ประ วัต ิของกาแฟ ในป ระเ ทศไท ย คำาว่า “กาแฟ” ในสมัยรัชกาลที่ 4 เรียกว่า “ข้าวแฟ” ยังไม่ได้เปลี่ยนเป็นกาแฟ เหมือนในปัจจุบัน ดังปรากฏอยู่ในหนังสือ สัพพะวัจนะภาษาไทย ของปาเลอกัว ฉบับ พิมพ์เมื่อ พ.ศ.2397 นอกจากนี้ยังปรากฏอีกว่าได้มีการปลูกกาแฟขึ้นในเมืองไทย แล้วปลุกแถวๆ จังหวัดสงขลา กล่าวกั นว่าเป็นกาแฟรสดี พอใช้และปลูกกันมากที เดียว มีบันทึกว่าประเทศไทยปลูกกาแฟมาตั้งแต่สมัยอยุธยาแล้ว เนื่องจากมีการ ติดต่อค้าขายกับชาวต่างชาติ แต่การดื่มนั้นเห็นจะไม่ค่อยนิยม เพราะรสชาติจะขม อาจจะคิดว่าเป็นยาเสียด้วยซำ้า คนไทยจึงไม่ค่อยคุ้นกับกาแฟ เพราะเหตุนี้เข้าใจว่า คนไทยมารู้จักกาแฟกันอย่างแพร่หลายก็สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ในปี พ .ศ.2367 ในรัช สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 3 ได้มีการนำาเมล็ดกาแฟมาทดล องปลูกในพระบรมมหาราชวังและแจกจ่ายให้เสนาบดีนำาไปปลูกต่อๆ กันด้วยถึงกับ พระราชประสงค์ให้ทำาสวนกาแฟขึ้น สวนกาแฟมีว่านี้อยู่ในบริเวณวัดราชประดิษฐ์ฯ การทำาสวนกาแฟในสมัยนั้นเป็นเครื่องวัดได้อย่างหนึ่งว่า ในสมัยรัชกาลที่ 3 เป็นช่วง ที่กาแฟแพร่หลายมากที่สุด ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 ก็ยังปรากฏว่ามีการทำา สวนกาแฟกันอยู่ และที่มีชื่อ กล่าวถึงในจดหมายเหตุของเซอร์จอห์น เบาว์ริง อัคราชทูตอังกฤษ ซึ่งเข้ามาเจรจา ทำาสนธิสัญญากับสยามเมื่อ พ.ศ. 2398 ความว่า เคยตามเสร็จไปเที่ยวสวนกาแฟของ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ ปรากฏว่ามีต้นกาแฟมากมาย ในการนี้รัชกาล ที่4 โปรดเกล้าฯให้เซอร์จอห์น เบาว์ริง เก็บไปเป็นตัวอย่างถึง 3 กระสอบเพื่อลอง เสวยนั้นแสดงว่าการปลูกกาแฟของไทยเคยพยายามทำา ให้เป็นลำ่า เป็นสันกันมาแล้ว แต่จะเป็นด้วยคนไทยในสมัยนั้นไม่นิยมดื่มกาแฟ หรือจะเป็นด้วยกาแฟพันธุ์ไม่ดีจึง ไม่ได้รับความนิยม ก็มิอาจทราบได้
มิสโคล ผูก้ ่อตั้งร้าน“Red Cross Tea Room” เรื่องทำา สวนกาแฟเห็นจะหยุดชะงักมานานจนเลิกกิจการไป ไม่มีใครคิดจะ ปลูกกันอีก แต่สำาหรับการดื่มกาแฟเห็นจะมีแพร่หลายมากขั้น ร้านกาแฟในกรุงเทพฯ เริ่มมีกั นมากขึ้นในสมัยไหนไม่พบหลักฐานแต่ ป รากฏว่าในปี พ.