Perceive Dhf

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Perceive Dhf as PDF for free.

More details

  • Words: 15,105
  • Pages: 153
การรับรูสารสนเทศโรคไขเลือดออก ของประชาชนในอําภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด

นายเจริญ นิลสุ

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร สาขาวิชาศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2549 ISBN 974-545-963-1

Perceived Information of Selaphum District Residents About Dengue Hemorrhagic Fever

Mr. Charoen Nilsu

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Master of Arts in Information Science School of Liberal Arts Sukhothai Thammathirat Open University 2006 ISBN 974-545-963-1

หัวขอวิทยานิพนธ การรับรูสารสนเทศโรคไขเลือดออกของประชาชนในอําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด ชื่อและนามสกุล นายเจริญ นิลสุ แขนงวิชา สารสนเทศศาสตร สาขาวิชา ศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อาจารยที่ปรึกษา 1. รองศาสตราจารย ดร.สมพร พุทธาพิทักษผล 2. รองศาสตราจารย มาลี ล้ําสกุล 3. ผูชวยศาสตราจารย ดร.พัชราพร เกิดมงคล คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธไดใหความเห็นชอบวิทยานิพนธฉบับนีแ้ ลว ประธานกรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุปรียา ตันสกุล) กรรมการ (รองศาสตราจารย ดร.สมพร พุทธาพิทักษผล) กรรมการ (รองศาสตราจารย มาลี ล้ําสกุล) กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.พัชราพร เกิดมงคล) คณะกรรมการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อนุมัติใหรับวิทยานิพนธ ฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชา สารสนเทศศาสตร สาขาวิชาศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประธานกรรมการบัณฑิตศึกษา (รองศาสตราจารย ดร.สิริวรรณ ศรีพหล) วันที่ เดือน พ.ศ.

ง ชื่อวิทยานิพนธ การรับรูสารสนเทศโรคไขเลือดออกของประชาชนในอําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด ผูวิจัย นายเจริญ นิลสุ ปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สารสนเทศศาสตร) อาจารยที่ปรึกษา (1) รองศาสตราจารย ดร.สมพร พุทธาพิทักษผล (2) รองศาสตราจารย มาลี ล้ําสกุล (3) ผูชวยศาสตราจารย ดร.พัชราพร เกิดมงคล ปการศึกษา 2549 บทคัดยอ การวิจยั ครั้งนีม้ ีวัตถุประสงคเพื่อ (1) ศึกษาการรับรูสารสนเทศเกี่ยวกับโรค ไขเลือดออกของประชาชน ดานอาการและความรุนแรงของโรค ปจจัยเสี่ยงตอการเกิดโรค และ การปองกันโรค (2) ศึกษาแหลงสารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกของประชาชนในอําเภอ เสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด การวิจยั นี้เปนการวิจยั เชิงคุณภาพ ใชวิธีการเก็บขอมูลโดยการสัมภาษณเจาหนาที่ สถานีอนามัย (จนท.สอ.) แบบเจาะลึกรายบุคคล จํานวน 3 คน การสัมภาษณกลุมแบบโฟกัสใน กลุมผูรวมวิจยั ที่ไดจากการคัดเลือกโดยวิธีเจาะจงจากประชาชนที่อาศัยในเขตอําเภอเสลภูมิ จังหวัด รอยเอ็ด จํานวน 3 หมูบาน จําแนกเปนหมูบ านเสี่ยงสูง เสี่ยงปานกลาง และเสี่ยงต่ํา หมูบานละ 8-9 คน รวม 26 คน การศึกษาเอกสาร และการสํารวจหมูบานเพื่อจัดทําแผนที่แสดงการกระจายตัวของ แหลงสารสนเทศ จากนั้นทําการวิเคราะหขอ มูลโดยวิธีการวิเคราะหเนื้อหา และจัดกลุม เนื้อหาที่ได จากการสัมภาษณ ผลการวิจัยที่สาํ คัญพบวา ผูรวมวิจัยทุกหมูบ านมีการรับรูเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกวา เปนโรคที่มีอาการรุนแรงจนถึงขั้นทําใหเสียชีวิตได ปจจัยเสี่ยงตอการเกิดโรคมากทีส่ ุด คือ การที่ เด็กถูกยุงลายกัดตอนนั่งดูโทรทัศนภายในบานเรือนของตนเอง การปองกันโรคมีหลายวิธีและมี ความสําคัญแตกตางกัน วิธที ี่ผูรวมวิจยั เห็นวาสําคัญที่สุดคือ การเปลี่ยนน้ําในโองน้ําหรืออาง อาบน้ําในหองน้ํา เมื่อพิจารณาแผนทีก่ ารกระจายสารสนเทศในหมูบา น พบวา ผูรวมวิจัยให ความสําคัญแหลงสารสนเทศมากที่สุด 3 แหลง คือ จนท.สอ. อสม. และแผนพับ ผูร วมวิจยั มีความ ตองการแสวงหาสารสนเทศจาก จนท.สอ. มากที่สุด และผูรวมวิจัยทั้งสามหมูบานมีการรับรูที่ แตกตางกันในเรื่องของอาการและความรุนแรงของโรค ปจจัยเสีย่ งที่ทําใหเกิดโรค การปองกันโรค แหลงสารสนเทศ และการกระจายสารสนเทศในหมูบาน คําสําคัญ การรับรูสารสนเทศโรคไขเลือดออก แหลงสารสนเทศ โรคไขเลือดออก

จ Thesis title:

Perceived Information of Selaphum District Residents About Dengue Hemorrhagic Fever Researcher: Mr. Charoen Nilsu; Degree: Master of Arts (Information Science); Thesis advisors: (1) Dr. Somporn Puttpithakporn, Associate Professor; (2) Malee Lumsakul, Associate Professor; (3) Dr. Patcharaporn Kerdmongkol, Assistant Professor; Academic year: 2006

ABSTRACT The purpose of this research was to study 1) the information perception of people about the dengue hemorrhagic fever regarding its symptoms and severity, risk factors, and the disease prevention; and 2) information resources about the dengue hemorrhagic fever of the people in Selaphum district, Roi-et province. The data collection methods of this qualitative study were the in-depth interviews with 3 public health personnel and the focus-group discussion among 26 people selected purposively from 3 small-, medium- and high-risk villages. In addition, related literature was reviewed and the three villages’ information dissemination channels were surveyed. All the interview scripts were analyzed using the content analysis technique. Results found that the participants from all the villages perceived the dengue hemorrhagic fever as a fatal disease. The most important perceived risk factor was children being bit by mosquitoes while they were watching television in their own houses. A host of methods could be used to prevent the disease and the most important was changing water in jars or water tanks regularly. Together with the information dissemination maps, the participants ranked highly three information sources: public health personnel, village health volunteers and leaflets. They expressed the highest interest in getting information from public health personnel. There are differences in perceived information of the participants in the three villages in all areas: symptoms, severity, risk factors, disease prevention, information sources and information dissemination.

Keywords : information perception, information sources Dengue hemorrhagic fever



กิตติกรรมประกาศ

การทําวิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไดดว ยความกรุณาเปนอยางยิ่งจาก รองศาสตราจารย ดร. สมพร พุทธาพิทักษผล อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก รองศาสตราจารย มาลี ล้ําสกุล และ ผูชวยศาสตราจารย ดร.พัชราพร เกิดมงคล อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม ที่ ไดกรุณาใหคําแนะนําและติดตามการทําวิทยานิพนธครั้งนี้อยางใกลชิดมาตลอด จนกระทั่งเสร็จ เรียบรอยสมบรูณ ผูวิจยั รูสึกซาบซึ้งในความกรุณาของทุกทานเปนอยางยิ่ง ขอขอบพระคุณมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ที่ใหการสนับสนุนดานเงินทุน สําหรับการวิจยั ประจําภาคการศึกษาที่ 2/2526 จนกระทั่งการวิจยั สําเร็จลุลวงดวยดี ขอขอบพระคุณ นายวิทยา โคตรทาน นักวิชาการสาธารณสุข ระดับ 7 สํานักงาน สาธารณสุขจังหวัดรอยเอ็ด ที่ใหความอนุเคราะหทําหนาที่เปนผูดําเนินการรายการ (Moderator) ใน การเก็บขอมูลโดยการสัมภาษณกลุมแบบโฟกัส จนสําเร็จลุลวงดวยดี ขอขอบพระคุณคณาจารยแขนงวิชาสารสนเทศศาสตร สาขาศิลปศาสตร มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช เพื่อนนักศึกษา และผูม ีสวนเกีย่ วของในการทําวิทยานิพนธครั้งนี้ทุกทาน ที่ ไดกรุณาใหการสนับสนุน ชวยเหลือ และใหกําลังใจตลอดมา นอกจากนี้ผูวจิ ัยขอขอบพระคุณความรักและกําลังใจทีส่ ําคัญยิ่งจาก คุณแมลําใย นิลสุ และกําลังใจจากคนใกลชิดทีด่ ูแลหวงใยกันตลอดมาจากครอบครัว “บานอุนไอรัก”

เจริญ นิลสุ ธันวาคม 2549

สารบัญ

บทคัดยอภาษาไทย บทคัดยอภาษาอังกฤษ กิตติกรรมประกาศ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของปญหา วัตถุประสงคของการวิจยั กรอบแนวคิดการวิจยั ขอบเขตการวิจัย นิยามศัพท ประโยชนของการวิจยั บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ ความรูเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก การดําเนินการปองกันโรคไขเลือดออกในอําเภอเสลภูมิ ทฤษฎีที่ใชในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ งานวิจยั ที่เกีย่ วของ บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย ระเบียบวิธีวิจยั ประชากรและกลุมตัวอยาง เครื่องมือที่ใชในการวิจัย การดําเนินการวิจัย การวิเคราะหขอ มูล บทที่ 4 ผลการวิจัย บริบทหมูบาน

หนา ง จ ฉ ฌ ญ 1 1 4 4 6 6 9 10 10 18 23 28 37 37 39 41 42 46 48 49



สารบัญ (ตอ)

ลักษณะของผูรวมวิจยั การรับรูสารสนเทศเกีย่ วกับโรคไขเลือดออก แหลงสารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล ขอเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ก แบบฟอรมเก็บขอมูลผูรวมวิจัยและกรอบคําถามการทํากลุมแบบโฟกัส ข แบบสัมภาษณแบบเจาะลึกรายบุคคล ค แบบฟอรมวิเคราะหเนื้อหาจากการทํากลุม แบบโฟกัส ง ตัวอยางการสัมภาษณกลุมแบบโฟกัส จ ตัวอยางการสัมภาษณแบบเจาะลึกรายบุคคล ประวัติผูวจิ ัย

หนา 50 52 73 93 93 98 105 110 115 116 119 121 123 134 140



สารบัญตาราง

ตารางที่ 3.1 การออกแบบกลุมแบบ Multiple-Category Design เพื่อสัมภาษณกลุมแบบโฟกัส ตารางที่ 4.1 ลักษณะของผูรวมวิจยั แยกรายหมูบาน ตารางที่ 4.2 สรุปการรับรูอาการความรุนแรงของโรคไขเลือดออก ตารางที่ 4.3 สรุปการรับรูปจจัยเสีย่ งตอการปวยเปนโรคไขเลือดออก ตารางที่ 4.4 รอยละความถีข่ องคําที่กลาวถึงการรับรูการปองกันโรคไขเลือดออก จําแนกมาตรการและรายหมูบ าน ตารางที่ 4.5 สรุปผลการรับรูการปองกันโรคไขเลือดออก ตารางที่ 4.6 แหลงสารสนเทศของประชาชนจําแนกประเภทและรายหมูบาน

หนา 40 51 55 60 64 70 74



สารบัญภาพ

ภาพที่ 1.1 กรอบแนวคิดในการวิจัย ภาพที่ 2.1 แผนภูมิผูปว ยโรคไขเลือดออก อําเภอเสลภูมิ พ.ศ. 2541- 2546 ภาพที่ 2.2 แผนภูมิผูปว ยโรคไขเลือดออก อําเภอเสลภูมิ พ.ศ. 2546 เปรียบเทียบกับคามัธยฐานยอนหลัง 5 ป ภาพที่ 2.3 องคประกอบของแบบจําลองความเชื่อดานสุขภาพ ภาพที่ 3.1 แผนภูมิความสัมพันธระหวางขั้นตอนและผลลัพธการวิจัย ภาพที่ 4.1 แผนที่แสดงทีต่ ั้งของหมูบานที่ทําการสัมภาษณกลุมแบบโฟกัส ภาพที่ 4.2 แผนภูมกิ ารรับรูปจจัยเสี่ยงตอการปวยดวยโรคไขเลือดออก ภาพที่ 4.3 แผนภูมแิ สดงรอยละความสําคัญของแหลงสารสนเทศในหมูบานเสีย่ งต่ํา ภาพที่ 4.4 แผนภูมแิ สดงรอยละความสําคัญของแหลงสารสนเทศในหมูบานเสีย่ งปานกลาง ภาพที่ 4.5 แผนภูมแิ สดงรอยละความสําคัญของแหลงสารสนเทศในหมูบานเสีย่ งสูง ภาพที่ 4.6 ชองทางการกระจายสารสนเทศในหมูบานเสี่ยงต่ํา ภาพที่ 4.7 ชองทางการกระจายสารสนเทศในหมูบานเสี่ยงปานกลาง ภาพที่ 4.8 ชองทางการกระจายสารสนเทศในหมูบานเสียงสูง ภาพที่ 4.9 แผนภูมิความสัมพันธระหวางแหลงสารสนเทศของประชาชนในหมูบา น

หนา 5 21 22 25 45 50 63 76 76 77 80 82 83 91

บทที่ 1

บทนํา 1. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา โรคไขเลือดออกเปนโรคติดตอที่เปนปญหาดานสาธารณสุขมานานกวา 40 ป พบ ผูปวยโรคไขเลือดออกครั้งแรกใน พ.ศ. 2501ที่กรุงเทพมหานคร และในระยะเวลา 5 ปตอมามี รายงานผูปวยโรคไขเลือดออกทุกป และไดแพรกระจายไปตามจังหวัดตาง ๆ โดยเฉพาะที่เปน หัวเมืองใหญมปี ระชากรหนาแนนและการคมนาคมสะดวก การแพรกระจายเปนไปอยางรวดเร็ว จนในปจจุบันมีรายงานผูปวยดวยโรคนี้จากทุกจังหวัดของประเทศไทย ตั้งแต พ.ศ. 2541 – พ.ศ. 2545 ไดเกิดการระบาดของโรคไขเลือดออกอยางรุนแรง 2 ครั้ง คือ ใน พ.ศ. 2541 และ พ.ศ. 2544 โดยใน พ.ศ. 2541 มีจํานวนผูปวย 129,954 ราย อัตราปวย 211.42 ตอประชากรแสนคน เสียชีวิต 424 ราย ใน พ.ศ. 2544 มีจํานวนผูปว ย 139,732 ราย อัตราปวย 225.82 ตอประชากรแสนคน เสียชีวิต 244 ราย (สีวิกา แสงธาราทิพย 2545: 1-2) และใน พ.ศ. 2545 มีจํานวนผูปวย 93,131 ราย อัตราปวย 150.45 ตอประชากรแสนคน มีผูเสียชีวิต 139 ราย (สํานักระบาดวิทยา 2545: 421) และ ในพื้นที่ของอําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด พบการระบาดของโรคไขเลือดออกเชนเดียวกันคือ ใน พ.ศ. 2541 มีผูปวย 217 ราย หลังจากนัน้ ไดลดลงเหลือ 45 ราย และ 27 ราย ใน พ.ศ. 2542 และ พ.ศ. 2543 ตามลําดับ และไดเพิ่มสูงขึ้นเปน 61 รายใน พ.ศ. 2544 และเปน 235 ราย ใน พ.ศ. 2545 อัตราปวย 191.81 ตอประชากรแสนคน ซึง่ สูงกวาอัตราปวยระดับประเทศในปเดียวกันแตไมมี ผูปวยเสียชีวิต (ศูนยควบคุมโรคอําเภอเสลภูมิ 2546: 3) ในดานความสูญเสียทางเศรษฐกิจมีการ วิเคราะหตนทุนในการรักษาโรคไขเลือดออกในโรงพยาบาลเด็ก พบวา ตนทุนรวมโดยเฉลี่ยในการ ใหการรักษาผูปวย 1 รายเทากับ 3,367.49 บาท และมีการประมาณตนทุนในการรักษาตั้งแต พ.ศ. 2538 – พ.ศ. 2540 เทากับ 45,521,956.64 บาท 127,934,324.90 บาท และ 74,844,599.60 บาท ตามลําดับ (เพ็ญศรี สุโรจน 2537: บทคัดยอ) โรคไขเลือดออกที่พบในประเทศไทยเกิดจากไวรัสเดงกี่ ชื่อ Dengue Haemorrhagic Fever (DHF) โดยมียุงลายบาน (Aedes aegypti) เปนพาหะนําโรคที่สําคัญ ยุงตัวเมียจะกัดและดูด เลือดผูปวยในระยะไขสูงซึ่งเปนระยะที่มีไวรัสอยูในกระแสเลือด เชื้อไวรัสจะเขาสูกระเพาะยุงไป ฟกตัวอยูในเซลลที่ผนังกระเพาะและเพิ่มจํานวนมากขึ้น แลวออกจากเซลลผนังกระเพาะเขาสูตอม น้ําลายของยุงที่จะเขาสูคนทีถ่ ูกกัดในครั้งตอไป เมื่อยุงตัวนี้ไปกัดคนอืน่ อีกก็จะปลอยเชื้อไวรัสไป

