1 สุขภาพดี ราคาอยูที่เทาไรกัน
(The price of being well) Highlight
ถึงเวลาแลวหรือยังสําหรับกระบวนทัศนใหมในเรื่องสุขภาพและการพัฒนา ? องคประชุมรุนใหญพรอมกับอุดมการณดานความเทาเทียมกัน อางวาไดพบคําตอบแลว
รายละเอียด “ความเปนธรรมทางสังคมเปนเรื่องคอขาดบาดตาย” (Social justice is a matter of life and death.) ดวยประการฉะนี้ จึงนํามาสูการเกริ่นนําของรายงานที่ยาว และชวน กระตุนใหขบคิด รายงานนี้ออกสูสาธารณะในวันที่ 28 สิงหาคม 2008 โดยการทํางาน ของกลุมผูรูที่มีประสบการณความเชี่ยวชาญนาประทับใจในเรื่องการพัฒนาและสุขภาพ กลุมผูรู รวมถึง อมาตยา เซน นักเศรษฐศาสตรชาวอินเดีย เจาของรางวัลโนเบล ซึ่งถูก ทาบทามโดยองคการอนามัยโลก ใหชวยดูชวยคิดในมุมมองที่กวางตอคําถามในเรื่อง ความไมเทาเทียมและสุขภาพ หลังจากการทํางานมานานกวาสองป องคประชุมไดออก ขอเรี ย กร องให มี เครื่ องมื อ ด ว ยการตั้ งชื่ ออั นลุม ลึ กที่ ว า “การปดช องว างในชั่ว อายุ คน หนึ่งรุน” (Closing the gap in a generation) แล ว ช องว า งที่ ว า นี้ มั นคื อ อะไรแน ช อ งว า งที่ ว า นั้ นก็ คื อ ชี วิ ตของชาวสลั ม ในกรุ งคา ราคัส โดยทั่วไปแลวมีชีวิตสั้นกวา เลวรายกวาและสาหัสสากรรจกวา คนรวยสักคนใน กรุ ง โคโลญจน ห รื อ ในนครชิ ค าโก ซึ่ ง ก็ ไ ม ได เ ป น เรื่ อ งที่ น า ประหลาดใจเท า ไรนั ก แต ทําไม พวกผูชายที่เกิดในเมือง แคลตัน ถิ่นที่ไมนาโสภาของกรุงกลาสโกว มีแนวโนมที่ จะเสียชีวิตมากกวาสองทศวรรษ เร็วขึ้นกวาผูชายที่อยูอาศัยในเมืองที่เต็มไปดวยหอพัก ในเมืองเลนซี ที่อยูหางกันไปแค สองสามไมล
2 ทําไมหญิงชาวเอเชียในอเมริกา โดยทั่วไปแลว มีอายุอยูจนถึง 87 ป ขณะที่อายุคาด เฉลี่ยของชายผิวสีอยูแคที่ 69 ป คําอธิบายตามคณะกรรมธิการวาดวยตัวชี้วัดทางสังคม ดานสุขภาพขององคการอนามัยโลก ก็คือวา มันไมไดเปนแคเพียงเรื่องของรายได และ ก็ไมใชเรื่องที่ถูดลดลงสูศักยภาพที่แตกตางระดับกันในเรื่องระบบสุขภาพ รายงานกลาววา นอกจากปจจัยที่วาเหลานั้นแลว ยังมีแรงผลักดานสังคม การเมืองและ เศรษฐกิ จ ที่ ไ ด แ สดงให เ ห็ น ว า มี ผ ลกระทบเพี ย งเล็ ก น อ ยเกี่ ย วกั บ สุ ข ภาพ แต สุ ด ท า ย ปจจัยเหล านั้นก็ยังมีอิทธิพลชี้ใหเห็นว า “ไมวา เด็กสักคนสามารถโตขึ้นและพัฒนาได อยางเต็มศักยภาพและดําเนินชีวิตอยางงอกงาม หรือชีวิตของเด็กจะโดนทําลาย” เพื่อที่จะลดความเสี่ยงอยางหลัง ผูเชี่ยวชาญได ใ ส ชื่ อ สิ่ ง ที่ ป ร า ร ถ น า ไ ว ย า ว เ ป น ห า ง ว า ว ผูเชี่ยวชาญเรียกรอง ใหรัฐบาลปรับปรุง คุณภาพ ชีวิตประจําวัน โดยเฉพาะอยางยิ่งเพื่อผูหญิงและ เด็กผูหญิงในประเทศยากจน ผานการลงทุนดาน การดู แ ลเด็ ก และการศึ กษา และโดยการยื น ยั น ใหมีเงื่อนไขทางการทํางานที่ดีขึ้น พวกผูเชี่ยวชาญยังเนนถึงความจํา เปนที่ จะตอง “รบรากั บ การกระจายที่ ไ ม เ ท า เที