งจากความเชื่อ ที่วา อิน เตอรเ น็ต เปน สื่อ กลาง ซึ่ง บรรจบกัน สํา หรับ สื่อ ทุก ชนิด จึง ทํา ใหน ัก การตลาด นัก โฆษณา และผูที่เ กี ่ย วขอ ง ตา งมีค วามสนใจและมุง ให ความสํา คัญ กับ ชนิด นี้อ ยา งมาก จนทํา ใหผูบ ริโ ภคสื่อ ประเภทนี้จํา ตอ งประสบกับ ขอ ความโฆษณาบนสื่อ อิน เตอรเ น็ต ที่ม ีม ากมายหลายรูป แบบ และที่สํา คัญ คือ ผูบ ริโ ภคจะหลีก เลี ่ย งไมไ ด เนื่อ งจากความ พยายามในการคนหาวิธีและรูปแบบตางๆ ที่จะเขาถึงผูบริโภคกลุมเปาหมาย ซึ่งกลับกลายเปนการสราง ความรําคาญและกอใหเกิดทัศนคติในแงลบตอตราสินคาที่ปรากฏ