2 ยังผูถูกกัด และเมื่อเชื้อเขาสูร างกายคนและผานระยะฟกตัวนานประมาณ 5 –8 วัน ก็จะทําใหปว ย เปนโรคไขเลือดออกได (สุจิตรา นิมมานนิตย 2545: 8) ปจจัยเสีย่ งในการเกิดโรคไขเลือดออก ไดแก คน ตัวเชื้อโรค ไดแก ไวรัสเดงกี่ และพาหะนําโรคคือ ยุงลายบาน โดยถาปริมาณเพียงพอ ถึงแมจะมีจํานวนไมมากก็จะทําใหระบาดได การปองกันและควบคุมไขเลือดออกจึงมีมาตรการ หลักเนนไปทีก่ ารควบคุมยุงลายที่เปนพาหะนําโรค หรือตัวตนเหตุของการเกิดโรค (สาลินี เซ็น เสถียร 2545:123) โดยใชวิธกี ารใหประชาชนมีสวนรวมในการดําเนินการ ซึ่งมีรูปแบบตาง ๆ คือ 1) การรณรงคโดยการระดมความรวมมือของผูนําชุมชน นักเรียน กลุมกิจกรรม และประชาชนเพื่อ กําจัดแหลงเพาะพันธุยุงลายในชุมชนเปนครั้งคราว หรือในเทศกาลตาง ๆ 2) การรวมมือกับ โรงเรียนในการสอนนักเรียนใหมีความรูเรือ่ งการควบคุมยุงลาย และมอบหมายกิจกรรมใหนักเรียน กําจัดแหลงเพาะพันธุยุงลายทั้งที่บานและที่โรงเรียน ซึ่งโรงเรียนบางแหงมีการดําเนินการ สม่ําเสมอตลอดป และบางแหงดําเนินการเปนครั้งคราวรวมกับการรณรงค และ 3) การจัดหาทราย กําจัดลูกน้ํามาจําหนายในกองทุนพัฒนาหมูบานในราคาถูก บางแหงอาจจัดอาสาสมัครสาธารณสุข ประจําหมูบาน (อสม.) ไปสํารวจแหลงเพาะพันธุย ุงลายตามบานเรือนและใสทรายกําจัดลูกน้ําให เปนประจําโดยคิดคาบริการในราคาถูกหรือไมคิดคาบริการ อําเภอเสลภูมิ ซึ่งตั้งอยูในจังหวัดรอยเอ็ด ไดดําเนินการตามแนวทางดังกลาวขางตน โดยจัดทํา “โครงการ 4 ประสานตานภัยโรคไขเลือดออก” และเริ่มดําเนินการใน พ.ศ. 2546 โดยเนนการมีสวนรวมของหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ คือ องคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) สาธารณสุข โรงเรียน บาน และชุมชนในการดําเนินการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก โดย รวมกันกําหนดบทบาทและมอบภารกิจทีช่ ัดเจน เพื่อดําเนินการกระตุน ใหประชาชาชนเกิดความ รวมมือและดําเนินการควบคุมยุงลายที่เปนพาหะนําโรคดวยตนเอง จากการประเมินผลสัมฤทธิ์ โครงการจากรายงานผูปวยโรคไขเลือดออกใน พ.ศ. 2546 พบวา จํานวนผูปวยไขเลือดออกตั้งแต เดือน มกราคม 2546 – ธันวาคม 2546 มีจํานวนทั้งสิ้น 183 คน ลดลงจาก พ.ศ. 2545 เล็กนอย แต ยังคงสูงกวาคามัธยฐาน 5 ป (พ.ศ. 2541 – พ.ศ. 2545) ที่มีจํานวนเพียง 45 คน (ศูนยควบคุมโรค อําเภอเสลภูมิ 2546: 4) จากการศึกษาทฤษฎีที่ใชในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ พบวา การที่บุคคลจะ เปลี่ยนแปลงทัศนคติและพฤติกรรมจะตองเกิดการรับรูขาวสารในสิ่งที่จะปฏิบัติ และมีความเชื่อวา เมื่อปฏิบัติแลวจะกอใหเกิดประโยชนคุมคาในการปฏิบัตจิ ึงจะนําไปสูการตัดสินใจปฏิบัติ ดังเชน แบบจําลองความเชื่อดานสุขภาพ (Health Belief Model) ซึ่งพัฒนาขึ้นมาจากทฤษฎีดานจิตวิทยา สังคมเพื่อใชอธิบายการตัดสินใจของบุคคลที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมสุขภาพ โดยครัง้ แรกได นํามาใชทํานายและอธิบายพฤติกรรมการปองกันโรค ตอมาภายหลังไดมีการดัดแปลงไปใชในการ

3 อธิบายพฤติกรรมการเจ็บปวย และพฤติกรรมของผูปวยในการปฏิบัตติ ัวตามคําแนะนําของแพทย องคประกอบที่สําคัญที่ใชอธิบายและทํานายพฤติกรรมการปองกันโรคและพฤติกรรมผูปวย มี 5 ประการ คือ การรับรูโอกาสเสี่ยงของการเปนโรค (perceived susceptibility) การรับรูความ รุนแรงของโรค (perceived severity) การรับรูประโยชนที่จะไดรับและคาใชจาย (perceived benefits and costs) แรงจูงใจดานสุขภาพ (Health Motivation) และปจจัยรวม (modifying factors) (กองสุข ศึกษา 2542: 18-26) เชนเดียวกับทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อปองกันโรค (The protection motivation) โดย โรแนลด ดับบริล โรเจอรส (Ronald W.Rogers) ซึ่งทฤษฎีนี้เนนเกี่ยวกับการประเมินการรับรูดาน ขอมูลขาวสารในการเผยแพรสื่อสาร และการประเมินการรับรูนี้มาจากสื่อกลางที่ทําใหเกิดความ กลัว ซึ่งขึ้นอยูก ับจํานวนของสื่อที่มากระตุน และตัวแปรที่ทําใหเกิดความกลัวซึ่งนําไปสูการ เปลี่ยนแปลงทัศนคติและพฤติกรรม คือ การรับรูความรุนแรงของโรค (noxiousness) การรับรู โอกาสเสี่ยงของการเปนโรค (perceived probability) และความคาดหวังในประสิทธิผลของการ ตอบสนอง (response efficacy) (กองสุขศึกษา 2542: 35) และจากการประยุกตใชทฤษฎีแรงจูงใจ เพื่อปองกันโรครวมกับแรงสนับสนุนทางสังคมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมปองกันโรค ไขเลือดออก ของกลุมแมบาน อําเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี ของ ศิวรา เธียระวิบูลย (2541: บทคัดยอ) โดยใชทฤษฎีดังกลาวเปนตัวกําหนดโปรแกรมการใหสุขศึกษาแกกลุมแมบาน และมี การประเมินผลการรับรูเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกของกลุม แมบาน ในดานการรับรูความรุนแรงของ โรค การรับรูโอกาสเสี่ยงตอการเกิดโรค ความคาดหวังในความสามารถของตนเองในการปองกัน โรค ความคาดหวังในประสิทธิผลการสนองตอบเมื่อทํากิจกรรมเพือ่ ปองกันโรค การมีความตั้งใจ ที่จะมีพฤติกรรม และมีพฤติกรรมในการปองกันโรคไขเลือดออก พบวา ดีขึ้นกวากอนการทดลอง ในทุกดาน การประเมินผลสัมฤทธิ์ในการดําเนินการตามโครงการ 4 ประสานตานภัยโรค ไขเลือดออก ในอําเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด เฉพาะจากจํานวนผูปวยที่เกิดขึ้นในระหวาง พ.ศ. 2546 ยังไมทําใหทราบถึงประสิทธิผลของกิจกรรมตาง ๆ ที่ดําเนินการไปแลว โดยเฉพาะการใหสุขศึกษา แกประชาชน ซึ่งเปนสิ่งสําคัญที่จะทําใหประชาชนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการปองกันโรค ไขเลือดออกทีด่ ีขึ้น และการศึกษากรอบทฤษฎีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และการ ประยุกตใชทฤษฎีดังกลาวมากําหนดเปนโปรแกรมการใหสุขศึกษา ทําใหทราบวา สามารถทําให ผูรับขาวสารเกิดการรับรูในดานตาง ๆ ไดแก ความรุนแรงของโรค ความเสี่ยงตอการเกิดโรค ความคาดหวังในความสามารถของตนเอง และประสิทธิผลการสนองตอบ ผูวิจัยจึงไดนําการรับรู ดังกลาวนี้มาจัดทําเปนกรอบในการทําการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ เพื่อตองการทราบถึงสภาพการณการ รับรูสารสนเทศโรคไขเลือดออกของประชาชนหลังไดดําเนินการใหสุขศึกษาตามกิจกรรมที่กําหนด

4 ในโครงการสิ้นสุดแลว เพื่อเปนการประเมินประสิทธิผลของกิจกรรมการใหสุขศึกษาตามโครงการ และนําผลการวิจัยไปปรับปรุงการใหสุขศึกษาในดานตาง ๆ ไดแก การกําหนดเนื้อหาขอบเขตของ การนําเสนอสารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกแกประชาชน การปรับปรุงรูปแบบของสื่อให เหมาะสมกับความสามารถในการรับรูของประชาชนในแตละกลุม รวมทั้งปรับปรุงชองทางในการ กระจายสื่อสูประชาชนใหเหมาะสมและสามารถเขาถึงได เพื่อนําไปสูการรับรูสารสนเทศและเกิด การเปลี่ยนแปลงทัศนคติและพฤติกรรมในการปองกันโรคไขเลือดออกตอไป

2. วัตถุประสงคการวิจัย 2.1 ศึกษาการรับรูสารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกของประชาชนในอําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด ในดานอาการและความรุนแรงของโรค ปจจัยเสีย่ งตอการเกิดโรค และการปองกัน โรค 2.2 ศึกษาแหลงสารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกของประชาชนในอําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด

3. กรอบแนวคิดในการวิจัย ผูวิจัยไดนําทฤษฎีที่ใชในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ไดแก แบบจําลองความ เชื่อดานสุขภาพ (Health Belief Model) ของ เบคเกอร (Becker) ซึ่งใชอธิบายและทํานายพฤติกรรม การปองกันโรคของบุคคล โดยใชตวั แปรขององคประกอบของการรับรูของบุคคล (Individual perception) ไดแก การรูโอกาสเสี่ยง (perceived susceptibility) การรับรูความรุนแรง (perceived severity) และตัวแปรของปจจัยที่มีผลตอความเปนไปไดในการปฏิบัติ (likelihood of action) คือ การรับรูประโยชน (perceived benefits) และการรับรูอุปสรรคในการปองกันโรค (perceived barriers) และทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อปองกันโรค (The protection motivation) โดยโรเจอรส (Rogers) ซึ่งไดเนนเกี่ยวกับการประเมินการรับรูดานขอมูลขาวสารในการเผยแพรสื่อสาร โดยใชตวั แปร ความคาดหวังในประสิทธิผลของการสนองตอบ (response efficacy) และผูวิจัยนําตัวแปรตาม ทฤษฎีดังกลาวขางตนมากําหนดกรอบการวิจัย ไดแก การรับรูอาการและความรุนแรงของโรค การ รับรูปจจัยเสี่ยงที่ทําใหเกิดโรค และการรับรูการปองกันโรค รวมทั้งไดศึกษางานวิจยั ที่เกีย่ วของใน เรื่องของแหลงสารสนเทศมากําหนดกรอบการวิจยั ในสวนของแหลงสารสนเทศของประชาชน ดังภาพที่ 1.1

5

แหลงสารสนเทศโรคไขเลือดออก • สื่อบุคคล คือ จนท.สอ. อสม. เพื่อนบาน • แผนพับ

• • • • •

ชองทางในการ กระจายสารสนเทศ สถานีอนามัย บาน อสม. โรงเรียน บานผูใหญบาน ศาลากลางบาน

อาการ และความรุนแรงของโรค • ระดับความรุนแรงที่ตองรีบ ไปรักษาโดยเรงดวน • ความรุนแรงถึงเสียชีวิต • การรับรูความรุนแรงที่ แตกตางกัน

การรับรูสารสนเทศโรคไขเลือดออก ของประชาชน

ปจจัยเสี่ยงตอการเกิดโรค • สาเหตุที่ทําใหเกิดโรค • บุคคลมีความเสี่ยง แตกตางกัน • สถานที่มีผลตอความ เสี่ยงในการเกิดโรค • การรับรูความเสี่ยงที่ แตกตางกัน

ภาพที่ 1.1 กรอบแนวคิดในการวิจยั

การปองกันโรค • วิธีการปองกันโรคที่ หลากหลาย • ปญหาอุปสรรคในการ ปองโรค • การรับรูความสําเร็จใน การปองกันโรคที่ แตกตางกัน

6

4. ขอบเขตการวิจัย ประชากรที่ศึกษา คือ ประชาชนที่อาศัยอยูใ นอําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด เปนเวลา ตอเนื่องกันไมนอยกวา 1 ป และทําหนาที่เปนหัวหนาครอบครัว หรือ ดูแลความเปนอยูของสมาชิก ในครัวเรือน ครัวเรือนละ 1 คน จํานวน 21,513 คน โดยศึกษาถึง การรับรูสารสนเทศเกี่ยวกับโรค ไขเลือดออก และแหลงสารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกของประชาชน โดยเก็บขอมูลตั้งแต เดือน กุมภาพันธ 2547 – กรกฎาคม 2547

5. นิยามศัพท 5.1 แหลงสารสนเทศโรคไขเลือดออก หมายถึง บุคคลผูทําการเผยสารสนเทศเกีย่ วกับ โรคไขเลือดออกแกประชาชน หรือสื่อสิ่งพิมพ หรือสื่อกระจายเสียงไดแก แผนพับ โปสเตอร หนังสือ ปายรณรงค เทปเสียง ที่ผลิตเพื่อวัตถุประสงคในการเผยแพรสารสนเทศเกี่ยวกับโรค ไขเลือดออกแกประชาชน 5.2 สารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก หมายถึง ขอมูลจากแหลงสารสนเทศโรค ไขเลือดออกทีไ่ ดบอกกลาว เผยแพร หรือ ประกาศ ใหประชาชนไดทราบ โดยมีวัตถุประสงค เพื่อใหประชาชนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก ประกอบดวย ความรูทั่วไปเกี่ยวกับอาการและความรุนแรงของโรค ปจจัยเสีย่ งที่ทําใหเกิดโรค ไขเลือดออก การเฝาระวังอาการปวย วิธกี ารปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก 5.3 ประชาชน หมายถึง บุคคลซึ่งประกอบดวย บุคคลทั่วไป และบุคคลผูที่มี สถานภาพทางสังคมในตําแหนงอื่น ๆ ไดแก ผูใหญบาน ผูชวยผูใหญบาน อาสาสมัครสาธารณสุข ประจําหมูบาน (อสม.) สมาชิกองคการบริหารสวนตําบล (อบต.) ที่อาศัยอยูในอําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด 5.4 การรับรูสารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก หมายถึง กระบวนการที่บุคคลเลือก จัดการและใหความหมายตอสารสนเทศที่มากระทบตัวบุคคล ซึ่งเริ่มตั้งแตการไดยนิ หรือการได เห็น หรือการไดสัมผัส หรือการมีสวนรวม หรือการคนควาดวยตนเองโดยการอาน การพูดคุย กับบุคคล และใหความสนใจตอสารสนเทศที่มากระทบนัน้ ทําใหเกิดการยอมรับและสามารถให ความหมาย ความรูสึก และความคิดเห็นไดตามแบบมาตรวัดความรูสกึ และความคิดเห็นแบบ ตาง ๆ ซึ่งจะสงผลไปถึงการปฏิบัติ หรือการกระทําพฤติกรรมใดพฤติกรรมหนึ่งในการปองกันโรค ไขเลือดออก

