Tiger Conservation Progress Report Jan Jun08 1

  • Uploaded by: karnjana
  • 0
  • 0
  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Tiger Conservation Progress Report Jan Jun08 1 as PDF for free.

More details

  • Words: 642
  • Pages: 12
รายงานความคืบหนา

โครงการวิจัยทางดานนิเวศวิทยา เพื่อการอนุรักษเสือโครง ในอุทยานแหงชาติกุยบุรี มกราคม – มิถุนายน พ.ศ. 2551

โรเบิรต สไตนเม็ตซ, นเรศณ เสือทุเรียน, วัลลภ ชุตพิ งศ, บุญลือ พูลนิล และ คณะสํารวจเสือโครงอุทยานแหงชาติกุยบุรี โครงการรวมระหวาง WWF

ประเทศไทย และ

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กรกฎาคม 2551

คํานํา รายงานฉบับนีน้ ําเสนอความกาวหนาและผลที่ไดรับจากการดําเนินโครงการวิจยั เพื่อ อนุรักษเสือโครงในอุทยานแหงชาติกยุ บุรี ระหวางเดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ. 2551 ซึ่งเปน ความรวมมือระหวางอุทยานแหงชาติกยุ บุรี กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช และ WWF ประเทศไทย อุทยานแหงชาติกุยบุรีตั้งอยูใ นแนวเทือกเขาตะนาวศรีซึ่งเปนพื้นที่ที่มีความสําคัญตอ การอนุรักษเสือโครงในระดับโลก แตความรูเกี่ยวกับสถานภาพของเสือโครงและสัตวผูลาขนาด ใหญชนิดอืน่ ๆ รวมทั้งสัตวที่เปนเหยื่อในพื้นที่แหงนี้กลับมีคอนขางนอย โครงการวิจัยเพื่ออนุรักษ เสือโครงฯ เปนการผสานองคความรูที่ไดจากการวิจัยในภาคสนามและการวินจิ ฉัยปญหาที่สงผลตอ การลดลงของประชากรเสือโครงโดยมีเปาหมายเพื่อการอนุรักษและฟน ฟูประชากรของเสือโครง และสัตวที่เปนเหยื่อในพืน้ ที่อุทยานแหงชาติกุยบุรี โครงการนี้ไดเริ่มดําเนินการตั้งแต พ.ศ. 2549 ถึงปจจุบัน จากผลการศึกษาในสองปทผี่ าน มา เสือโครงในอุทยานฯกุยบรียังมีอยู และมีหลักฐานการขยายพันธุ แตสัตวกนิ พืชที่เปนเหยื่อของ เสือโครงมีความชุกชุมต่ํา ดังนั้นความจําเปนเรงดวนในการอนุรักษประชากรเสือโครงในพื้นทีแ่ หง นี้ คือตองฟนฟูประชากรของสัตวที่เปนเหยื่อ โดยทําการจัดตั้งพื้นทีฟ่ นฟูประชากรของสัตวกินพืช ขึ้นมา 3 แหง ไดแก ปายาง, คลองกุย, หุบอินทนิล (รายละเอียดดูในรายงานป 2549 -2550 ที่แนบมา ดวย) การดําเนินงานของโครงการฯตั้งแตเดือนมกราคม พ.ศ.2551 เนนไปทีก่ ารติดตามแนวโนม ของประชากรสัตวกินพืชทีเ่ ปนเหยื่อของเสือโครง ในพื้นที่ฟนฟูทจี่ ัดตั้งขึ้นทั้ง 3 แหง ไดแก ปายาง, คลองกุย และหุบอินทนิล

2

วัตถุประสงคของโครงการ 1. ศึกษาวิจัยทางดานนิเวศวิทยาของเสือโครง และสัตวผลู าขนาดใหญ