ย มกั น ของ อํานาจ เงินตรา และทรัพยากร” โดยผานทาง ธรรมาภิบาล การสนับสนุนภาคประชาสังคม และ นโยบายทางเศรษฐกิจที่เทาเทียมกันใหมากขึ้น สวนสุดท ายในขอเสนอของเหลา ผูเชี่ยวชาญที่ จะทําใหโลกนี้เปนสถานที่ที่ยุติธรรมมากขึ้นและ อยูเย็นเปนสุขมากขึ้นคือความโปรงใส และการ วั ด ความก า วหน า ที่ ดี ก ว า เดิ ม ในการจั ด การกั บ ความไม เ ที ย มกั น ในสุ ข ภาพ ท า นเซอร ไ มเคิ ล มารม็อต ศาสตราจารยแหงมหาวิทยาลัยวิทยาลัยลอนดอน ผูทําหนาที่เปนประธานองค ประชุม (Sir Michael Marmot, a professor at University College London) กลาว อางวา คําประกาศนี้เปนกระบวนทัศนใหมเพื่อการพัฒนา เมื่ออานรายงานฉบับนี้แลว แนนอนวา, พูดอยางเกรงอกเกรงใจก็คือ, ความคิดที่จะทํา ใหความไมเทาเทียมกันทางสุขภาพหมดไปในชั่วอายุคนหนึ่งรุนเปนเรื่องทะเยอทะยาน แตมันกอใหเกิดอะไรอีกบาง มากไปกวาการแสดงออกถึงความจริงใจแตยากที่จะทําให เกิดขึ้นไดจริงของความหวังที่ควรคา อยางนอยในการอานครั้งแรก มีหลายเหตุผลที่ดีที่ควรฟงอยางชั่งน้ําหนัก อยางแรกคือ ผูเขียนพูดเกินจริงในเรื่องความคิดริเริ่มในรายงานเปนความคิดของพวกเขา ที่จริงแลว ไมไดเปนกระบวนทัศนใหมลวน ๆ ขอสอง โดยการเนนวา “ตัวชี้วัดทางสังคม” (Social determinants) ของสุขภาพ ผูเขี ยนอาจมองไปไกลเกิ นไป เปนเรื่องสุดโตง และ ประเมินคาการเชื่อมโยงระหวา ง สุขภาพและรายไดที่มีอยูแลวอยางชัดแจงเห็นจริงไวต่ําเกินไป
3 และขอสุดทาย ก็คือ การดาทอวา การกระจายอํานาจและเงินตรา อาจชวยใครก็ตามที่ เผชิญหนาการตัดสินใจทางในทางปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดวางทรัพยากรทางการแพทยที่ หาไดนอยไมไดมากนัก แตสําหรับใครที่อยากมองขามความคิดเห็นเชิงอุดมการณของรายงานฉบับนี้ ก็มีหลาย สิ่งหลายอยางในรายงานที่ควรคาแกการนําไปขบคิดอยางจริงจัง คุณรูธ เลอวายน แหง ศูนยพัฒนาระดับโลก ซึ่งเปนองคกรธิงคแทงคของอเมริกันองคกรหนึ่ง Centre for Global Development อธิบายวาการประกาศนี้ไมสมบูรณแบบแตก็ยังเต็มไปดวย ประโยชน คุณรูธ กลาววา ในดานหนึ่งรายงานฉบับนี้ยังบกพรองในการนําเสนอการจัดอันดับขอที่ น า จั ด การซั ก ฟอกให ชั ด เจนในเรื่ อ งเป า หมายที่ ส มควรยกย อ งหรื อ สมควรตํ า หนิ แต รายงานแสดงใหเห็นขอคิดที่มีคุณคา โดยการกระตุนการคนพบอีกครั้งของความคิดเห็น ที่เกิดขึ้นกอนหนาแลวในเรื่องสุขภาพในระดับโลก ซึ่งเกิดขึ้นบอยครั้งกอนป 2000 และ นั่นก็เปนปที่ องคประชุมนี้ขององคการอนามัยโลกไดรับแรงบันดาลใจ โดยการเขารวม โดยคุณเจฟฟรี่ย ซาคส แหงมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย (Jeffrey Sachs of Columbia University) โดยไดวางขอเนนย้ําที่ชวนถกเถียงในทางที่สุขภาพที่ไมดีนําไปสูฐานะทาง เศรษฐกิจที่แย ทั้งระดับปจเจกและระดับชาติ คุณรูธ กลาววา ตามรายงานลาสุดนี้ “เราสามารถเห็นลูกตุมกําลังแกวงกลับมา” ในอีก นัยหนึ่งก็คือ มีจุดเนนที่ถูกชุบขึ้นมาใหมในเรื่องวิถีที่ความยากจนและความไมเทาเทียม กันนําไปสูสุขภาพที่แยกวา ดร. จูลิโอ เฟรงค อดีตรัฐมนตรี สุขภาพของเม็กซิโก ผูซึ่ง กําลังทํางานอยูกับกองทุนเกตสในปจจุบัน กลาววา รายงานฉบับใหมนี้เสนอทางออก จาก “การโตวาทีที่ไรประโยชน” เกี่ยวกับเรื่องที่วาสุขภาพย่ําแยเปนสาเหตุของความ ยากจนหรือวาความยากจนเปนสาเหตุของสุขภาพย่ําแยกันแน แลวความบกพรองที่เปนไปไดอันอื่นในรายงานฉบับนี้ละ มีการกลบเกลื่อนการเชื่อมโยง ระหวางรายได (เมื่ออยูตรงขามกับความไมเทาเทียม) และสุขภาพหรือเปลา คุณเอดัม แว็กสตาฟ นักเศรษฐศาสตรประจําธนาคารโลก กลาววา เขายังคงเชื่อวารายได “เปน เรื่องไมนากังวล” เมื่อพูดถึงเรื่องสุขภาพ ดังนั้น เมื่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเร็วขึ้น มีความเป นไปไดที่จะก อใหเกิดประโยชน ตอสุข ภาพในสังคมโดยรวม แมวาความเท า เทียมทางรายไดยังคงมีอยู ตัวอยางหนึ่งที่มีผลในทางดีของการเงิน อางอิงขอมูลจาก แอฟริกาใต ที่ซึ่งสุขภาพของผูสูงอายุปรับปรุงดีขึ้นหลังพวกเขาเริ่มไดรับเงินเลี้ยงชีพ เมื่อตอนอายุ 65 ป อยางไรก็ตามแต คุณแอดัม ก็ใหเครดิต กับผูเขียนรายงานฉบับนี้ ในการเอื้อเฟอความ แตกต า งเล็ ก น อ ยในการโต เ ถี ย งเรื่ อ งสุ ข ภาพระดั บ โลก ผู เ ขี ย นไม ไ ด ทิ้ ง บทบาทของ ความเจริญ โดยพวกเขาอรรถาธิบายวา “มันสําคัญโดยไมมีขอสงสัย” อยางไรก็ดี ผูเขีย นก็ กลาววาความเจริญมันสามารถนําไปสูความไม เทา เที ยกั นที่ ถา งกวางมากขึ้ น นอกเสียจากวา มีบรรดานโยบายที่ถูกออกแบบมาอยางเฉพาะเจาะจงเพื่อปรับปรุงการ สาธารณสุข ประเด็นอันหนึ่งที่ผุดขึ้นมาจากรายงาน ที่ไดกลายมาเปนหัวขอวิจัยตลอดชั่วอายุ ที่ถูก นําเสนอโดยประธานขององคประชุม ทานเซอรไมเคิล โตวา แมในสังคมร่ํารวย ผูคนได มีสุข ภาพดี ขึ้น เมื่อพวกเขาไต ระดับ ทางสังคมในหลาย ๆ ทางที่ ไม สามารถอธิบายได ดวยความมั่งคั่งเพียงอยางเดียว ดวยสาเหตุนี้ จึงเปนความสนใจของเขาและเปนจุดเนน ของรายงาน ในเรื่อง “ตัวชี้วัดทางสังคม” ของสุขภาพ ที่ไมเกี่ยวกับเรื่องเงิน ๆ ทอง ๆ (Non-monetary)
4 ตั ว อย า งอั น หนึ่ ง ก็ คื อ ความมั่ น คงทางการงาน และความเครี ย ดที่ เ ป น ผลมาจากการ ทํางาน มีการเชื่อมโยงที่พิสูจนแลวกับสุขภาพจิต (โปรดดูตารางภาพดานลางประกอบ) และก็ เ ป น เช น เดี ย วกั บ ภู มิ คุ ม กั น ของเด็ ก ๆ แม ว า ประเทศที่ มี ก ารเข า ถึ ง วั ค ซี น ฟรี แ ละ ครอบคลุมก็ตาม รายงานนี้แจงรายชื่อการปฏิรูปมากมาย เริ่มตั้งแตการขยายเครือขาย ความปลอดภัยทางสังคม (Extension of social safety-nets) ในเรื่องการศึกษาของ เด็กผูหญิง และขอมูลสาธารณะที่ดีกวาเดิมในเรื่องโภชนาการซึ่งอาจยกระดับโอกาสใน เรื่องสุขภาพที่ดีกวาเดิม