7 5.5 การรับรูปจ จัยเสี่ยงตอการเกิดโรคไขเลือดออก หมายถึง การที่บุคคลสามารถบอก ไดวามีปจ จัยอะไรบางที่อาจจะทําใหตนเอง หรือบุคคลในครัวเรือนปวยเปนโรคไขเลือดออกได 5.6 การรับรูความรุนแรงของโรคไขเลือดออก หมายถึง การที่บุคคลสามารถบอกได วาเมื่อตนเอง หรือบุคคลในครัวเรือนปวยเปนโรคไขเลือดออกแลวจะมีสงผลตอสุขภาพอยางไร และอยูใ นระดับใด เชน มีอาการเล็กนอย หรือมีอาการรุนแรงไมสามารถประกอบกิจวัตร ประจําวันได หรือทําใหเกิดความพิการตอรางกาย หรือทําใหเสียชีวิตได เปนตน 5.7 การรับรูการปองกันโรคไขเลือดออก หมายถึง การที่บุคคลสามารถบอกไดวามี วิธีการอะไรบางเมื่อกระทําแลวจะเปนการปองกันใหตนเอง หรือบุคคลในครัวเรือนไมมีโอกาส ปวยเปนโรคไขเลือดออก 5.8 ดัชนีวดั ความชุกของลูกน้ํายุงลายรายหลังคาเรือน (House Index หรื อคา H.I.) หมายถึง ดัชนีวัดความชุกชุมของลูกน้ํายุงลายประเภทหนึง่ มีคาเปนรอยละของบานที่พบลูกน้ํา คํานวณไดจากสูตร ดังนี้ H.I. = จํานวนบานที่พบลูกน้ํา X 100 จํานวนบานที่สํารวจทั้งหมด แพนท และ เซลพ (Pant and Self) (WHO, 1993 อางใน สีวิกา แสงธาราทิพย 2545: 86) ไดใหแนวทางเกีย่ วกับการแปลคาดัชนีลูกน้ํายุงลายไววา พื้นที่ ที่มีคา H.I. มากกวา 10 แสดงวา เปนพื้นที่ ที่มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดการแพรโรคไขเลือดออก และพื้นที่ ที่มคี าH.I. นอยกวา 1 แสดงวา เปนพื้นที่ ที่มีความเสี่ยงต่ําที่จะเกิดการแพรโรคไขเลือดออก การสํารวจความชุกชุมของลูกน้ํายุงลายและการคํานวณคา H.I.ในหมูบา นแตละ หมูบานทําโดย อสม. เดือนละ 1 ครั้ง 5.9 คา H.I.เฉลี่ยในรอบป หมายถึง ผลรวมของคา H.I. ที่วัดไดในหมูบ านในรอบ พ.ศ. 2546 หารดวยจํานวนครั้งที่มีการวัดคา H.I ในหมูบา น เขียนไดเปนสูตรดังนี้ คา H.I เฉลี่ยในรอบป = ผลรวมของคา H.I. ที่วัดไดในหมูบานใน พ.ศ. 2546 จํานวนครั้งที่มีการวัดคา H.I ในหมูบานใน พ.ศ. 2546 5.10 คาดัชนีวดั ความชุกของลูกน้ํายุงลาย ( Breteau Index หรือคา B.I.) หมายถึง ดัชนีวดั ความชุกของลูกน้ํายุงลายประเภทหนึ่งที่มีคาเปนจํานวนภาชนะที่พบลูกน้ําตอบาน 100 หลังคาเรือน คํานวณไดจากสูตร ดังนี้ B.I. =

จํานวนภาชนะทีพ่ บลูกน้ํา X 100 จํานวนบานที่สํารวจทั้งหมด

8 แพนท และ เซลพ (Pant and Self) (WHO, 1993 อางใน สีวิกา แสงธาราทิพย 2545: 86) ไดใหแนวทางเกีย่ วกับการแปลคา B.I. ไววา พื้นที่ ที่มีคา B.I. มากกวา 50 มีความเสี่ยงสูง ที่จะเกิดการแพรโรคไขเลือดออก พื้นที่ ที่มีคา B.I. นอยกวา 5 มีความเสี่ยงต่ําที่จะเกิดการแพรโรค ไขเลือดออก 5.11 หมูบานเสี่ยงตอการเกิดโรคไขเลือดออก หมายถึง หมูบานที่ประชาชนที่อาศัยอยู ในหมูบานมีโอกาสจะปวยเปนโรคไขเลือดออก โดยใชเกณฑในการกําหนด คือ คา H.I. รวมกับ การระบาดของโรคและอัตราปวยดวยโรคไขเลือดออก แบงระดับออกเปน 3 ระดับ คือ 5.11.1 หมูบานเสี่ยงสูง คือ หมูบานที่มกี ารเกิดโรคและการระบาดของโรค ใน พ.ศ. 2546 และมีคา H.I. เฉลี่ยตลอดทั้งปมากกวา 10 5.11.2 หมูบานเสี่ยงปานกลาง คือ หมูบา นที่มีการเกิดโรคแตไมมีการระบาด ของโรค ใน พ.ศ.2546 และมีคา H.I. เฉลี่ยตลอดทั้งประหวาง 1 – 10 5.11.3 หมูบานเสี่ยงต่าํ คือ หมูบานที่ไมมีการเกิดโรค หรือมีคา H.I. ตลอดทั้ง พ.ศ.2546 นอยกวา 1 5.12 หมูบานที่มีการเกิดโรคไขเลือดออก หมายถึง การที่พบผูปวยที่ปว ยดวยโรค ไขเลือดออกในหมูบาน โดยนับจากบัตรรายงานโรค(รง.506) ที่วินจิ ฉัยโดยแพทยวาปวยเปนโรค ไขเลือดออกในรอบ พ.ศ. 2546 5.13 หมูบานมีการเกิดโรคและการระบาดของโรคไขเลือดออก หมายถึง หมูบานที่มี การเกิดโรคและมีการควบคุมโรคที่ไมมีประสิทธิภาพ นับจากชวงระยะเวลาที่พบผูป วยที่ปว ยดวย โรคไขเลือดออกในหมูบานรายแรกและรายสุดทายหางกันเกินกวา 14 วัน โดยนับจากวันทีเ่ ริ่มปวย ในบัตรรายงานโรคที่วินิจฉัยโดยแพทยวาปวยเปนโรคไขเลือดออกในรอบ พ.ศ. 2546 5.14 หมูบานที่มีการเกิดโรคแตไมมีการระบาดของโรค หมายถึง หมูบา นที่มีการเกิด โรคและมีการควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพ นับจากชวงระยะเวลาที่พบผูปวยที่ปว ยดวยโรค ไขเลือดออกในหมูบานรายแรกและรายสุดทายหางกันไมเกิน 14 วัน โดยนับจากวันที่เริ่มปวยใน บัตรรายงานโรคที่วินิจฉัยโดยแพทยวาปวยเปนโรคไขเลือดออกในรอบ พ.ศ. 2546 5.15 ทรายกําจัดลูกน้ํา หมายถึง สารเคมีกลุม Organo-Phosphorous Compound ที่มี ฤทธิ์ในการกําจัดลูกน้ํา (larvicide) มีความเขมขน 1% โดยน้ําหนัก เนื้อยาถูกเคลือบไวบนเม็ดทราย

9

6. ประโยชนของการวิจยั การวิจยั ครั้งนี้ ทําใหรับทราบถึง สภาพการรับรูสารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก และแหลงสารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกของประชาชนที่อาศัยอยูในเขตอําเภอเสลภูมิ จังหวัด รอยเอ็ด ผลการวิจัยจะนําไปปรับปรุงการกําหนดเนื้อหาขอบเขตของการนําเสนอสารสนเทศ เกี่ยวกับโรคไขเลือดออกแกประชาชน ปรับปรุงรูปแบบของสื่อใหเหมาะสมกับความสามารถใน การรับรูของประชาชนในแตละกลุม รวมทั้งปรับปรุงชองทางในการกระจายสื่อสูประชาชนให เหมาะสมและสามารถเขาถึงได เพื่อนําไปสูการรับรูสารสนเทศ และเกิดการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ และพฤติกรรมในการปองกันโรคไขเลือดออกตอไป

บทที่ 2

วรรณกรรมที่เกีย่ วของ ผูวิจัยไดศึกษาและรวบรวมวรรณกรรมที่เกีย่ วของกับงานวิจัยเรื่อง “การรับรู สารสนเทศโรคไขเลือดออกของประชาชนในอําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด” โดยแบงเปน 4 หัวขอ หลัก ไดแก 1. ความรูเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก 2. การดําเนินการปองกันโรคไขเลือดออกในอําเภอเสลภูมิ 3. ทฤษฎีที่ใชในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 4. งานวิจยั ที่เกี่ยวของ

1. ความรูเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก 1.1 ระบาดวิทยาของโรคไขเลือดออก โรคไขเลือดออกเปนโรคที่เกิดใหม (emerging disease) เมื่อประมาณ 40 ปมานี้ และยังคงเปนปญหาเรื้อรังของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต เนื่องจากมีจํานวนผูปว ยทีย่ งั คงเพิ่มสูงขึ้นเปนระยะ ๆ ทุก 3 – 5 ป สําหรับประเทศไทยเกิดโรค ไขเลือดออกระบาดครั้งใหญครั้งแรกใน พ.ศ. 2501 ในกรุงเทพ ฯ เปนระยะเวลา 5 ป ตอจากนั้นมี รายงานผูปวยโรคไขเลือดออกทุกป และแพรกระจายไปยังจังหวัดตาง ๆ อยางรวดเร็ว ใน พ.ศ. 2545 พบผูปวยในทุกจังหวัดของประเทศไทย และมีรูปแบบการระบาดเปนแบบสูง 2 ปแลวลด ต่ําลง หรือลดต่ําลง 2 ปแลวเพิ่มสูงขึ้น สถานการณโรคไขเลือดออกของประเทศไทยระหวาง พ.ศ. 2501 – พ.ศ. 2544 มีแนวโนมสูงขึ้นโดยตลอด โรคนี้เปนไดทั้งเพศชายและเพศหญิง ผูปวย สวนใหญอยูในกลุมอายุ 5-9 ป รองลงมาคือกลุมอายุ 10 –14 ป กลุมอายุ 15 ปขึ้นไป และกลุมอายุ 0-4 ป และเปนโรคที่แปรผันตามฤดูกาล (Seasonal Variation) มีผูปวยในฤดูฝน โดยจะเริ่มพบ ผูปวยมากขึน้ ตั้งแตเดือนพฤษภาคมของทุกป และพบสูงสุดประมาณเดือนกรกฎาคม– สิงหาคม หลังจากนัน้ จะเริ่มลดลงเรื่อย ๆ (สีวิกา แสงธาราทิพย 2545: 1-4) 1.2 สาเหตุและอาการโรคไขเลือดออก โรคไขเลือดออกเกิดจากการติดเชื้อไวรัสโดยมี ยุงลายเปนพาหะนําโรคซึ่งเปนสาเหตุการตายที่สําคัญในเด็ก หลังจากไดรับเชื้อจากยุงลายกัด ประมาณ 5 – 8 วัน อาการจะเริ่มดวยการมีไขสูงติดตอกันประมาณ 2 –3 วัน ปวดศรีษะ ปวดเมื่อย ตามแขนขา ปวดทอง เจ็บลิน้ ป อาเจียน เบื่ออาหาร และบางรายอาจมีเลือดกําเดาออก หรือมีจุด

11 เปนผื่นแดงเล็กๆ ใตผิวหนัง ในรายที่มีอาการรุนแรงในขณะที่ไขลดอยางรวดเร็ว ผูป วยจะมีอาการ กระสับกระสาย เหงื่อออก ตัวเย็น ปวดทอง ชีพจรเบาเร็ว และหายใจเร็ว รวมทั้งอาจมีเลือดออกใน กระเพาะอาหารและลําไส และอาจมีอาการอาเจียนหรือเลือดออกรวมดวย หากไมไดรับการรักษา ที่ถูกตอง ในชวงนี้ผูปวยอาจช็อกและเสียชีวิตในเวลาอันรวดเร็ว สวนในรายที่อาการไมรุนแรงเมือ่ ไขลดอาการตาง ๆ จะดีขึ้นและหายเปนปกติภายใน 10 วัน ความรุนแรงของโรคไขเลือดออกแบงออกเปน 4 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 ผูปวยมีอาการไมรุนแรงมีเพียงไขและมีอาการทีไ่ มเฉพาะ หากทําการ ทดสอบทูนิเกจะใหผลบวก ขั้นที่ 2 ผูปวยมีเลือดออกตามอวัยวะตาง ๆ แตไมมาก เชน ผิวหนัง เลือดกําเดา เลือดออกตามไรฟน แตยังมีแรงดันเลือดปกติ ขั้นที่ 3 ชีพจรเบาเร็ว แรงดันชีพจรแคบหรือแรงดันเลือดต่ํา ผูปวยมีอาการของ ระบบการไหลเวียนเลือดลมเหลว อาจมีเลือดออกมาก เชน เลือดออกบริเวณทางเดินอาหาร ขั้นที่ 4 ผูปวยมีอาการหนักมาก กระสับกระสาย มือเทาเย็น รอบปากเขียว เหงื่อซึม ช็อก วัดแรงดันเลือดไมได และมักจะตายในระยะนี้ (นิภา จรูญเวศน 2520:340 อางใน ธีระศักดิ์ มัก คุน 2544:11) อาการแทรกซอน นอกจากภาวะเลือดออกรุนแรงและภาวะช็อกแลว อาจเปนปอด อักเสบ หรือหลอดลมอักเสบแทรกซอนได แตมีโอกาสเกิดนอยมาก นอกจากนี้ถาใหน้ําเกลือมาก เกินไปอาจเกิดภาวะปอดบวมน้ําเปนอันตรายได (สุรเกียรติ อาชานานุภาพ 2531: 671-672 อางใน ธีระศักดิ์ มักคุน 2544: 11) 1.3 การดูแลรักษาผูป วยโรคไขเลือดออก ขณะนีย้ ังไมมยี าตานไวรัสที่มีฤทธิ์เฉพาะ สําหรับเชื้อไขเลือดออก การรักษาโรคนี้เปนการรักษาตามอาการและประคับประคอง ซึ่งไดผลดี ถาใหการวินิจฉัยโรคไดตั้งแตระยะแรก การดูแลรักษาผูป วยมีหลักปฏิบัติ ดังนี้ 1. ในระยะไขสูง บางรายอาจมีการชักไดถาไขสูงมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งในเด็กที่ เคยมีประวัติเคยชักหรือในเด็กที่อายุนอยกวา 6 เดือน หากจําเปนตองใหยาลดไข ควรใหยา พาราเซตามอล หามใหยาพวกแอสไพรินเพราะจะทําใหเกร็ดเลือดเสียการทํางานจะระคายเคืองทํา ใหเลือดออกไดงายขึ้น และที่สําคัญอาจทําใหเกิด Reye Syndrome ควรใหยาลดไขเปนครั้งคราว เวลาที่ไขสูงเทานั้น (เพื่อใหไขที่สูงมากลดลงเหลือนอยกวา 39 องศาเซลเซียส) การใชยาลดไขมาก ไปจะมีภาวะเปนพิษตอตับได ควรจะใชการเช็ดตัวชวยลดไขดวย 2. ใหผูปวยไดน้ําชดเชย เพราะผูปวยสวนใหญมีไขสูง เบื่ออาหาร และอาเจียน

12 ทําใหขาดน้ําและเกลือโซเดียมดวย ควรใหผูปวยดื่มน้ําผลไมหรือสารละลายผงน้ําตาลเกลือแร ( โอ อาร เอส ) ในรายที่อาเจียนควรใหดื่มครั้งละนอยๆ และดืม่ บอย ๆ 3. จะตองติดตามดูอาการผูปวยอยางใกลชดิ เพื่อจะไดตรวจพบและปองกันภาวะ ช็อกไดทันเวลา ภาวะช็อกมักจะเกิดพรอมกับไขลดลงประมาณตั้งแตวนั ที่ 3 ของการปวยเปนตน ไป ทั้งนี้แลวแตระยะเวลาที่เปนไข ถามีไข 7 วัน ก็อาจช็อกในวันที่ 8 ได ควรสังเกตอาการนําของ ช็อก ซึ่งอาจมีอาการเบื่ออาหารมากขึ้น ไมรับประทานอาหารหรือดื่มน้ําเลย หรือมีอาการถาย ปสสาวะนอยลง มีอาการปวดทองอยางกะทันหัน กระสับกระสาย มือเทาเย็น หากมีอาการ ดังกลาวใหรีบสงโรงพยาบาลทันที (สุจิตรา นิมมานนิตย 2545:18) 1.4 ปจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคไขเลือดออก ทางดานระบาดวิทยาปจจัยเสี่ยงในการเกิด โรคไขเลือดออก ไดแก 1.4.1 ปจจัยเสี่ยงดานผูปวย (host) มีดังนี้ 1) เด็กมีความเสี่ยงในการเกิดโรคไขเลือดออกมากกวาผูใหญ ในกรณีที่มี การติดเชื้อซ้ําเหมือนกันเด็กจะมีความเสี่ยงสูงกวา 2) เพศ พบวาในรายทีเ่ ปน DSS (dengue shock syndrome) และรายที่ตายจะ พบเพศหญิงมากกวาเพศชาย 1.4.2 ปจจัยเสี่ยงดานไวรัสและภูมิคุมกัน มีดังนี้ 1) พื้นทีท่ ี่มีไวรัสเดงกีห่ ลาย ๆ serotype และมีภาวะ hyperendimicity หรือมี เชื้อหลาย seroptype เปนเชื้อประจําถิ่นในชวงเวลาเดียวกัน(simultaneously endemic of multiple serotypes) ทําใหมีโอกาสติดเชื้อซ้ําสูง 2) มีการระบาดของไวรัสเดงกี่ตอเนือ่ งกัน (sequentially epidemic) พบวา การติดเชื้อซ้ําดวย DEN-2 และ DEN-3 มีอัตราสูงที่จะทําใหเกิด DHF การศึกษาที่จังหวัดระยอง พบวา การติดเชื้อซ้ําดวย DEN-2 ตามหลัง DEN-1 มีความเสี่ยงสูงมากกวา sequence แบบอื่น รองลงมาคือ DEN-2 ตามหลังดวย DEN-3 และ DEN-2 ตามหลังดวย DEN-4 ตามลําดับ 3) การติดเชื้อทุติยภูมิ (secondary infection) มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิด DHF มากกวาการติดเชื้อครั้งแรกประมาณ 160 เทา พบวารอยละ 87-99 ของผูปวย DHF/DSS เปนผูติด เชื้อครั้งที่ 2 สวนใหญของผูปวย DHF ที่เปนการติดเชื้อครั้งแรกเปนเด็กอายุนอยกวา 1 ป ทุกรายมี แอนติบอดียตอ เชื้อเดงกี่จากแม 4) ความรุนแรงในการกอโรค (Virulence) ซึ่ง ริโค เฮสส (Rico Hesse) ได ศึกษา DEN-2 ที่แยกไดจากผูปวย DHF/DSS ในที่ตาง ๆ ไดสรุปวา DEN-2 subtype จากเอเชีย อาคเนย เปนไวรัสที่มีความรุนแรงในการกอโรค หรือมีความสามารถทําใหเกิด DHF/DSS ไดสูง