รวมทั้งสัตวที่เปนเหยื่อ ƒ ศึกษาแบบแผนในการกระจายและความชุกชุมของเสือโครงและสัตวผลู าขนาดใหญ และสัตวที่เปนเหยื่อ ภายในพื้นที่แตละสวนของอุทยาน ƒ ติดตามการเปลี่ยนแปลงทางสถานภาพประชากรของเสือโครงและสัตวผูลาขนาดใหญ และสัตวที่เปนเหยื่อในพืน้ ที่ของอุทยานฯ และใหความสําคัญเปนพิเศษกับพื้นทีฟ่ น ฟู สัตวปาทั้ง 3 แหง

2. พัฒนาศักยภาพของเจาหนาที่ฯ และคนในทองถิ่นในการติดตาม

สถานภาพสัตวปา การแกไขปญหา และการวางแผนการจัดการ ƒ ฝกอบรมเจาหนาที่อุทยานฯ ใหสามารถเขามาเปนสวนหนึ่งในการดําเนินการวิจัย ทางดานนิเวศวิทยา และสามารถนําผลที่ไดไปใชในการอนุรักษสัตวปา และถิ่นที่อยูอ าศัย ƒ สรางความเขาใจรวมในเรื่องสถานภาพ (ความชุกชุมและการกระจาย) ของสัตวปาที่เกิด จากปจจัยในอดีต โดยอาศัยความรูของคนในทองถิ่นทั้งเจาหนาทีฯ่ และชุมชน ƒ วินิจฉัยปญหาและสาเหตุของปญหาที่ทําใหประชากรสัตวปาลดลง โดยอาศัยขอมูลเชิง ปริมาณจากการศึกษาวิจัย และขอมูลเชิงคุณภาพจากองคความรูของคนในทองถิ่น ƒ สรางความเขาใจรวมในประเด็นปญหาที่เกีย่ วของกับการอนุรักษและรวมกันหาแนวทาง ในการแกไขการลดประชากรของเสือโครง และสัตวที่เปนเหยื่อ ƒ ชวยเหลือเจาหนาที่อุทยานฯ ในการนําเขาขอมูลจากการสํารวจในภาคสนาม การ วิเคราะหขอมูล การนําเสนอผลการวิเคราะหในรูปแบบรายงานประเภทตางๆ ƒ พัฒนาศักยภาพในดานการประชาสัมพันธ

3. ติดตามแนวทางในการฟนฟูประชากรสัตวกินพืชที่เปนเหยื่อของสัตวผูลา

ขนาดใหญ

3

ƒ จัดตั้งพื้นทีฟ่ นฟูสัตวปา 3 พื้นที่ (โดยเฉพาะสัตวกนิ พืชทีเ่ ปนเหยื่อของสัตวผูลาขนาด ใหญ) ในพื้นทีอ่ ุทยานฯ และดําเนินการติดตามแนวโนมทางประชากรของสัตวในพืน้ ที่ ดังกลาว ƒ หาแนวทางและทําขอตกลงรวมกับชุมชนในการฟนฟูประชากรสัตวปา ƒ จัดทําแผนการจัดการในการอนุรักษและฟน ฟูสัตวปา

วิธีการในการสํารวจ เสนสํารวจรองรอย ƒ เสนสํารวจมีความยาว 400 เมตร แบงออกเปน 8 ชวง โดยแตละชวงมีความยาว 50 เมตร ƒ ทําการวางเสนสํารวจรองรอยตามภูมิประเทศที่เปนหวยน้ําลําธาร ดานสัตวหรือสันเขา พยายามวางเสนสํารวจใหกระจาย ครอบคลุมภายในพื้นที่ฟนฟูทั้ง 3 แหง โดยเสนสํารวจ 12 เสนกระจายอยูในชอง 1 ตารางกิโลเมตร ในแผนที่ทางภูมิศาสตร มาตราสวน 1 : 50,000 โดยจุดเริ่มตนและจุดสิ้นสุดของเสนสํารวจถูกบันทึกพิกดั ดวยเครื่อง GPS และวัด ระยะทางของเสนสํารวจโดยใชเครื่องวัดระยะทางที่เปนเชือกติดเอว (hipchain) ƒ บันทึกการปรากฎหรือไมปรากฎของรองรอยสัตวที่เปนเปาหมายลงในแบบฟอรมการ สํารวจ สําหรับรองรอยของสัตวแตละประเภทที่มีมากกวา 1 รอยในชวง 50 เมตร ถูก นับเปน 1 รองรอยเทานั้น ƒ ในการสํารวจรองรอยคณะสํารวจจะเดินชาๆ (ความเร็วเฉลี่ยประมาณ 1 กิโลเมตรตอ ชั่วโมง) คนหารองรอยของกลุมสัตวที่เปนเปาหมาย (รอยเทา รอยตะกุยดิน หรือกองมูล) ที่ ตกอยูในชวง 1 เมตรจากทั้ง 2 ดานของเสนสํารวจ จะทําการบันทึกขอมูลของรองรอยที่มี อายุนอยกวา 2 สัปดาหเทานัน้ เพราะถือวาเปนรอยใหม ƒ รอยละของชวง 50 เมตร เปนดัชนีสะทอนความชุกชุมของสัตวปา