ศ. 2460 ระหว่าง สงครามโลกครั้งที่ 1 มิสโคลชาวอเมริกั นได้ ตั้ งร้านขายกาแฟชื่อ “Red Cross Tea Room” อยู่แถวถนนสี่กั๊กพระยาศรี โดยขายทุกวันพฤหัสบดี หน้าร้านปักธงกาชาด ปรากฏว่าว่ามีเจ้านายและข้าราชการตลอดจนชาวต่างประเทศพากันมาอุดหนุน ผล กำา ไรที่ได้จากการขายกาแฟมิสโคลได้ส่งไปบำา รุงกาชาดของสัมพันธมิต รจึงเป็นที่ เข้าใจว่าร้านกาแฟคงเริ่มมีมากขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 6 และที่ 7 นี้เอง ในประเทศไทยมี ก ารปลูก กาแฟอาราบิ ก้ า ปี พ .ศ. 2393 โดยครั้ ง แรกไปปลู ก ไว้ ที่ จั ง หวั ด จันทบุรี ซึ่งต่อมามีชื่อเรียกกันว่า “กาแฟจันทรบูร” ต่อมาในปี พ.ศ. 2500 กรมกสิก รรม(กรมวิชาการ เกษตรในปั จ จุ บั น ) ได้ สั่ ง เมล็ ด กาแฟอาราบิ ก้ า จำา นวน 4 พัน ธุ์ คื อ มุ นดู นูวู (Mundo Novo) เบอร์ บ อ ง (Bourbon)แ ค ทู ร่ า (Catura) แ ล ะ ทิ ป ปิก้า(Typica) จากประเทศบราซิล มาปลูกทดลองที่ สถานีทดลองพืชไร่แม่โจ้ สถานีทดลองพืชสวนฝาง จั งหวัด เชี ย งใหม่ และสถานี ท ดลองพื ช สวนดอย มู เ ซอ จั ง หวั ด ตาก แต่ ต้ น กาแฟส่ ว นใหญ่ ไ ม่ สามารถต้านทานต่อโรคราสนิทได้ จึงโทรมและตาย ต่อมาในปี พ.ศ. 2518 โครงการหลวงพัฒนาชาวเขาได้มีโครงการทำาการวิจัย กาแฟอาราบิก้ าเพื่อทดแทนการปลูก ฝิ่นของชาวไทยภู เ ขาในภาคเหนือ โดยทาง โครงการหลวงได้ สั่ง พั นธุ์ ก าแฟอาราบิ ก้ า ลูก ผสมที่ไ ด้ รั บการปรั บปรุง ให้ ส ามารถ ทนทานต่ อโรคราสนิทได้ โดยได้ รับความร่วมมือจากกองโรคพืชและชีววิทยากั บ สถาบันวิจัยพืชสวน กรมวิชาการเกษตร ดำาเนินการคัดเลือกสายพันธุ์ที่เหมาะสมกับ สภาพพื้นที่บนที่สูงทางภาคเหนือของประเทศไทย ประกอบกับมีการจัดตั้งโครงการ ปลูกพืชทดแทนและพัฒนาเศรษฐกิจของชาวไทยภูเขา เป็นโครงการร่วมระหว่างไทย และสหประชาชาติ เพื่อทดแทนการปลูกผิ่น ซึ่งการปลูกกาแฟอาราบิก้าเป็นพืชความ หวังใหม่ในขณะนั้น ระยะเวลาโครงการรวม 10 ปี โดยมีผู้เชี่ยวชาญจากสหรัฐอเมริกา เป็นผู้ให้คำาปรึกษาและแนะนำาพันธุ์กาแฟอาราบิก้าที่จะนำามาปลูกในไทย หลังจากนั้น
ในปี พ.ศ. 2526 กรมวิชาการเกษตรได้ส่งนักวิชาการไปประชุมเรื่องโรคราสนิมและ ได้นำา พันธุ์กาแฟใหม่ๆเข้ามาทดลองปลูกที่สถานีทดลองเกษตรหลวงขุนวาง และ ศูนย์วิจัยและส่งเสริมกาแฟอาราบิก้า บ้านแม่หลอด อำาเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ และในปีพ.ศ.2529-2532 ได้มีการจัดตั้งโครงการส่งเสริมการปลูกกาแฟอาราบิก้าภาค เหนือ ซึ่งกรมวิชาการเกษตร โดยสถาบันวิจัยพืชสวนได้ผลิตต้นกล้ากาแฟอาราบิก้า จำานวน 2,000,000 ต้น เพื่อแจกจ่ายให้แก่เกษตรกรในจังหวัดต่างๆในภาคเหนือ