13 1.4.3 ปจจัยเสี่ยงดานพาหะนําโรค 1) ยุงลายบาน (Aedes aegypti) เปนพาหะนําโรคที่สําคัญ ถายุงลายเหลานี้มี ปริมาณเพียงพอ ถึงแมจะมีจาํ นวนไมมากก็จะทําใหระบาดได สําหรับยุงลายสวน (Aedes albopictus) ก็สามารถแพรเชื้อไดแตไมดีเทายุงลายบาน ยุงลายสวนเพาะพันธุตามแหลงน้ําขังตาม โพรงไม หรือกระบอกไมไผ สวนยุงลายบานเพาะพันธุในภาชนะขังน้าํ ที่คนทําขึ้น 2) อุณหภูมิ และความชื้น ถาอุณหภูมิ และความชื้นเหมาะสม โดยเฉพาะ ในฤดูฝนยุงลายเพียง 2 –3 ตัวอาจแพรเชื้อใหสมาชิกในครอบครัวได ปจจัยสวนเสริมใหมีผูปวย มากขึ้นในฤดูฝนอีกประการหนึ่งนอกจากการมียุงลายมากขึ้นแลว คือ ในชวงที่ฝนตกทั้งเด็กและยุง จะอยูใ นบานหรืออาคาร เด็กจึงมีความเสีย่ งที่จะถูกยุงกัดมากขึ้น 3) ระดับความชุกชุมของยุงลาย ซึ่ง พ.ศ.2545 ยังไมทราบระดับความชุก ของยุงที่จะทําใหเกิดการระบาดของ DHF ได แตความชุกของยุงลาย Ae.aegypti ในประเทศไทย ไมวาจะใชตวั ชี้วัดใดมาใชกจ็ ะสูงมากและอาจสูงกวาประเทศอื่น ๆ ปจจัยทั้ง 3 ดานนี้จะตองมีสว น รวมกันในการทําใหเกิดโรค DHF/DSS ขึ้น 4) การเพิ่มจํานวนประชากร โดยเฉพาะการเพิ่มของชุมชนเมืองจะเพิ่ม ประชากรทั้งคนและยุงลาย การเดินทางติดตอที่สะดวกและเพิ่มมากขึ้น จะทําใหโรคกระจายไปได ในระยะไกล เพราะลําพังยุงจะมีระยะบินไดเพียง 50-100 เมตร การกระจายจึงไปกับคนในชวงที่มี Viremia กอนเริ่มมีอาการของโรค ดังนั้นความเจริญกาวหนาทางดานคมนาคมจึงเปนปจจัยสําคัญที่ ทําใหมีการแพรกระจายของโรค DHF ไปอยางกวางขวาง (สุจิตรา นิมมานนิตย 2545: 10-11) 1.5 การปองกันโรคไขเลือดออก การปองกันโรคไขเลือดออกมีมาตรการดังนี้ 1.5.1 มาตรการควบคุมและกําจัดลูกน้ํายุงลาย ซึ่งหมายถึง การกํากับดูแลไมใหมี ลูกน้ํายุงลาย (ในภาชนะขังน้ําใด ๆ) และการทําใหลูกน้าํ ยุงลายหมดสิ้นไป (หากพบวามีลูกน้ํา ยุงลายอยูใ นภาชนะขังน้ํานัน้ ๆ ) วิธีการดําเนินการแบงเปน 1) วิธีทางกายภาพ ไดแก (1) การปดปากภาชนะเก็บน้าํ ดวยผาตาขายไนลอน ฝาอลูมิเนียม หรือ วัสดุอื่นใดที่สามารถปดปากภาชนะเก็บน้ํานั้นไดอยางมิดชิดจนยุงลายไมสามารถเล็ดลอดเขาไป วางไขได (2) การหมั่นเปลีย่ นน้ําทุก 7 วัน วิธีนี้เหมาะสําหรับภาชนะเล็ก ๆ ที่เก็บน้ําไมมาก เชน แจกันดอกไมสด ทั้งทีเ่ ปนแจกันทีห่ งิ้ บูชาพระ แจกันที่ศาลพระภูมิ หรือ แจกันประดับตามโตะ รวมทั้งภาชนะและขวดประเภทตาง ๆ ที่ใชเลี้ยงพลูดาง พลูฉลุ ออมทอง ไผกวนอิม ฯลฯ

14 (3) การเติมน้าํ เดือดจัด ๆ ทุก 7 วัน วิธีนี้ใชไดกับถวยหลอขาตูกับขาว กันมด ซึ่งถาหากในชวง 7 วันที่ผานมามีลูกน้ําเกิดขึน้ ลูกน้ําก็จะถูกน้ําเดือดลวกตายไป (4) การใชกระชอนชอนลูกน้ําเพื่อลดจํานวนลูกน้ําในโองน้ํา บอซีเมนต เก็บน้ําในหองน้ํา หองสวมฯลฯ ใหลดนอยลงมากที่สุดอยางรวดเร็ว (5) การใสทรายธรรมดาในจานรองกระถางตนไมใหลึกประมาณ 3 ใน 4 สวนของความลึกของจานรองกระถางตนไมนั้น เพื่อใหทรายดูดซึมจากการรดน้ําตนไมไวไดซึ่ง เปนวิธีที่เหมาะสมสําหรับกระถางตนไมทใี่ หญและหนัก สวนตนไมกระถางเล็กอาจใชวิธีเทน้ําที่ ขังอยูในจานรองกระถางตนไมทิ้งไปทุก 7 วัน (6) การเก็บทําลายเศษวัสดุที่ไมใชแลว เชน ขวด ไห กระปอง ฯลฯ และ ยางรถยนตเกาที่ไมใชประโยชน หรือการปกคลุมใหมิดชิดเพื่อมิใหเปนที่รองรับน้ําได (7) การกลบ ถม หรือ การระบายน้ํา ไมใหมีแหลงน้ําขัง (8) การใช polystyrene beads ในบอหรือถังเก็บน้ําขนาดใหญ เนื่องจาก polystyrene beads จะลอยตัวอยูบนผิวน้ํา หากใชจํานวนมากพอให polystyrene beads แผคลุมผิว น้ําไดอยางสมบรูณจะทําใหยุงลายขึ้นมาหายใจไมได ลูกน้ําก็จะตายไป (9) การใชขันดักลูกน้ําลอยไวในโองน้ําหรือบอซีเมนตเก็บน้ําที่ปดฝา ไมได เมื่อลูกน้ําลงไปหากินที่กนโองหรือกนบอซีเมนตลอยตัวขึ้นมาหายใจที่ผิวน้าํ ลูกน้ําจะ ลอยตัวขึ้นมาบริเวณใตขันน้ําซึ่งเปนเงามืดเขามาในปากกรวยและออกมาอยูในขันน้ํา เมื่อใช หองน้ําและพบวามีลูกน้ําอยูใ นขันน้ําใหนาํ ไปเททิ้ง หรือทําลายลูกน้ํา 2) วิธีทางชีวภาพ มีสิ่งมีชีวิตหลายชนิดที่เปนศัตรูลูกน้ํายุงลายโดยธรรมชาติ และสามารถนํามาใชประโยชนในการควบคุมกําจัดลูกน้ํายุงลาย ไดแก (1) ลูกน้ํายุงยักษ (Toxorhynchites.spp) ซึ่งมีศักยภาพในการกินลูกน้ํา ยุงลายดีมาก โดยเฉลี่ยแลวลูกน้ํายุงยักษระยะที่ 4 หนึ่งตัวสามารถกินลูกน้ํายุงลายระยะที่ 1 ได 940 ตัวตอวัน กินลูกน้ํายุงลายระยะที่ 2 ได 315 ตัวตอวัน กินลูกน้ํายุงลายระยะที่ 3 ได 60 ตัวตอวัน และกินลูกน้ํายุงลายระยะที่ 4 ได 20 ตัวตอวัน นอกจากนี้ยังสามารถกินตัวโมงของยุงลายได 30 ตัว ตอวัน โดยการนําไปปลอยในภาชนะที่ขังน้ํา มีผูศึกษาเกี่ยวกับการใชลูกน้ํากําจัดยุงลาย พบวา สามารถควบคุมยุงลายไดนานหลายสัปดาห แตมีปญหาในการนําไปควบคุมยุงลายในเขตเมือง เนื่องจากลูกน้าํ ยุงยักษไมสามารถแพรพันธุในเขตเมืองไดเนื่องจากขาดแหลงอาหาร (2) ปลากินลูกน้ํา (larvivorus fish) ซึ่งในประเทศไทยมีหลายชนิด เชน ปลาหางนกยูง (Poecilia spp.) และปลาแกมบูเซีย (Gambusia spp.) เปนตน โดยนําไปปลอยลงโอง

15 น้ําใช หรือภาชนะขังน้ําที่ไมมีฝาปด เชน บอซีเมนตในหองน้ํา ชูศักดิ์ และคณะ (ในกองกีฏวิทยา ทางการแพทย 2533 อางใน แสงวิกา แสงธาราทิพย 2545: 41) รายงานวา การปลอยปลาแกมบูเซีย จํานวน 2 ตัวตอตุมจะใหประสิทธิผลในการควบคุมยุงลายดีที่สุด นอกจากนั้นยังมีสิ่งมีชีวิตหลายชนิดที่นําไปใชในการควบคุมและกําจัด ลูกน้ํายุงลาย ไดแก แบคทีเรีย ไรน้ําจืด โปรโตซัวบางชนิด เชื้อรา ตัวออนแมลงปอง ดวงดิ่ง มวนวน มวนกรรเชียง และไสเดือนฝอย 3) วิธีทางเคมี ไดแก (1) การใชทรายกําจัดลูกน้ํา ทรายกําจัดลูกน้ําเปนทรายเคลือบสารเคมีใน กลุมออรแกโนฟอสเฟต ใชใสน้ําเพื่อกําจัดลูกน้ํายุงลาย อัตราสวนที่ใช คือ ทรายกําจัดลูกน้ํา 1 กรัม ตอน้ํา 100 ลิตร องคการอนามัยโลกใหการยอมรับวา ทรายกําจัดลูกน้าํ ที่ความปลอดภัยสูงตอคน และสัตว และใหใชใสในน้ําดื่มได ( Rozendaal 1997 อางใน สีวิกา แสงธาราทิพย 2545: 43) (2) การใชเกลือแกง น้ําสมสายชู ผงซักฟอก หรือน้ํายาซักลางทั่วไป โดยทั้งสี่อยางนี้เปนของคูบานคูครัวที่สามารถนํามาใชในการควบคุมและกําจัดลูกน้ํายุงลายได โดยเฉพาะที่ถวยหลอขาตูกบั ขาว มีการศึกษาเกีย่ วกับการประสิทธิภาพในการนําไปใชงานดังนี้ รุงทิวา ประสานทอง (2532 )(อางใน สีวกิ า แสงธาราทิพย 2545: 44) ทําการศึกษาประสิทธิภาพของผงซักฟอก 4 ชนิดในการปองกันและกําจัดลูกน้ํายุงลาย พบวา น้ําที่ ผสมผงซักฟอกสามารถปองกันยุงลายวางไขไดนาน 14-22 วัน (แลวแตยี่หอของผงซักฟอก) ทั้งนี้ ตองมีความเขมขนอยางนอย 0.80% (นั่นคือ ในถวยหลอขาตูกับขาวขนาดความจุ 200-250 มิลลิเมตร ตองใชผงซักฟอกครึ่งชอนชา) นอกจากนี้ผงซักฟอกยังมีประสิทธิภาพในการกําจัดลูกน้ํา ยุงลายดวย โดยในการทดลองไดแสดงความเปนพิษตอลูกน้ํายุงลายระยะที่ 3 มีคา LC50 ที่ 24 ชั่วโมง อยูระหวาง 0.0127-0.0193 สามารถกําจัดยุงลายระยะที่ 3 ได 100% กสิน ศุภปฐม, เอื้อมเดือน กิง่ ชาญศิลป และ พูนยศ เรียวแรงบุญญา (2541) (อางใน แสงวิกา แสงธาราทิพย 2545: 44) ไดขยายผลสารซักลาง 20% เพื่อฉีดพน จับ-ฆายุง นําไป ทดลองใชฉีดพนกําจัดลูกน้าํ ในถวยหลอขาตูกับขาว จานรองกระถางตนไม ยางรถยนตเกา ฯลฯ พบวาการฉีดพนสารซักลางลงในแหลงเพาะพันธุใหมีระดับความเขมขนของสารละลายน้ํายาซัก ลาง 0.5-1.0% หรือปริมาณ 5-10 มิลลิเมตร หรือโดยการฉีดพน 5-10 ครั้ง จะมีประสิทธิภาพในการ ฆาลูกน้ํายุงลายไดดเี ชนกัน (3) การใชสารยับยั้งการเจริญเติบโต (Insect Growth Regulator หรือ IGR) เชน methoprene เปนตน methoprene เปนสารเคมีสังเคราะหเลียนแบบ Juvenile hormone

16 ทําใหการเจริญเติบโตของลูกน้ําผิดปกติไปและตัวโมงไมสามารถลอกคราบออกเปนตัวยุงได จึงมี ผลทําใหลูกน้ําและตัวโมงตายไป แตสารเคมีชนิดนี้มีราคาคอนขางสูง 1.5.2 มาตรการปองกันและกําจัดยุงลาย ซึ่งหมายถึง การกั้นหรือตานทานไวไมใหมี ยุงลายในบานรวมทั้งการหลีกเลี่ยงการถูกยุงลายกัด และหากพบวามียุงลายในบานจะตองทําการขับ ไลหรือทําใหหมดไป วิธีการปองกันและการกําจัดลูกน้าํ ยุงลายมีหลายวิธี บางวิธีคอนขางซับซอน ยุงยากและเสียคาใชจายสูง ในที่นี่จะกลาวถึงวิธีการปองกันตนเองและผูใกลชิดไมใหถูกยุงลายกัด และวิธีการในการกําจัดยุงลายตัวเต็มวัยเปนวิธีที่ประชาชนสามารถกระทําไดดวยตนเอง (สีวิกา แสงธาราทิพย 2545: 59-62) ไดแก 1) การปองกันไมใหถกู ยุงลายกัด ไดแก (1) การนอนในมุงโดยเฉพาะการนอนในเวลากลางวัน (2) การกรุหนาตางประตูและชองลมดวยมุง ลวด ตรวจตราซอมแซมฝาบาน ฝาเพดานอยาใหมีรอง ชองโหว หรือรอยแตก เพื่อเปนการปองกันไมใหยุงลายเขามาอยูหรือหลบ ซอนในบาน (3) การเก็บสิ่งของในบานใหเปนระเบียบเรียบรอยอยูเสมอ เชน เสื้อผาที่สวม ใสแลวควรเก็บซักทันที หรือนําไปผึ่งแดดผึ่งภายนอกบาน ไมใหเปนทีเ่ กาะพักของยุงลาย (4) การใชสารไลยุง (Mosoquito Repellents) สารไลยุงที่มีจําหนายสวนใหญ มีสารออกฤทธิ์จําพวก deet (N, N – Diethyl – m – toluamide) ในระดับความเขมขนตาง ๆ กันและ มีหลายรูปแบบ เชน ชนิดเปนขด เปนแผน เปนครีม เปนน้ํา ฯลฯ ซึ่งเหมาะสําหรับการใชงานที่ แตกตางกันไป เชน ใชทาผิว ใชชุบเสื้อผา ใชชุบวัสดุปูพื้น เปนตน 2) การกําจัดยุงลาย ไดแก (1) การใชสารเคมี สารเคมีที่กําจัดยุงที่มีวางจําหนายตามรานคามีทั้งแบบที่ เปนกระปองทรงกระบอกอัดน้ํายาเคมีสําหรับฉีดพนไดทนั ที เมื่อใชหมดแลวไมสามารถเติมน้ํายา เคมีใหมได และแบบที่เปนกระปองสี่เหลีย่ ม ซึ่งตองเติมน้ํายาเคมีลงในกระปองฉีดเอง และเมื่อ หมดแลวสามารถเติมน้ํายาเคมีลงในกระปองใหมได ประเภทหลังนี้มรี าคาถูกกวาประเภทแรก แต มักทําใหมือของผูฉีดเปรอะเปอนน้ํายาเคมีได ปจจุบนั สารเคมีกําจัดยุงมีทั้งชนิดสูตรน้ํามัน (oill based) และชนิดสูตรน้ํา (water based) ซึ่งชนิดสูตรน้ําจะปลอดภัยตอคน สัตว และสิ่งแวดลอม มากกวา รวมทั้งไมทําใหเครื่องเรือนและสิ่งของเปรอะเปอนดวย (2) การใชอุปกรณกําจัดยุง เชน ก. ชนิดที่เปนกับดักไฟฟาใชไฟบาน 220 โวลท มีหลักการคือใชแสงไฟ ลอใหยุงบินเขาไปหากับดัก เมื่อยุงบินไปถูกซี่กรงที่มีไฟฟาก็จะถูกไฟฟาช็อตตายไป