โ ค ร ง ส ร า ง ก า ร ใ ห บ ริ ก า ร ท า ง สุ ข ภ า พ ใ น แ ต ล ะ ป ร ะ เ ท ศ เ ป น เ รื่ อ ง สํ า คั ญ ด ว ย คณะกรรมาธิ ก าร ฯ ชี้ ว า สั ง คมที่ มี ก ารให บ ริ ก ารทางการแพทย ที่ ค รอบคลุ ม ทุ ก โรค (Universal medical coverage) มีสุขภาพดีกวาหลาย ๆ แหงที่มีความมั่งคั่งเมื่อ เปรียบเทียบกันแลวและเลือกแนววิธิการที่แตกตางออกไป ยกตัวอยางเชน ประชากร ของประเทศคอสตาริกา ไดเปรียบกวาชาวอเมริกันทั้งหลายที่ไมไดประกันตน แตทวาผูคนจะมีสุขภาพดีหรือปวยก็ยังขึ้นอยูกับปจจัยและนโยบายอีกหลายอยางที่อยู ไกลจากสิ่งที่ไดวางไวของรัฐมนตรีกระทรวงสุขภาพมากนัก ยกตัวอยางเชน กระทรวง สุขภาพอาจพยายามชวนใหชาวบานลางมือกอนเตรียมอาหาร แตนั่นไมนาจะเกิดขึ้นได นอกเสียจากวา พวกเขาจะมีน้ําใช ซึ่งเปนเรื่องที่กระทรวงไมสามารถควบคุมได รายงานฉบับนี้อาจถูกเมื่อดูที่ขอบขายกวาง ๆ เต็มที่ในแงของสาเหตุ ความกวาง และ ทางแคบที่ชี้วัดการพิจารณาสภาพทางกายภาพของผูคน แตมันก็เหมือนกับวา ในหลาย ๆ ครั้ง มันเปนการวาดวิมาน เมื่อมันเขาจัดการกับความไมสมดุลยในระดับโลกทางดาน การกระจายอํ านาจและการเงิน โดยเฉพาะอย างยิ่ ง เมื่ อคุ ณ เรี ย กความจํ าในเรื่ องที่ ว า รัฐมนตรีกระทรวงสุขภาพทั้งหลายเปนตําแหนงที่ไมมีอํานาจในคณะรัฐมนตรี พวกเขาไม สามามรถหวังที่จะเปลี่ยนแปลงทุกอยางได เรื่องจูจี้อีกอันหนึ่ง ทามกลางการพินิจรายงานฉบับนี้ในเรื่องสาเหตุทางสังคมของปญหา ทางสุขภาพ แลวทางเลือกในระดับปจเจกละ คนโลภโมโทสัน ก็ไมอาจวารายสังคมที่ โหดราย หรือ นโยบายการคาเสรี ในสถานการณอันยากลําบากของเขาไดอยางเต็มที่ กระนั้น รายงานกลา วนอ ยเกิ น ไปในเรื่ อ งที่ เกี่ ย วกั บ ความรั บ ผิ ด ชอบของผู ค นที่ จะดู แ ล ตนเอง
5 ดร. จูลิโอ เฟรงค ก็ยังเปนคนหนึ่งที่เชื่อวา มันเปนไปไดที่จะตอบรับรายงานฉบับนี้โดย ปราศจากการกํ า กั บ ให มี รั ฐ พี่ เลี้ ย งดู แ ล ดร. จู ลิโ อ จํ า ได ว า ในฐานะรั ฐ มนตรี ก ระทรวง สุขภาพของเม็กซิโก เขาทําการโตแยงอยางประสบความสําเร็จมาแลวในเรื่องการขึ้น ภาษีบุหรี่ทุกชนิด ที่สูบโดยคนยากจน และในระยะยาวก็เปนการชวยพวกเขา ตามที่เขา มอง ภาษีดังกลาว ไมจําเปนตองสื่อนัยในการปฏิเสธทางเลือก กลาวคือ พวกสูบจัดตาย ช า ก็ ยั ง สามารถสู บ ต อ ไปได เ รื่ อ ย ๆ แต พ วกเขาต อ งจ า ยในราคาที่ ส ะท อ นต น ทุ น ต อ สังคมของนิสัยนักสูบ บางคนอาจพูดเลนสํานวนโวหารดวยวาทะทางเศรษศาสตร แต ดร. จูลิโอ บอกเปนนัย วา มันจะเปนเรื่องนาเสียดายหากวา ความคิดที่มีเหตุผลกวาในรายงานฉบับนี้ ถูกทําให คลุมเครือโดยความมุงมาดปรารถนาที่เต็มไปดวยอุดมการณของผูเขียน ในการที่จะทํา ใหความเทาเทียมกันทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมสมบูรณแบบประสบความสําเร็จ ไดจริง แหลงที่มา http://www.economist.com/world/international/displaystory.cfm?story_id=12 009974