50 เมตร

400 เมตร 4

รายละเอียดของเสนสํารวจโดยรองรอย วัน/ เดือน/ ป 2549 26 ก.พ.- 10 มี.ค. 16-29 มิถุนายน 26 ก.พ.- 10 มี.ค. 2551 12-16 มิถุนายน 14-20 มีนาคม 25-28 เมษายน

สถานที่ ปายาง คลองกุย หุบอินทนิล ปายาง คลองกุย หุบอินทนิล

จํานวนเสนสํารวจ 28 30 11 30 26 12

กลองดักถายภาพอัตโนมัติ ƒ ติดตั้งกลองดักถายภาพอัตโนมัติจํานวน 11 จุด โดยใชกลองทั้งหมดจํานวน 17 ตัว ในพื้นที่ ฟนฟูสัตวปาคลองกุย ตั้งอยูใ นตอนกลางของอุทยานแหงชาติกุยบุรี ƒ เลือกพื้นที่ติดกลองฯ ตามทางดานสัตว ริมหวย โดยอาศัยขอมูลจากการใชเสนสํารวจ รองรอยในเดือนมีนาคม 2551 ƒ ทําการติดตั้งกลองฯตั้งแตเดือนเมษยน – มิถุนายน พ.ศ. 2551 ƒ ไดภาพชางเพียงชนิดเดียว สวนเสือโครง หรือสัตวที่เปนเหยื่อชนิดอืน่ ๆไมไดภาพ

ภาพที่ 1 พื้นที่ศึกษา และพื้นที่ฟนฟูสัตวปา ในอุทยานแหงชาติกุยบุรี

พื้นที่ฟนฟูสัตว หุบ ปายาง คลองกุย

พื้นที่ศึกษา ตอน(เหนือ พื้นที่ศึกษา ตอนกลาง พื้นที่ศึกษา ตอนใต

5

30

ปายาง

25 20

2549 2551

15 10 5 0 เก เล ง ียง ผ า กว า ห ง มูโ ท น ห วัว มูฝ แด ูง งโ วัว ทน แด กร งฝ ะท ูง ิงโ กร ทน ะท ิงฝ ูง วัว บา น

รอยละของชวงสํา รวจที่มีรองรอย

ผลการศึกษาแนวโนมความชุกชุมของสัตวที่เปนเหยื่อ ระหวางป พ.ศ. 2549-2551

สรุปแนวโนมพื้นที่ปายาง ƒ เกง มีความชุกชุมลดลง ฝนอาจเปนปจจัยทีม่ ีผลตอการพบรองรอย เนื่องจากชวงเวลาใน การสํารวจมีฝนตกชุก ƒ หมูปา และกระทิง มีความชุกชุมเพิ่มขึ้น ƒ กระทิงฝูง มีการหากินเฉพาะในบริเวณที่เปนทุงหญา ƒ กวาง วัวแดง และเลียงผา ไมพบรองรอย คาดวามีความชุกชุมคอนขางต่ํา