17 ข. อุปกรณกําจัดยุงไฟฟาแบบใชแบตเตอรี่ (ถานไฟฉาย) มีรูปรางคลาย ไมเทนนิส แตแทนที่จะเปนเสนเอ็นก็เปนเสนลวดซึ่งเมื่อเปดสวิทซก็จะมีกระแสไฟไหลผาน ผูใช จะตองโบกใหซี่ลวดถูกตัวยุง ยุงก็จะถูกไฟช็อตตาย 1.5.3 มาตรการการมีสวนรวมของประชาชน ซึ่งจากประสบการณในอดีตที่ผานมา ปรากฏวาการควบคุมโรคไขเลือดออกโดยหนวยงานสาธารณสุขเพียงอยางเดียวไมสามารถบรรลุ ผลสําเร็จได ดังนั้นจึงมีไดการหารูปแบบการควบคุมโรคไขเลือดออกโดยการมีสวนรวมของ ประชาชน โดยมีรูปแบบตางๆ กัน ดังนี้ 1) การรณรงค โดยการระดมความรวมมือของผูนําชุมชน นักเรียน กลุม กิจกรรม และประชาชนเพื่อกําจัดแหลงเพาะพันธุยุงลายในชุมชนเปนครั้งคราว หรือในเทศกาลตาง ๆ 2) การรวมมือกับโรงเรียนในการสอนใหนักเรียนใหมคี วามรูในเรื่องการควบคุม ยุงลาย และมอบหมายกิจกรรมใหนักเรียนกําจัดแหลงเพาะพันธุย ุงลายทั้งที่บานและที่โรงเรียน ทั้งที่ดําเนินการสม่ําเสมอตลอดปหรือเปนครั้งคราวรวมกับการรณรงค 3) การจัดหาทรายกําจัดลูกน้ํายุงลายมาจําหนายในกองทุนพัฒนาหมูบ านในราคา ถูก บางแหงอาจจัดอาสาสมัครไปสํารวจแหลงเพาะพันธุยุงลายตามบานเรือน และใสทรายกําจัด ลูกน้ํายุงลายใหเปนประจําโดยคิดคาบริการราคาถูก ความรวมมือของชุมชนในการควบคุมโรคไขเลือดออกตองเปนแบบผสมผสาน ประกอบดวยความรวมมือจากหลาย ๆ ดาน เชน - ดานสาธารณสุข ดําเนินการใหสุขศึกษา สนับสนุนเคมีภัณฑ และการ ควบคุมโรค - ดานการศึกษา ดําเนินการสอนการควบคุมโรคแกนกั เรียน และกระตุนให ปฏิบัติอยางตอเนื่องสม่ําเสมอ - ดานการปกครอง ดําเนินการใหการสนับสนุนการควบคุมโรคผานทาง ขายงานการปกครองทองถิ่น - ดานประชาสัมพันธ ดําเนินการเผยแพรขาวสารความรูเกี่ยวกับการควบคุม โรค และการกระตุนเตือนใหประชาชนตื่นตัวในการควบคุมโรค - ดานเอกชน ดําเนินการใหการสนับสนุนทรัพยากร หรือเขารวมกิจกรรมการ ควบคุมโรคไขเลือดออกในชุมชน

18

2. การดําเนินการปองกันโรคไขเลือดออกในอําเภอเสลภูมิ อําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด ไดจดั ทําโครงการ 4 ประสานตานภัยไขเลือดออกขึ้นใน ปงบประมาณ 2546 โดยมีจดุ มุงหมายเพื่อใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น สาธารณสุข โรงเรียน บานและชุมชน รวมกันดําเนินงานปองกันโรคไขเลือดออกตามภารกิจที่รับผิดชอบไดอยางมี ประสิทธิภาพเพื่อลดอัตราปวยดวยไขเลือดออกลง โดยมีกลวิธีใหรว มกันกําหนดบทบาทและ มอบหมายภารกิจที่ชัดเจนและรวมกันดําเนินการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกในอําเภอ สรุปบทบาทแตละหนวยงานในดานการใหความรูแกประชาชนและการปฏิบัติการปองกันและ ควบคุมโรคไขเลือดออกไดดังนี้ 1. องคกรปกครองสวนทองถิ่น ไดแก องคการบริหารสวนตําบล (อบต.) สภาตําบล และ เทศบาล มีภารกิจทีด่ ําเนินการดังนี้ 1.1 ออกขอบังคับสวนทองถิ่น หรือ เทศบัญญัติเกี่ยวกับการปองกันและ ควบคุมโรคไขเลือดออก และประชาสัมพันธใหประชาชนไดทราบและถือปฏิบัติ 1.2 สงเสริมใหสมาชิกองคกรปกครองทองถิ่น ไดแก อบต. หรือ สมาชิก เทศบาล หรือสมาชิกสภาตําบลใหมีสวนรวมในการกําจัดลูกน้ําในชุมชน 1.3 ดําเนินการใสทรายกําจัดลูกน้ํา พนน้ํายาเคมีกําจัดยุงในหมูบานเสี่ยงสูง 1.4 ดําเนินการใสทรายกําจัดลูกน้ํา พนยากําจัดยุงในโรงเรียนทุกโรงเรียนกอน เปดเรียนเทอมแรก 1.5 ประชาสัมพันธเชิงกวางเกี่ยวกับโรคและการดูแลตนเอง 2. โรงพยาบาลเสลภูมิ โดยมีเจาหนาที่ผูเกี่ยวของ คือ แพทย พยาบาล และ นักวิชาการสาธารณสุข มีภารกิจที่ดําเนินการรวมกันดังนี้ 2.1 พัฒนามาตรฐานการใหสุขศึกษาแกประชาชน 2.2 ประชาสัมพันธเชิงกวางเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกและการดูแลตนเอง 3. สถานีอนามัยและศูนยสขุ ภาพชุมชน โดยมีเจาหนาที่ผูเกี่ยวของ ไดแก เจาหนาที่สถานีอนามัย (จนท.สอ.) ซึ่งประกอบดวย หัวหนาสถานีอนามัย พยาบาล นักวิชาการสาธารณสุข (นวก.สธ) และ เจาพนักงานสาธารณสุขชุมชน (จพง.สช.) มีภารกิจที่ ดําเนินการรวมกัน ดังนี้ 3.1 กําหนดมาตรฐานการใหสุขศึกษาแกประชาชน และออกเยี่ยมใหความรู ในการปองกันโรคแกประชาชนในเขตรับผิดชอบเดือนละ 1 ครั้ง 3.2 การสุมสํารวจลูกน้ํายุงลายในหมูบานเพื่อประเมินความเสี่ยงในการ

19 เกิดโรค และประเมินผลการควบคุมโรคในกรณีที่เกิดการระบาดขึ้น 3.3 ดําเนินการพัฒนาองคความรูใหแก อบต./เทศบาล/สภาตําบล ในเรื่อง ความสําคัญของการกําจัดลูกน้ํา วิธีการใสทรายกําจัดลูกน้ําและการออกฤทธิ์ 3.4 ดําเนินการพัฒนาองคความรูใหแก ครู และนักเรียนในโรงเรียน ในเรื่อง ความสําคัญของการกําจัดลูกน้ํา วิธีการสํารวจลูกน้ํา หลักการกําจัดลูกน้ําสําหรับนักเรียน 3.5 ดําเนินการพัฒนาองคความรูใหแก ประชาชน แกนนําหมูบาน พระภิกษุ และองคกรอื่น ๆ ในเรื่อง ความสําคัญของการกําจัดลูกน้าํ หลักการกําจัดลูกน้ําสําหรับประชาชน หลักการดูแลเมื่อสงสัยเปนโรคไขเลือดออก 3.6 ดําเนินการดานสุขศึกษาและประชาสัมพันธ โดยการประชาสัมพันธเชิงลึก เกี่ยวกับโรคและการดูแลตนเอง 4. ศูนยปฏิบัตกิ ารปองกันและควบคุมโรค ซึ่งประกอบดวย เจาหนาที่ของ โรงพยาบาลเสลภูมิและสํานักงานสาธารณสุขอําเภอเสลภูมิรวมกันดําเนินการ มีภารกิจที่ ดําเนินการ คือ ประชาสัมพันธเชิงกวางผานวารสารสุขภาพอําเภอเสลภูมิ และจัดทําปายขนาดใหญ ติดตั้งที่หนาโรงพยาบาลใหประชาชนรับทราบถึงสถานการณโรคในภาพรวมของอําเภอ แยกราย ตําบล รายหมูบ านและรายโรงเรียน ศึกษากรณีตัวอยางหรือสรุปขอมูลการปวย เผยแพรนวตกรรม ที่ชุมชนดําเนินการแลวทําใหเกิดผลดี 5. อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) มีภารกิจที่ดําเนินการดังนี้ 5.1 สงเสริมการใชปลากินลูกน้ํา 5.2 สํารวจความชุกของลูกน้ํายุงลาย และใหคําแนะนําในการกําจัดลูกน้ํา ยุงลายเดือนละ 1 ครั้ง 5.3 สงเสริมภูมิปญญาทองถิ่นรวมกับเจาหนาที่สถานีอนามัย 5.4 ดําเนินการควบคุมปองกันโรครวมกับเจาหนาที่สถานีอนามัย 6. โรงเรียนทัง้ รัฐบาลและเอกชน มีภารกิจที่ดําเนินการดังนี้ 6.1 จัดกิจกรรมรณรงคพัฒนาสภาพแวดลอมทั้งในโรงเรียนและชุมชน 6.2 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกี่ยวกับการปองกันโรคไขเลือดออก ทุกชั้นเรียน 6.3 จัดกิจกรรมหองเรียนปลอดลูกน้ํา ปลอดยุงลาย ปลอดโรคไขเลือดออก 6.4 จัดกิจกรรมโรงเรียนปลอดลูกน้ํา ปลอดยุงลาย ปลอดโรคไขเลือดออก 6.5 จัดกิจกรรมพัฒนาสภาพแวดลอมรวมกับชุมชน ในกรณีเกิดโรค ไขเลือดออกขึ้นในชุมชน

20 7. บานและชุมชน มีภารกิจทีด่ ําเนินการ ดังนี้ 7.1 ออกระเบียบเกีย่ วกับการปองกันโรคไขเลือดออกในหมูบานหรือชุมชน และประชาสัมพันธใหประชาชนไดทราบ 7.2 พัฒนาสภาพแวดลอมในหมูบานอยางตอเนื่องตลอดป โดยการทําลาย แหลงเพาะพันธุยุงลายทุกวันศุกร 7.3 สงเสริมการใชภูมิปญญาทองถิ่นเพื่อปองกันโรค 7.4 รณรงคพัฒนาสภาพแวดลอม ทําลายแหลงเพาะพันธุลูกน้ํายุงลายรวมกับ องคกรอื่นๆ ในกรณีที่มกี ารเกิดโรคขึ้นในชุมชน ในการดําเนินงานมีหนวยงานที่รับผิดชอบโครงการ คือ ศูนยปองกันและควบคุมโรค อําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด ไดกําหนดกิจกรรมยอยทีห่ ลากหลายเพือ่ ผลักดันใหหนวยงานที่ เกี่ยวของปฏิบัติงานตามบทบาทที่ไดกําหนดไว และมีกจิ กรรมที่นาสนใจ คือ การจัดประกวดบาน ปลอดยุงลาย ในระหวางเดือน มกราคม 2546 – มีนาคม 2546 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อกระตุนใหเกิด การรวมมือในการกําจัดลูกน้าํ ยุงลายของประชาชนโดยการสรางแรงจูงใจมีรางวัลเปนผลตอบแทน ซึ่งมีวิธีการทํางานคือ จนท.สอ. และ อสม. จัดอบรมเผยแพรความรูเกีย่ วกับโรคไขเลือดออก และ สอนเทคนิคการสํารวจลูกน้าํ ยุงลายในบานเรือนแกประชาชนเจาของบานเรือนในพืน้ ที่ดําเนินการ เพื่อใหทําการสํารวจลูกน้ํายุงลายในบานของตนเองและกําจัดลูกน้ําใหหมดไปหากพบวามีลูกน้ํา เกิดขึ้น หลังจากนั้นให อสม.ที่รับผิดชอบในละแวกบานเขาทําการตรวจรับรองและลงชื่อรับรองใน “บัตรรับรองบานปลอดยุงลาย” และรวบรวมบัตรรับรองดังกลาว สง จนท.สอ.ประจําสถานีอนามัย ที่รับผิดชอบหมูบานเพื่อจับสลากมอบรางวัลใหเจาของบานเรือนผูโชคดีเปนเงินรางวัล เดือนละ 1 ครั้ง โดยดําเนินการในหมูบา นที่มีความเสีย่ งสูงตอการเกิดโรคไขเลือดออก และจากการประเมินผล ในกิจกรรมดังกลาวหลังจากสิ้นสุดการดําเนินการ สรุปไดดังนี้ 1. ประชาชนในหมูบานทีด่ ําเนินการมีความพึงพอใจในกิจกรรมนี้ และไดให ความรวมมือในการสํารวจและกําจัดลูกน้ํายุงลายในบานเรือนของตนเองดวยดี โดยประเมินจาก บัตรรับรองบานปลอดยุงลายที่สงเขามาจับสลากในแตละเดือนครอบคลุมประมาณ รอยละ 60 – 70 ของหลังคาเรือน 2. การดําเนินงานตามกิจกรรมนี้เปนการประสานความรวมมือกันในการปองกัน โรคไขเลือดออกในสวนที่เกีย่ วของหลายฝาย ไดแก ประชาชนในหมูบา น อสม. และ จนท.สอ. ผูรับผิดชอบหมูบาน รวมทั้งองคการบริหารสวนตําบล (อบต.) ที่ดูแลพื้นที่หมูบานไดใหการ สนับสนุนงบประมาณในการดําเนินการแตไมไดเปนแกนหลักในการดําเนินการ

21 3. การควบคุมกํากับการดําเนินงาน พบวา จนท. สอ.ไดมีการนิเทศและตรวจสอบ การรับรองบัตรรับรองบานปลอดลูกน้ําของ อสม. ไดครอบคลุมตามเปาหมายที่กําหนด จากการประเมินกิจกรรมดังกลาวขางตนยังไมครอบคลุมถึง การประเมินความรู เกี่ยวกับโรคไขเลือดออกของประชาชนที่เกิดขึ้นหลังจากที่ไดรับการอบรม ซึ่งจะทําใหทราบถึง สาเหตุที่ประชาชนในพืน้ ที่ใหความรวมมือในการกําจัดลูกน้ํายุงลายในบานเรือนของตนเอง วาเกิด จากการที่ประชาชนเห็นวาประโยชนในการปองกันโรคไขเลือดออก หรือเปนเพียงความตองการ เงินรางวัลเทานั้น ในสวนการประเมินโครงการ 4 ประสานตานภัยโรคไขเลือดออก ไดมกี าร ประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการจากจํานวนผูป วยโรคไขเลือดออก สรุปไดดังภาพตอไปนี้

ภาพที่ 2.1 แผนภูมิผูปวยโรคไขเลือดออก อ.เสลภูมิ จ.รอยเอ็ด พ.ศ. 2541- 2546

22

ภาพที่ 2.2 แผนภูมิผูปวยโรคไขเลือดออก อ.เสลภูมิ จ.รอยเอ็ด พ.ศ. 2546 เปรียบเทียบคามัธยฐานยอนหลัง 5 ป (พ.ศ. 2541-2546) จากภาพดังกลาวขางตน แสดงใหเห็นวาจํานวนผูปว ยโรคไขเลือดออก ใน พ.ศ. 2546 ลดลงจากปที่แลวมาเล็กนอยและเมื่อเปรียบเทียบกับคามัธยฐาน ป พ.ศ. 2541- 2545 พบวามีคาสูง กวาคามัธยฐาน (คามัธยฐานเทากับ 45 คน ) เมื่อจําแนกรายเดือนและเปรียบเทียบกับคามัธยฐาน รายเดือน ระหวาง พ.ศ. 2541 – 2545 ก็พบวามีคาสูงกวาคามัธยฐานรายเดือนเกือบทุกเดือนเชนกัน นอกจากการประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการจากจํานวนผูปวยแลว ยังไมไดมีการประเมินผลโครงการ นี้ในดานอื่น ๆ เชน ประเมินการมีสวนรวมของหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน โรงเรียน องคการ ปกครองสวนทองถิ่น ชุมชน หรือ ประเมินการรับรูของประชาชนเกีย่ วกับการปองกันโรค ไขเลือดออก เปนตน