6

2549 2551

เก เล ง ียง ผ า กว า หม ง ูโท น ห วัว มูฝ แด ูง ง วัว โทน แด กร งฝ ะท ูง ิงโ กร ทน ะท ิงฝ วัว ูง บา น

รอยละของชวงสํารวจที่มีรองรอย

คลองกุย

40 35 30 25 20 15 10 5 0

สรุปแนวโนมพื้นที่คลองกุย เกง หมูปา และกระทิง มีความชุกชุมเพิ่มขึน้ กวาง ในป 2551 ไมพบรองรอย เลียงผา พบรองรอยเฉพาะในบริเวณพื้นทีท่ ี่มีความลาดชัน สวนวัวแดงยังไมพบรองรอย

35 30 25 20 15 10 5 0

หุบอินทนิล 2549 2551

เก เล ง ียง ผ า กว า ห ง มูโ ท น ห วัว มูฝ แด ูง ง วัว โทน แด กร งฝ ะท ูง ิงโ กร ทน ะท ิงฝ วัว ูง บา น

รอยละของชวงสํารวจที่มีรองรอย

ƒ ƒ ƒ ƒ

7

สรุปแนวโนมพื้นที่หุบอินทนิล ƒ ƒ ƒ ƒ

หมูปามีความชุกชุมเพิ่มมากที่สุดในบรรดาสัตวกีบดวยกัน เกง และกวาง มีความชุกชุมเพิ่มขึ้นเล็กนอย สวนเลียงผา วัวแดง และกระทิง ไมพบรองรอย จากการสอบถามชาวบานปาหมาก ในอดีตก็ไมเคยพบวัวแดง และกระทิงในบริเวณนี้ เชนกัน

สรุปรวมแนวโนมของสัตวที่เปนเหยือ่ ทั้ง 3 พืน้ ที่ฟนฟู ชนิดสัตว

ปายาง

คลองกุย

หุบอินทนิล

เกง เลียงผา

ป 2551 ไมพบ

ไมพบ

กวาง

ป 2551 ไมพบ

ป 2551 ไมพบ

ป 2551ไมพบ

ไมพบ

หมูปา วัวแดง กระทิง

ไมพบ ไมพบ

8

งานดานการประชาสัมพันธ ที่ผานมาทางทีมงานประชาสัมพันธของโครงการฯ ไดดําเนินงานเผยแพรขอมูลเกี่ยวกับ การอนุรักษเสือโครง เพื่อสรางความรู ความเขาใจ และรวมกันอนุรักษ ไปยังหมูบาน 3 หมูบาน (ปา หมาก, ยานซื่อ และรวมไทย) ตามโรงเรียนมัธยม 3 แหง และรานคาบริเวณดานสิงขร 3 แหง

เผยแพรผลงานวิจัย กับชาวบาน หมูบานปาหมาก

เผยแพรขอมูลงานวิจัย ในหมูบานรวมไทย

9

เผยแพรขอมูล และรณรงคการเลิกคาเนื้อสัตวปาไปยังรานคาที่อยู รอบๆแนวเขตอุทยานฯ

เผยแพร โปสเตอร ไปยังโรงเรียน มัธยมที่อยูรอบแนวเขตอุทยานฯ เชน โรงเรียนในอ.สามรอยยอด อ.กุยบุรี และ ยางชุม

10

ภาพกิจกรรมการสํารวจสัตวปาในเขตฟนฟูฯ มีนาคม – พฤษภาคม 2551

ทําเสนสํารวจรองรอย บริเวณคลองกุย

หุบอินทนิล

ติดตั้งกลองดักถายภาพสัตวปา คลองกุย

11

คลองกุย

หุบอินทนิล

รอยตีนเสือโครง เพศเมีย บริเวณคลองกุย รอยตะกุยของเสือดาว บริเวณคลองกย

12

Related Documents

Progress Report 1
November 2019 12
Progress Report
July 2020 10
Progress Report
June 2020 11
Progress Report
July 2020 16

More Documents from "Jason Tillman"

May 2020 0
May 2020 0