23

3. ทฤษฎีที่ใชในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การรับรูหมายถึง การที่รางกายรับสิ่งเราตาง ๆ ที่ผานมาทางประสาทสัมผัสสวนใด สวนหนึ่งแลวตอบสนองเอาสิ่งเรานั้นออกมา เปนลักษณะของจิตทีเ่ กิดจากการผสมกันระหวาง พวกประสาทสัมผัสชนิดตาง ๆ และความคิดรวมกับประสบการณเดิมที่มีอยู การรับรูเปนตัวแปร ทางจิตสังคมที่เชื่อวามีผลกระตุนตอพฤติกรรมสุขภาพของบุคคล (กองสุขศึกษา 2542:13) และ ผูวิจัยไดทําการศึกษาทฤษฎีที่ใชในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่แสดงใหเห็นถึง ความสัมพันธของการรับรูตอพฤติกรรมในการปองกันโรค สรุปได ดังนี้ 3.1 แบบจําลองความเชื่อดานสุขภาพ (Health Belief Model) ความเชื่อดานสุขภาพ พัฒนาขึ้นมาจากทฤษฎีทางดานจิตวิทยาสังคมเพื่อใชอธิบายการตัดสินใจของบุคคลที่เกี่ยวของกับ พฤติกรรมสุขภาพ โดยครั้งแรกไดนํามาใชทํานายและอธิบายพฤติกรรมการปองกันโรค ตอมา ภายหลังไดมีการดัดแปลงไปใชในการอธิบายพฤติกรรมการเจ็บปวยและพฤติกรรมของผูปวยใน การปฏิบัติตัวตามคําแนะนําของแพทย (กองสุขศึกษา 2542:18) กลุมบุคคลที่รวมกันพัฒนาแบบจําลองคือ กอดเฟรย เอ็ม ฮอ(Godfrey M. Hochbaum) เอส สตีนเฟน เคจีเลส (S. Stephen Kegeles) ฮาวารด เลเวนไทย(Howard Leventhai) และเออรวนิ เอ็ด โรเซนสตอกค (Irvin M. Rosenstock) โดยไดรับอิทธิพลมาจากทฤษฎีของ เคร็ท เลวิน (Kurt Lewin) (วัลลา ตันตโยทัย 2543: 29) ที่กลาววา “โลกของการรับรูของบุคคล จะเปน ตัวกําหนดพฤติกรรมของบุคคลนั้น ๆ” ดังนั้นบุคคลจึงแสดงออกตามที่สิ่งที่เขาเชื่อถึงแมวาสิ่งนัน้ จะไมถูกตองตามที่ผูอยูในวิชาชีพคิดก็ตาม และโรเซนสตอกค(Rosenstock) ไดอธิบายถึงความเชื่อ ที่ทําใหบุคคลแสดงพฤติกรรมสุขภาพอยางใดอยางหนึ่งเพื่อหลีกเลี่ยงจากการเปนโรควา บุคคลนั้น จะตองเชื่อวา (1) เขามีโอกาสเสี่ยงตอการเปนโรค (2) โรคนั้นตองมีความรุนแรงตอชีวิตเขา พอสมควร (3) การปฏิบัติเพื่อหลีกเลี่ยงจากการเปนโรค ตอมา เบคเกอร(Becker) และ คณะ ไดทํา การปรับปรุงแบบจําลองเพื่อใช อธิบายและทํานายพฤติกรรมการปองกันโรคของบุคคลโดยไดเพิ่ม ปจจัยรวมและสิ่งชักนําในการปฏิบัติซึ่งเปนปจจัยอื่น ๆ นอกเหนือจากการรับรูของบุคคลที่พบวามี อิทธิพลตอการปฏิบัติในการปองกันโรค (กองสุขศึกษา 2542:19-20) องคประกอบของแบบจําลองความเชื่อดานสุขภาพ มีรายละเอียดดังนี้ (วัลลา ตันตโยทัย 2543: 31) 3.1.1 การรับรูของบุคคล ( Individual perception) ประกอบดวย 1) การรับรูโอกาสเสี่ยง (perceived susceptibility) เปนการรับรูของบุคคลถึง

24 โอกาสเสี่ยงของตนเองตอปญหาสุขภาพ มีการคาดคะเนวาตนเองมีโอกาสเสี่ยงตอปญหาสุขภาพนั้น มากเพียงใด 2) การรับรูความรุนแรง (perceived severity) เปนการรับรูความรุนแรงที่เกิดจาก ปญหาสุขภาพหรือความเจ็บปวยนัน้ ซึ่งพิจารณาจากผลทีจ่ ะเกิดตามมาในทุกๆ ดาน ครอบคลุมถึง การเสียชีวิต การลดการทําหนาที่ ความพิการ ความทุกขทรมาน ตลอดจนผลกระทบตอการทํางาน ชีวิตในครอบครัวและชีวิตในสังคม 3) การรับรูภาวะคุกคาม (perceived threat) การรับรูภาวะเสี่ยงรวมกับการรับรู ความรุนแรงของปญหาสุขภาพ จะทําใหบคุ คลรับรูภาวะคุกคามวามีมากนอยเพียงใด 3.1.2 ปจจัยรวม (modifying factors) เปนปจจัยทีก่ ระทบตอความโอนเอียงที่จะปฏิบัติ พฤติกรรมโดยมีอิทธิพลทั้งตอการรับรูของบุคคลและการรับรูประโยชนของการปฏิบัติไดแก 1) ปจจัยดานลักษณะประชากร(demoqraphic variables) เชน อายุ เพศ เชื้อชาติ 2) ปจจัยดานจิตสังคม(sociopsychological variables) เชน บุคลิกภาพ ระดับชั้นในสังคม 3) ปจจัยดานโครงสราง(structural variables) เชน ความรูหรือประสบการณ ที่เกี่ยวกับโรคนั้น 4) ปจจัยกระตุนการปฏิบตั ิ (cues to action) เปนปจจัยที่กระตุนใหมกี ารปฏิบัติ ที่เหมาะสมเกิดขึ้น ปจจัยเหลานี้อาจเปนปจจัยภายในตนเอง เชน การรับรูสภาพของตนเอง หรือ ปจจัยภายนอกตัวบุคคล เชน ขอมูลจากสื่อ หรือบุคคลตาง ๆ ความเจ็บปวยของบุคคลใกลชิด เปนตน 3.1.3 ปจจัยที่มีผลตอความเปนไปไดของการปฏิบตั ิ (likelihood of action) มี 2 ปจจัย ที่มีผลตอโอกาสที่จะปฏิบัติพฤติกรรมของบุคคล คือ 1) การรับรูประโยชน (perceived benefits) เปนความเชื่อเกี่ยวกับประสิทธิภาพ หรือประโยชนของการปฏิบัตินั้น ๆ ในการลดภาวะเสี่ยงหรือความรุนแรงของปญหาสุขภาพ 2) การรับรูอุปสรรค (perceived barriers) เปนการรับรูเกีย่ วกับขอเสียหรือ อุปสรรคตาง ๆ ของการปฏิบัตินั้น เชน ความไมคุนเคย การเสียคาใชจา ย ความไมสขุ สบาย เปนตน

25 ปจจัยรวม • ปจจัยดานลักษณะประชากร (อายุ เพศ เชื้อชาติ ฯลฯ) • ปจจัยดานจิตสังคม (บุคลิกภาพ ระดับชั้นในสังคม แรงกดดัน จากกลุม ฯลฯ) • ปจจัยดานโครงสราง (ความรู ประสบการณเกี่ยวกับโรคนั้น ฯลฯ)

การรับรูบุคคล

• การรับรูโอกาสเสี่ยงตอ ปญหาสุขภาพ • การรับรูความรุนแรง ของปญหาสุขภาพ

ความเปนไปไดของการปฏิบัติ

การรับรูภาวะถูกคุกคาม จากปญหาสุขภาพ

• • • • •

ปจจัยกระตุนการปฏิบัติ การรณรงคผานสื่อตางๆ คําแนะนําจากผูอื่น การเตือนจากเจาหนาที่ ความเจ็บปวยของคนในครอบครัว หรือเพื่อน ขอมูลจากสื่อตาง ๆ

การรับรูประโยชนของการ ปฏิบัติหักลบดวยการรับรู อุปสรรคของการปฏิบัติ

ความเปนไปไดของการมี พฤติกรรมตามที่ไดรับการ เสนอแนะ

ภาพที่ 2.3 องคประกอบของแบบจําลองความเชื่อดานสุขภาพ ที่มา : วัลลา ตันตโยทัย (2543) “ทฤษฎีที่ใชในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ” ใน สมจิต หนุนเจริญกรุง วัลลา ตันตโยทัย และรวมพร คงกําเนิด บรรณาธิการ การสงเสริม สุขภาพ แนว คิด ทฤษฎี และการปฏิบัติการพยาบาล หนา 31 กรุงเทพมหานคร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

26 3.2 ทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อปองกันโรค (The Protection Motivation) ทฤษฎีแรงจูงใจ เพื่อปองกันโรคมีขึ้นครั้งแรกในป ค.ศ. 1975 โดยโรแนลด ดับบริล โรเจอรส (Ronald W. Rogers) ตอมาถูกปรับปรุงแกไขใหมและนํามาใชในป ค.ศ. 1983 ซึ่งเริ่มตนจากการนําการกระตุนดวยความ กลัวมาใช โดยเนนความสําคัญรวมกันระหวาง แบบแผนความเชื่อดานสุขภาพ (Health Belief Model) และทฤษฎีความคาดหวังในความสามารถของตนเอง (Self Efficacy Theory) คือ การรวม เอาปจจัยที่ทําใหเกิดการรับรูในภาพรวมของบุคคล ซึ่งจะเชื่อมโยงไปสูการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ และพฤติกรรม ทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อปองกันโรคนี้ไดเนนเกี่ยวกับการประเมินการรับรูดานขอมูล ขาวสารในการเผยแพรสื่อสาร การประเมินการรับรูนี้มาจากสื่อกลางที่ทําใหเกิดความกลัว ซึ่ง ขึ้นอยูกับจํานวนสื่อที่มากระตุน และในการตรวจสอบการประเมินการรับรู โรเจอรส (Rogers) ได กําหนดตัวแปรที่ทําใหบุคคลเกิดความกลัว 3 ตัวแปร คือ ความรุนแรงของโรค (noxiousness) การ รับรูโอกาสเสี่ยงของการเปนโรค(perceived probability) ความคาดหวังในประสิทธิผลของการ ตอบสนอง (response efficacy) มีรายละเอียดสรุปไดดังนี้ (กองสุขศึกษา 2542: 35-42) 1. ความรุนแรงของโรค (Noxiousness) สามารถพัฒนาไดจากการขูวาถากระทํา หรือไมกระทําพฤติกรรมบางอยางจะทําใหบุคคลไดรับผลรายแรงโดยการใชสื่อเปนสิ่งสําคัญใน การเผยแพร ขาวสารที่คุกคามตอสุขภาพ ลักษณะขอความที่ปรากฏเชน มีอันตรายถึงชีวิต หรือ บรรยายวาถาไมทําจะเกิดอันตรายรุนแรง บางครั้งการกระตุนหรือปลุกเรารวมกับการขูอาจสงผล ใหขอมูลนั้นมีลักษณะเดนชัดขึ้น กระบวนการประเมินการรับรูของบุคคลตอขาวสารที่เกิดขึ้นจะทํา ใหบุคคลรับรูถึงความรุนแรงของการเปนโรค 2. การรับรูตอโอกาสเสี่ยงของการเปนโรค (perceived probability) จะใชการ สื่อสารโดยการขูที่คุกคามตอสุขภาพ ซึ่งจะทําใหบุคคลเชื่อวาตนกําลังตกอยูในภาวะเสี่ยง นอกจากนั้นการรับรูตอโอกาสเสี่ยงของการเปนโรคยังขึ้นอยูกับการตัดสินใจของแตละบุคคลวาถา ไมปฏิบัติตนเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายที่เกิดขึน้ จะทําใหตนมีโอกาสเสี่ยงตอการเปนโรคได 3. ความคาดหวังในประสิทธิผลของการตอบสนอง (response efficacy) กระทําได โดยการนําเสนอขอมูลขาวสารที่เกี่ยวกับการปฏิบัติตนเพื่อลดโอกาสเสี่ยงตอการเปนโรค ซึ่งเปน การสื่อสารที่ทําใหบุคคลเกิดความกลัวเกี่ยวกับสุขภาพ โดยปกติการนําเสนอขอมูลในรูปแบบของ การปรับและ / หรือ ลดพฤติกรรมที่ไมถูกตอง มีการวิจยั พบวา การเพิม่ ความคาดหวังในผลที่ เกิดขึ้นรวมกับความตั้งใจจะทําใหเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยเฉพาะในกรณีที่บุคคลรูวาตน กําลังเสี่ยงตอการเปนโรค แตเมื่อบุคคลนั้นถูกคุกคามตอสุขภาพอยางรุนแรงและไมมีวิธีใดที่จะลด การคุกคามนัน้ ลงไดอาจทําใหบุคคลขาดที่พึ่ง วิธีการสอนที่มีความเฉพาะเจาะจงจะชวยใหบุคคล เกิดความตั้งใจที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอยางจริงจัง โดยที่วิธีการสอนที่มีความเฉพาะเจาะจง จะมี

27 รายละเอียดเพือ่ กระตุนเตือนความรูสึกหรือรับรูตอความสามารถของตนเองใหการปฏิบัติตามมาก ขึ้น ตอมา แมดดุก ซ(Maddux) และโรเจอรส(Rogers) ไดเพิ่มตัวแปรอีกหนึง่ ตัวแปร คือ ความคาดหวังในความสามารถของตนเอง (self-efficacy expectancy) ซึ่งมาจากทฤษฎีความ คาดหวังในความสามารถของตนเองของแบนดูรา (Bandura) ซึ่งแบนดูราเชื่อวาความสามารถของ ตนเองทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับสูง และเปนพืน้ ฐานที่ทําใหบุคคลปฏิบัติตามอยางแทจริง และการที่บุคคลจะปฏิบัติตามคําแนะนํานัน้ เนื้อหาของขาวสารควรจะมีผลใหในการชวยใหบุคคล ปฏิบัติตามได จากวิวัฒนาการของทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อการปองกันโรค โรเจอรส (Rogers) ได พยายามปรับปรุงโดยการนําตัวแปรทั้ง 4 ตัว มาสรุปเปนกระบวนการรับรู 2 แบบ คือ 1. การประเมินอันตรายตอสุขภาพ (Threat Appraisal) ประกอบดวยการรับรูสอง ลักษณะ คือ การรับรูในความรุนแรงของโรค และการรับรูโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรค ซึ่งการรับรูนี้ จะนําไปสูการเปลี่ยนแปลงดานพฤติกรรม อีกทั้งอาจสงผลใหใหบุคคลเกิดการปรับตัวสนองตอบ หรือเกิดพฤติกรรมสุขภาพทั้งที่พึงประสงค เชนการเลิกสูบบุหรี่ หรือเกิดพฤติกรรมสุขภาพที่ไมพงึ ประสงค เชน การเริ่มสูบบุหรี่ ปจจัยสําคัญที่ชวยสงเสริมใหมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไมพึง ประสงคคือความพึงพอใจในตนเอง(Intrinsic rewards) และความพึงพอใจภายนอก (extrinsic rewards) เชนการเปนที่ยอมรับในสังคม 2. การประเมินการเผชิญปญหา (coping response) ประกอบดวยการรับรู มี 2 ลักษณะ คือ การรับรูเกี่ยวกับความคาดหวังในประสิทธิผลของการตอบสนอง (response efficacy) และความ ความคาดหวังในความสามารถของตนเอง (self efficacy) ในการหลีกเลี่ยงอันตรายใหสําเร็จลงได เปนปจจัยที่สําคัญซึ่งทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ไมพึงประสงค แตสิ่งที่ทําใหความ คาดหวังในประสิทธิผลของการตอบสนองลดลงคือ ความไมสะดวก คาใชจาย ความไมนาชื่นชม ความยากลําบาก ความสับสนยุงยาก กระบวนการรับรูดังกลาวเกิดจากอิทธิพลของแหลงขาวสาร คือ สิ่งแวดลอม การ พูดชักชวน การเรียนรูจากการสังเกต และลักษณะหรือประสบการณที่บคุ คลไดรับ

28

4. งานวิจัยที่เกี่ยวของ การวิจยั ในครัง้ นี้ผูวิจยั ไดทําการศึกษางานวิจัยทีเ่ กีย่ วของกับการรับรูสารสนเทศและ แหลงสารสนเทศดานสุขภาพ ดังนี้ ศิวรา เธียระวิบูลย (2541) ไดศึกษาวิจยั เรือ่ ง “การประยุกตทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อปองกัน โรครวมกับแรงสนับสนุนทางสังคมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมปองกันโรคไขเลือดออกของกลุม แมบาน อําเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี” ซึ่งเปนการวิจัยกึ่งทดลองเพื่อศึกษาประสิทธิผลของ โปรแกรมสุขศึกษาในพฤติกรรมการปองกันโรคไขเลือดออกของกลุม แมบาน โดยประยุกตทฤษฎี แรงจูงในการปองกันโรคกับแรงสนับสนุนทางสังคมมาเปนแนวทางกําหนดกิจกรรมใหสุขศึกษา ซึ่งประกอบดวยการอภิปรายกลุม การรณรงค การจัดนิทรรศการ การกระตุนเตือนดวยจดหมาย และรถประชาสัมพันธเคลื่อนที่ ผลการวิจยั พบวาหลังการทดลองและระยะติดตามผล กลุมทดลอง มีการรับรูความรุนแรงของโรคไขเลือดออก มีการรับรูโอกาสเสี่ยงตอการเกิดโรคไขเลือดออก มี ความคาดหวังในความสามารถของตนเอง มีความคาดหวังในประสิทธิผลการสนองตอบ มีความ ตั้งใจที่จะมีพฤติกรรมและมีพฤติกรรมในการปองกันโรคไขเลือดออกดีกวากอนทดลอง และดีกวา กลุมเปรียบเทียบแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และพบวาการรับรูโอกาสเสี่ยงไมมี ความสัมพันธกับความตั้งใจที่จะมีพฤติกรรมการปองกันโรค สวนการรับรูความรุนแรง ความ คาดหวังในความสามารถของตนเอง ความคาดหวังในประสิทธิผลการสนองตอบมีความสัมพันธ กับความตั้งใจที่จะมีพฤติกรรมการปองกันโรคไขเลือดออกอยางมีนยั สําคัญทางสถิติ สวนอายุ ระดับการศึกษาและรายไดครอบครัวไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันโรคไขเลือดออก ซึ่งสรุปวา การจัดโปรแกรมสุขศึกษาโดยประยุกตทฤษฎีแรงจูงในเพือ่ ปองกันโรครวมกับแรง สนับสนุนทางสังคมมีประสิทธิผลทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการปองกันโรค ไขเลือดออกได สุภัทรา สมบัติ (2543) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง “ประสิทธิผลของการประยุกตทฤษฎี แรงจูงใจเพื่อการปองกันโรครวมกับกระบวนการกลุมตอพฤติกรรมการปองกันโรคไขเลือดออก ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน ตําบลกุฏโงง อําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี” ซึ่งเปน การวิจยั กึ่งทดลองเพื่อศึกษาประสิทธิผลของการประยุกตทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อการปองกันโรค รวมกับกระบวนการกลุมตอพฤติกรรมการปองกันโรคของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน โดยกําหนดกิจกรรมไดแก การอภิปรายกลุม การใหคําแนะนําประชาชน การประกวดหมูบานดีเดน ดานการปองกันควบคุมโรคไขเลือดออก โดยมีกลุมตัวอยางคือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจํา หมูบาน และประชาชนทั่วไป ผลการวิจัยพบวา หลังการทดลองอาสาสมัครสาธารณสุขประจํา

29 หมูบานมีการรับรูความรุนแรงและการรับรูโอกาสเสี่ยงตอการเปนโรคไขเลือดออกสูงกวากอนการ ทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ความคาดหวังในประสิทธิผลตอบสนองตอการเปนโรค ไขเลือดออกและคะแนนการปฏิบัติในการปองกันโรคไขเลือดออกสูงกวากอนทดลองอยางมี นัยสําคัญทางสถิติ ความหวังในความสามารถของตนเองตอการปองกันโรคไขเลือดออกสูงกวา กอนทดลองแตไมมีนัยสําคัญทางสถิติ คะแนนในการปฏิบัติในการปองกันโรคไขเลือดออกของ ประชาชนสูงกวากอนการทดลองอยางมีนยั สําคัญทางสถิติ หลังทดลองคาดัชนีวัดความชุกลูกน้ํา ยุงลาย (BI.) ลดลง แสดงวาการประยุกตทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อการปองกันโรครวมกับกระบวนการ กลุมทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการปองกันโรคของอาสาสมัครสาธารณสุขประจํา หมูบานและประชาชนดีขึ้น ธีระศักดิ์ มักคุน และคณะ (2543) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง “ผลการจัดกิจกรรมสุขศึกษา รวมกับการใหแรงสนับสนุนทางสังคมจากอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน ตอความรูและ พฤติกรรมของแกนนําสุขภาพครอบครัว ในการปองกันโรคไขเลือดออกและอุจจาระรวงจังหวัด ตรัง” โดยใชรปู แบบการวิจัยกึ่งทดลอง ไดทํากิจกรรมสุขศึกษาแบบกระบวนการกลุม และใชสื่อ ประเภทวีดีทัศน ของจริง แผนพับโปสเตอร เพื่อใหความรูแกกลุมตัวอยางที่เปนแกนนําสุขภาพ ประจําครอบครัว และใชอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานเปนแรงสนับสนุนดานสังคม เพื่อทํา ใหกลุมตัวอยางเกิดการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมในการปองกันโรคไขเลือดออกและอุจจาระรวง ผลการศึกษาวิจัยพบวา สามารถทําใหกลุมแกนนําสุขภาพประจําครอบครัวในกลุมทดลองมีการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปองกันโรคไขเลือดออกและโรคอุจจาระรวงถูกตองขึ้นอยางมี นัยสําคัญทางสถิติ ในดานความรู การรับรูความเสี่ยง ความรุนแรง และผลดีตอการปฏิบัติตาม คําแนะนําของเจาหนาทีใ่ นดานการปองกันโรคและพฤติกรรมการปองกันโรค อีกทั้งยังพบวา ความรูและการรับรูดานตาง ๆและการไดรบั การสนับสนุนจากอาสาสมัครประจําหมูบ านมี ความสัมพันธกับการปฏิบัติในการปองกันโรคไขเลือดออกและโรคอุจจาระรวง ของแกนนําสุขภาพ ประจําครอบครัวอยางมีนยั สําคัญทางสถิติ กุลยา เบียประดิษฐ (2544) ไดศึกษาวิจยั เรือ่ ง “การศึกษาแนวทางในการปองกันและ ควบคุมโรคไขเลือดออกดวยวิธีการมีสวนรวมของประชาชนในพืน้ ที่เสี่ยงสูง” โดยใชวิธีการวิจยั เชิงคุณภาพ เก็บขอมูลโดยการสํารวจ สังเกตพฤติกรรมที่เกี่ยวของเกีย่ วกับโรคไขเลือดออก สัมภาษณระดับลึก และการสนทนากลุม กลุมตัวอยาง คือ ผูมีบทบาทดานสุขภาพในครัวเรือน ผูนําชุมชน และเจาหนาที่สาธารณสุขผูรับผิดชอบงานสาธารณสุข และอาสาสมัครสาธารณสุข ผลการศึกษาพบวา 1. กลุมตัวอยางไดใหความหมายของโรคไขเลือดออกวา เปนโรคที่มีสาเหตุมาจาก

30 ยุงลาย มีอาการไขตัวรอนและมีความรุนแรงทําใหเสียชีวติ ไดถาไดรับการรักษาที่ไมถูกตอง 2. กลุมตัวอยางมีความเชื่อผิดวายุงลายเกิดมาจากแหลงน้าํ ที่อยูภายนอกบริเวณบาน มากกวาในบาน และน้ําที่มกี ารถายเทบอย ๆ จะทําใหไมเกิดลูกน้ํา สงผลใหกลุมตัวอยางมี พฤติกรรมการใชน้ําไมเหมาะสม เชน ปกปดภาชนะกักเก็บน้ําไมสนิท และการปดภาชนะกักเก็บ น้ํามีวัตถุประสงคเพื่อปองกันสิ่งสกปรกและสิ่งมีชีวิตตกลงไปตาย ไมปกปดภาชนะที่กักเก็บน้ําใช 3. การปองกันการเกิดโรคและกําจัดลูกน้าํ ยุงลายเปนสวนนอยและไมครอบคลุม ภาชนะที่ใชกกั เก็บน้ําที่มีอยูใ นครัวเรือน 4. การดําเนินงานของเจาหนาที่สาธารณสุขในการปองกันโรคไขเลือดออกในพื้นที่ เปนการทํางานเชิงรับไมสามารถนํานโยบายของรัฐที่เนนการมีสวนรวมไปสูการปฏิบัติได ขาดการ ควบคุมกํากับและการประเมินผลอยางจริงจัง 5. การทํางานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน เปนการทํางานตามคําสั่ง ของเจาหนาทีส่ าธารณสุข ไมไดคิดริเริ่มเอง และการทํางานดานสุขศึกษาประชาสัมพันธของ อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานปฏิบัติไดนอยเพราะขาดความมัน่ ใจและไมมีเวลา 6. การถายทอดความรู รูปแบบการปองกันและควบคุมโรคของชุมชนที่ใหผลดี คือ การจัดตั้งกลุมแกนนํารับผิดชอบในการดําเนินงานปองกันและควบคุมโรค จัดแหลงใหความรู เกี่ยวกับโรคไขเลือดออกในชุมชนและมีการประเมินผลโดยชุมชน ผูวิจัยไดใหขอเสนอแนะในงานวิจยั ครั้งนี้คอื การใหสุขศึกษาแกประชาชนตองเนน การปรับเปลี่ยนความคิด ความเชื่อเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกที่ถูกตองและปลูกจิตสํานึกในการ ปองกันและควบคุมโรคใหเปนหนาที่ของประชาชนที่จะตองปฏิบัติอยางสม่ําเสมอ ใหมีการ ปรับเปลี่ยนวิธกี ารทํางานของเจาหนาที่สาธารณสุขตามแนวคิดการมีสวนรวมในการพัฒนา และ ปรับเปลี่ยนระบบคิดของประชาชนใหวางแผนและแกปญ  หาโดยชุมชน ดวงผา วานิชรักษ (2544) ไดศึกษาวิจยั เรือ่ ง “รูปแบบการมีสวนรวมของชุมชนในการ ปองกันโรคและควบคุมโรคไขเลือดออกในเขตอําเภอบางพลี จังหวัดนครนายก” โดยใชรูปแบบ การวิจยั กึ่งทดลองโดยการประยุกตแนวคิดแบบแผนความเชื่อทางดานสุขภาพรวมกับแรง สนับสนุนทางสังคม การมีสวนรวมและการเรียนรูแบบสรางพลัง (Empowerment) กลุมทดลอง ไดรับความรูเรื่องโรค การติดตอ การรักษา และเกิดการปฏิบัติในการปองกันและควบคุมโรคโดย อาศัยกระบวนการมีสวนรวมของชุมชน มีการวิเคราะหสภาพปญหา กําหนดกิจกรรมเพื่อ ดําเนินการปองกันและควบคุมโรคในชุมชน เพื่อสงผลไปยังประชาชนซึ่งเปนตัวแทนในแตละ ครัวเรือน ผลการวิจยั พบวา ภายหลังการทดลองกลุมทดลองมีระดับความรูเรื่องโรคไขเลือดออก การรับรูโอกาสเสี่ยงตอการเกิดโรค การรับรูความรุนแรงของโรค การรับรูผลดีของการปฏิบัติตาม

31 คําแนะนําของเจาหนาที่สาธารณสุขและการรับรูปญหาอุปสรรคในการมีพฤติกรรมการปฏิบัติใน การปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก และคาดัชนีความชุกชุมของลูกน้ํายุงลายที่ บาน วัด และ โรงเรียน ดีขึ้นกวากอนการทดลอง และดีกวากลุมเปรียบเทียบอยางมีนยั สําคัญทางสถิติ ประจวบ แหลมหลัก (2547) ไดศึกษาวิจยั เรื่อง “การพัฒนากระบวนการเรียนรู ทางการศึกษานอกระบบโรงเรียนโดยใชแนวคิดการเรียนรูจากการปฏิบัติเพื่อสงเสริมการปฏิบัติงาน ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน” ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อวิเคราะหปญหาในการปฏิบัติตาม บทบาทหนาทีข่ องอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) และพัฒนากระบวนการเรียน ทางการศึกษานอกระบบโรงเรียนเพื่อสงเสริมการปฏิบัติงานของ อสม. ตามแนวคิดทฤษฎีการ เรียนรูจากการปฏิบัติ และศึกษาปญหาของการดําเนินการตามกระบวนการเรียนรูทางการศึกษา นอกระบบโรงเรียนที่ไดพัฒนาขึ้น ประชากรในการศึกษาครั้งนี้คือ อสม. มีขั้นตอนการวิจยั แบงเปน 3 ระยะ ระยะแรกเปนการศึกษาปญหาการปฏิบัติงานของ อสม. ระยะที่สองเปนการ พัฒนากระบวนการเรียนรูแ ละทดลองใชกระบวนการเรียนรูใน อสม. ระยะที่สามเปนการศึกษา ปญหาการดําเนินการตามขัน้ ตอนของกระบวนการเรียนรู ผลการวิจยั ที่สําคัญพบวา เมื่อนําปญหา มาใสเปนเนื้อหากิจกรรมตามขั้นตอนของกระบวนการเรียนรูที่แบงเปน 8 ขั้นตอนหลักคือ การ เตรียมความพรอม การปฐมนิเทศ การระบุปญหาที่แทจริง การคนหาสาเหตุของปญหา การคนหา และตัดสินทางเลือกในการแกปญหา การจัดทําแผนปฏิบตั ิ การดําเนินการตามแผน และการ นําเสนอผลการปฏิบัติงาน ระหวางการดําเนินการแตละขั้นตอนผูวิจยั ผูอํานวยความสะดวกประจํา กลุม และเจาหนาที่สถานีอนามัย จะเปนผูสนับสนุนการการดําเนินการ จน อสม. เกิดเรียนรูและ ปฏิบัติงานไดตามเปาหมาย หลังการทดลองแลว อสม. มีความรูเรื่องโรคความดันโลหิตสูง มี ทักษะในการคัดกรองและดูแลผูปวย และสามารถคัดกรองกลุมเสี่ยงในเขตรับผิดชอบสูงกวากอน ดําเนินการอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ อเนกพล เกื้อมา และคณะ (2547) ไดจดั ทํา “โครงการศึกษาความตองการดาน สารสนเทศของประชาชนในการสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรคภายใตระบบประกันสุขภาพ” โดยทําการศึกษาในกลุมเปาหมาย 3 กลุม คือ กลุมโครงการ 30 บาท กลุมประกันสังคม และกลุม สวัสดิการขาราชการและรัฐวิสาหกิจ มีผลการศึกษาที่เกีย่ วกับแหลงสารสนเทศดานสุขภาพ สรุปได วา ชองทางการเขาถึงสารสนเทศในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ศึกษาไดแก 1. สื่อโทรทัศน โดยที่ประชาชนในกลุมคนที่มีวัยและอาชีพที่แตกตางกันจะมีชวงเวลา ในการเปดรับสารที่แตกตางกัน 2. สื่อบุคคล โดยที่ประชาชนในกลุมวัยเด็กใชสื่อบุคคล ซึ่งไดแก พอ แม ผูปกครอง เพื่อนบาน และในกลุมวัยสูงอายุจะใชสื่อบุคคล ไดแก เจาหนาที่อนามัย อสม. แพทย เภสัชกร

32 พยาบาล ซึ่งประชาชนจะมีความตองการสารสนเทศเกี่ยวกับสุขภาพจากสื่อบุคคลมากที่สุดเพราะ สามารถใหสารสนเทศสุขภาพที่ตรงกับปญหาสุขภาพและความตองการของแตละบุคคลได 3. สื่อทองถิ่น ไดแก เสียงตามสาย และหอกระจายขาว ปรีชา อุปโยคิน และคณะ (2548) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง “การรับรูและเขาถึงสื่อ สาธารณสุขในจังหวัดเชียงราย” มีผลการศึกษาที่เกีย่ วของกับแหลงสารสนเทศดานสุขภาพ ดังนี้ 1. สื่อที่ไดรับความนิยมจากประชาชน แบงตามประเภทของสื่อ ดังนี้ 1.1 สื่อหนังสือพิมพที่ไดรับความนิยม จําแนกเปนหนังสือพิมพรายวัน ระดับประเทศ ไดแก หนังสือพิมพไทยรัฐ เดลินิวส และคมชัดลึก หนังสือพิมพระดับทองถิ่น ไดแก หนังสือพิมพเชียงรัฐ เชียงรายนิวส และสื่อเชียงราย โดยนิยมอานคอลัมนเกี่ยวกับสุขภาพ ปญหาสุขภาพ และความเจ็บปวย และการตอบปญหาทางการแพทยในหนังสือพิมพไทยรัฐ เดลินิวส ขาวสด 1.2 สื่อนิตยสารเกีย่ วกับสุขภาพ ไดแก นิตยสารใกลหมอ นิตยสารชีวจิต นิตยสาร หมอชาวบาน 1.3 สื่อโทรทัศนที่ไดรับความนิยม คือ ชอง 3 ชอง 7 และชอง 9 แตรายการ เกี่ยวกับสุขภาพที่กลุมตัวอยางนิยมชมเปนรายการในชอง 7 ชอง 3 และชอง 5 รายการโทรทัศนที่ ไดรับความนิยมในแตละชอง คือ ชอง 3 คือ รายการ ผูหญิง ผูหญิง ชอง 5 คือ รายการบานเลขที่ 5 ชอง 7 คือ รายการครบเครื่องเรื่องผูหญิง ชอง 9 คือ รายการหมอสุรพล ชอง 11 คือ รายการ หนาตางสุขภาพ และชองไอทีวี คือ รายการ Health Station 2. สื่อที่ประชาชนรับรูขอมูลดานสุขภาพ พบวาประชาชนไดรับขอมูลขาวสารดาน สุขภาพจากสือ่ ตอไปนี้เรียงจากมากไปหานอย คือ โทรทัศน หนังสือพิมพ วิทยุ สื่อบุคคล นิตยสาร/วารสาร หอกระจายขาว แผนพับ ใบปลิวและโปสเตอร และประชาชนไดแสดงความ คิดเห็นวา สื่อจะตองมีความชัดเจน มีปริมาณขอมูลขาวสารดานสุขภาพที่มาก ซึ่งขอมูลขาวสารมีผล ตอความเขาใจและการดูแลสุขภาพของตนเอง 3. สื่อบุคคลเปนสื่อที่ประชาชนใหความเชือ่ ถือ โดยเฉพาะเจาหนาที่สาธารณสุข เปน สื่อที่ประชาชนใหความเชื่อถือมากที่สุด เพราะเมื่อมีปญหาดานสุขภาพประชาชนจะเลือกปรึกษา กับเจาหนาที่สาธารณสุข ซึ่งไดแก แพทย พยาบาล และเจาหนาที่สาธารณสุข เปนลําดับแรก รองลงมาจะปรึกษา เพื่อน หรือ ญาติ และหาขอมูลจากเอกสารและสื่อหนังสือพิมพ 4. การสื่อสารผานสื่อมวลชนมีขอจํากัดและมีผลตอการรับรู การสรางความตระหนัก ตอสุขภาพ

33 วาสนา จันทรสวาง และคณะ (2548) ไดศกึ ษาวิจัย เรื่อง “กระบวนการสื่อสารการ รณรงคดานสุขภาพ” โดยทําการศึกษาโครงการที่รณรงคเกี่ยวกับการสรางเสริมสุขภาพตาม นโยบาย 5 อ. คือ อาหาร การออกกําลังกาย อารมณ อโรคยา และอนามัย ใชวิธีวิจยั เชิงปริมาณใน การศึกษาโครงการจํานวน 106 โครงการและใชวิธวี ิจัยคุณภาพในการศึกษาโครงการจํานวน 20 โครงการ สรุปผลการวิจัยไดดังนี้ 1. กระบวนการสื่อสารรณรงคดา นสุขภาพขององคกรตาง ๆ สวนใหญเปนการสื่อสาร แบบสองทาง เนื้อหาเปนเรื่องออกกําลังกาย การเผยแพรความรูและจิตสํานึกเรื่องสุขภาพและเรื่อง อาหาร สื่อที่ใชคือ สื่อบุคล สื่อเฉพาะกิจและสื่อมวลชน ผลของการรณรงคคือ กลุมเปาหมายสวน ใหญรับรูสนใจ ตระหนัก แตยังขาดจิตสํานึกและการปฏิบัติตนดานสุขภาพอยางตอเนื่อง 2. การสรางพลังการรณรงคใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผูสงสารจะตองมี ความรับผิดชอบสูง มีจิตสาธารณะ สารควรจะเปนเรื่องของสุขภาพองครวม สื่อที่ใชในการ รณรงคควรจะเปนสื่อบุคคลและสื่อผสม ผูรับสารควรจะเปนผูมีสวนรวมในการสื่อสารการรณรงค 3. ปจจัยที่มีผลตอการรณรงคดานสุขภาพ คือผูนํา แรงสนับสนุนทางสังคม งบประมาณ การมีสวนรวม และการสื่อสารแบบมีสวนรวม การสรางเครือขายและการสื่อสาร เครือขาย การสรางสุขภาพองครวมและการรณรงคสูชุมชน โดยชุมชนเปนศูนยกลาง หรือเปน สําคัญ ซารมา (Sharma 2005) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง “การวิเคราะห จุดแข็ง จุดออน โอกาสการ พัฒนา และภาวะคุกคามในการใหสุขศึกษาในประเทศอินเดีย” โดยการศึกษาเอกสารจาก ฐานขอมูลตาง ๆ ผลการศึกษาสรุปไดวา จุดแข็งของการใหสุขศึกษาในประเทศอินเดีย ประกอบดวย การมีโครงสรางการบริหารจัดการอยางเปนลําดับชั้น มีการฝกอบรม จนท.ในการ ใหสุขศึกษาเปนอยางดี มีการกระจายสารสนเทศจากแหลงสารสนเทศสูประชาชนอยางทั่วถึง มี การสอนสุขศึกษาในโรงเรียน และมีความสามารถในการประเมินผลการปฏิบัติงานอยางเปนระบบ จุดออนของการใหสุขศึกษาประกอบดวย การที่นักสุขศึกษามุงเนนการใหความรูตามตําราเพียง อยางเดียว การใหสุขศึกษาไปไมถึงชนบทและพื้นที่ทุรกันดาน ไมมกี ารประกันคุณภาพของการให สุขศึกษา ไมมกี ารสงเสริมความกาวหนาของนักสุขศึกษา ไมมีการจัดการอยางเปนระบบ มีวิธีการ ฝกอบรมนักสุขศึกษาที่ลาสมัย โอกาสในการพัฒนาประกอบดวย วิถชี ีวิตของประชาชนที่เกีย่ วพัน กับสื่อพื้นบาน ปรับปรุงการมีสวนรวมของบุคคลที่เปนผูนําโดยออม เชน ผูนําศาสนา หมอพื้นบาน หมอตําแยใหดีขึ้น สรางระบบการใหสุขศึกษาแกผูปวย นําทฤษฎีมาประยุกตใชในการใหสุขศึกษา เชน การตลาดสังคม ใหแพทยมีสวนรวม และการจัดการการใหสุขศึกษาและนักสุขศึกษาในอินเดีย

34 ภาวะคุกคามทีม่ ีตอการใหสขุ ศึกษาประกอบดวย การประเมินผลการใหสุขศึกษาเปนการประเมิน ในดานเทคนิคการใหสุขศึกษาของนักสุขศึกษาไมไดประเมินพฤติกรรมของประชาชน การให สุขศึกษาในเรือ่ งตาง ๆ ตามโครงการเฉพาะแกชุมชนยังขาดการสรางเครือขายที่จะทําการกระจาย สารสนเทศลงชุมชนในระดับรากหญาใหเกิดการปฏิบัตไิ ด โฮแกน และ พาลเมอร (Hogan and Palmer 2005) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง “แหลง สารสนเทศที่กลุมผูปวยเอดสและผูติดเชื้อเอชไอวี (HIV/AIDS) ชื่นชอบและนําไปปฏิบัติ” โดย วิธีการสํารวจความคิดเห็นจากกลุมตัวอยางที่มารับบริการในสถานบริการสุขภาพของเมืองตาง ๆ ของประเทศสหรัฐอเมริกา สรุปผลการศึกษาที่เกีย่ วของกับแหลงสารสนเทศ ไดวา กลุมตัวอยางมี ความชื่นชอบในการไดรับขอมูลขาวสารโรคเอดสจาก แหลงบุคคล ไดแก ผูประกอบวิชาชีพ สาธารณสุข (health professionals) คนในครอบครัว และเพื่อน แหลงสารสนเทศโรคเอดสที่กลุม ตัวอยางเลือกใชมากที่สุด คือ แพทย รองลงมาคือ จนท.ผูใหคําปรึกษาแกผูติดเชื้อ (HIV-positive counselors) และนิตยสาร และแพทยเปนแหลงสารสนเทศโรคเอดส ที่กลุมตัวอยางเห็นวา มี ประโยชน ทําใหเกิดความเขาใจ นาเชื่อถือ และเขาถึงไดมากที่สุด ปราเดช (Pradesh 2006) ไดศึกษา “ผลการดําเนินงานอนามัยโรงเรียนในประเทศ อินเดีย” โดยไดศึกษาการทํางานตามกิจกรรมหลัก คือ การฝกอบรมครูในโรงเรียนใหมีความรูใน การตรวจคัดกรองปญหาสุขภาพนักเรียนและใชเครื่องมือในการตรวจคัดกรองและการใหการดูแล สุขภาพนักเรียนเบื้องตน และใหเจาหนาทีส่ าธารณสุขเขาไปแนะนําการใหสุขศึกษาของครูใน โรงเรียน และคัดกรองนักเรียนซ้ําเพื่อสงไปรักษาในสถานพยาบาล ผลการศึกษาที่สําคัญพบวา ยังมี ปญหาการดําเนินงานจําแนกได 2 สวนหลัก คือ ในสวนของกิจกรรมตามโครงการ และในสวนของ การบริหารจัดการโครงการ ปญหาที่พบในสวนของกิจกรรมตามโครงการคือ เจาหนาที่สาธารณสุข ไมไดทําการตรวจคัดกรองสุขภาพนักเรียนในโรงเรียนตามแผนงาน เนือ่ งจากขาดพาหนะเดินทาง ไปที่โรงเรียนและขาดการควบคุมกํากับการทํางาน และครูสวนใหญไมไดนําเครื่องมือในการคัด กรองและการใหการดูแลสุขภาพนักเรียนเบื้องตนมาใชในโรงเรียนหลังจากไดรับการฝกอบรมมา การใชงานมาแลว ปญหาในสวนของการบริหารจัดการโครงการคือ ขาดการประเมินสภาพปญหาที่ แทจริงกอนดําเนินโครงการ ขาดการทดลองดําเนินงานโครงการในโรงเรียนบางแหงกอนนํามาใช ในโรงเรียนทัง้ หมด ขาดระบบการติดตามและการเฝาระวังปญหาในการดําเนินโครงการ ระบบงานถูกออกแบบใหมกี ารประสานความรวมมือในการดําเนินงานจากหลายภาคสวน เชน กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ และองคกรที่ไมใชหนวยงานภาครัฐแตขาดการกําหนด บทบาทหนาทีท่ ี่ของแตละหนวยงานที่ชัดเจน ทําใหการดําเนินงานบางกิจกรรมไมไดผล เชน การ ใหเจาหนาที่สาธารณสุขที่ไมมีความรูในหลักสูตรการเรียนการสอนในโรงเรียนไปแนะนําครูใน

35 โรงเรียนในการสอนสุขศึกษาแกนกั เรียน หรือการทําการฝกอบรมครูโดยที่ไมเขาใจความตองการที่ แทจริงของครูซึ่งกิจกรรมนีค้ วรจะประสานงานใหกระทรวงศึกษาธิการดําเนินการเอง เปนตน แอนเคม (Ankem 2006) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง “การใชแหลงสารสนเทศของผูปวย โรคมะเร็ง” โดยใชวิธีการศึกษาวรรณกรรมอยางเปนระบบ สรุปผลการศึกษาไดวา แหลง สารสนเทศที่ผูปวยโรคมะเร็งใชมากที่สุดเรียงตามลําดับ คือ ผูประกอบวิชาชีพดานการดูแลสุขภาพ (health care professionals) จุลสารทางการแพทย คนในครอบครัวหรือเพื่อน แหลงสารสนเทศที่มี การใชนอยที่สดุ คือ อินเทอรเน็ต และกลุมสนับสนุน (support groups) แหลงสารสนเทศที่เปน ประโยชนตอผูปวยมากที่สดุ เรียงตามลําดับ คือ หนังสือ ผูประกอบวิชาชีพดานการดูแลสุขภาพ และจุลสารทางการแพทย ผูปวยที่มีอายุนอ ยจะใชแหลงสารสนเทศบุคคล (ผูประกอบวิชาชีพดาน การดูแลสุขภาพ) และแหลงสารสนเทศที่เปนเอกสาร มากกวาผูปว ยทีม่ ีอายุมาก โฮลมส และคณะ (Holmes et all 2006) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง “การสรางและการทํางาน ของสัมพันธมิตร (Coalitions) ที่มีประสิทธิผล” โดยศึกษาการสรางรูปแบบและการทํางานของ หนวยงานตาง ๆ ในประเทศแคนาดาที่ประสานความรวมมือกันเปนสัมพันธมิตรในการใหความรู เกี่ยวกับโรคหัวใจแกประชาชนในชุมชน ผลการศึกษาพบวา ในประเทศแคนาดามีการสราง สัมพันธมิตร หรือเครือขายในการกระจายสารสนเทศโรคหัวใจโดยมีการประสานความรวมมือและ ใหการสนับสนุนซึ่งกันตั้งแตหนวยงานระดับประเทศ หนวยงานระดับภาค และอื่น ๆที่เกี่ยวของ กับการใหความรูโรคหัวใจแกประชาชน เพื่อใหการสนับสนุนชุมชนในดาน การสื่อสาร การ ฝกอบรม การสนับสนุน และทรัพยากร แกอาสาสมัครของชุมชน ใหสามารถพัฒนานโยบาย และ ใหความรูใ นการสงเสริมสุขภาพเพื่อปองกันโรคหัวใจแกประชาชนในชุมชนได จากการศึกษางานวิจยั ดังกลาวขางตนสรุปไดดังนี้ 1. ประชาชนสวนใหญมีการรับรูเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกวา เปนโรคที่อาการรุนแรง ทําใหผูปวยเสียชีวิตได สาเหตุมาจากยุงลาย แตการปองกันโรคและกําจัดยุงลายทําไดไมครอบคลุม และยังขาดความรวมมือจากชุมชน 2. พฤติกรรมในการปองกันโรคไขเลือดออกของประชาชน เปนผลมาจากการรับรูถึง ความเสี่ยงตอการเกิดโรค ความรุนแรงของโรค ความคาดหวังในความสามารถของตนเองในการ ปองกันโรค และความคาดหวังตอประสิทธิผลในการสนองในกิจกรรมในการปองกันโรค 3. การใหสุขศึกษาแกประชาชนเพื่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการปองกัน โรคไขเลือดออกจําเปนตองมีการนําทฤษฎีที่ใชในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เชน ทฤษฏี แบบจําลองความเชื่อดานสุขภาพ (Health Belief Model) หรือ ทฤษฎีแรงจูงใจในการปองกันโรค (The Protection Motivation) รวมกับกระบวนการกลุม หรือ แรงสนับสนุนทางสังคม หรือ การมี

36 สวนรวมและการเรียนรูแบบสรางพลัง (Empowerment) มาประยุกตใชโดยมีเจาหนาที่สาธารณสุข หรือ อสม. เปนแรงสนับสนุนทางสังคม จะสามารถทําใหประชาชนเกิดการรับรูและเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมในการปองกันโรคที่ดีขึ้นได 4. แหลงสารสนเทศดานสุขภาพของประชาชน จําแนกได 3 ประเภทคือ ประเภท สื่อสารมวลชน ไดแก โทรทัศน วิทยุ ประเภทสื่อสิ่งพิมพ ไดแก หนังสือ วารสาร แผนพับ ประเภท สื่อบุคคล ไดแก ผูประกอบวิชาชีพสุขภาพ เชน แพทย เภสัชกร พยาบาล และเจาหนาที่ทํางาน เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพทั่วไป เชน เจาหนาที่สาธารณสุข และประชาชนผูทําหนาที่เปนอาสาสมัคร คือ อสม. และแหลงสารสนเทศที่ประชาชนใหความเชือ่ ถือและใชงานมากที่สุด คือ สื่อบุคคล โดย ใหความเชื่อถือและใชขอมูลจากผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพมากทีส่ ุด 5. โครงการรณรงคเกี่ยวกับการสงเสริมสุขภาพในระดับประเทศที่หนวยงานตาง ๆ ได จัดทําขึ้นมีผลทําใหประชาชนเกิดการรับรู และตระหนัก แตไมสามารถทําใหเกิดจิตสํานึกและมีการ ปฏิบัติอยางตอเนื่องได และปจจัยที่มีผลตอการรณรงคดา นสุขภาพ คือ การสรางเครือขายและการ สื่อสารเครือขาย การสรางสุขภาพองครวมและการรณรงคสูชุมชน โดยใชชุมชนเปนศูนยกลาง

บทที่ 3

วิธีดําเนินการวิจัย 1. ระเบียบวิธีวิจัย ระเบียบวิธีวิจยั ในการวิจยั ในครั้งนี้เปนวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) และใช เทคนิคเก็บรวบรวมขอมูลเชิงคุณภาพหลายวิธี เนื่องจากเปนวิธีการทําใหเขาใจสภาพการณการรับรู สารสนเทศของประชาชนไดอยางลึกซึ้ง และทําความเขาใจกับขอมูลทีป่ รากฏไดอยางละเอียดและ รอบดานจากแหลงขอมูลหลายประเภทในพื้นที่ที่ทําการศึกษา เพื่อนํามาตรวจสอบ สรุป และ ตีความหมายเพื่อสรางองคความรูใหม ไดแก การสัมภาษณแบบเจาะลึก การสัมภาษณกลุมแบบ โฟกัส การศึกษาเอกสาร และการจัดทําแผนที่การกระจายตัวของแหลงสารสนเทศ มีรายละเอียด ดังนี้ 1.1 การสัมภาษณแบบเจาะลึก (in-depth interview) การสัมภาษณนี้มีหลักการที่ สําคัญ คือ ผูวิจัยไดกําหนดประเด็นกวาง ๆไวสําหรับเริม่ ตนการสนทนา และใหอิสระแกผูถูก สัมภาษณในการตอบคําถามตามไดตามตองการ เพื่อใหไดขอมูลที่เปนจริงตามทัศนะของผูถูก สัมภาษณทีละนอยโดยไมใชการชี้นําของผูสัมภาษณ ซึ่งมีขอดี คือ มีการโตตอบกันและเปด โอกาสใหแสดงทัศนะตอประเด็นที่ทั้งผูสมั ภาษณและผูถ ูกสัมภาษณทยี่ ังมีความเขาใจไมตรงกันได ทันที และไดขอมูลที่มีรายละเอียดและมีจํานวนมาก (จันทิมา เขียวแกว 2545: 294) การสัมภาษณ แบบเจาะลึกในการวิจัยครั้งนี้มีกลุมเปาหมาย คือ 1.1.1 ประชาชนที่อาศัยนอกพื้นที่ทําการศึกษา ที่มีสถานะภาพทีแ่ ตกตางกัน จํานวน 3 คน คือ ผูใหญบาน อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) และญาติของผูปวย โรคไขเลือดออกที่มารับบริการที่โรงพยาบาล โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสรางกรอบคําถามในการ สัมภาษณกลุมแบบเฉพาะเจาะจง (focus group interviewing) ซึ่งตอไปในรายงานการวิจัยนี้เรียกวา การสัมภาษณกลุมแบบโฟกัส (focus group interview) ประเด็นในการสัมภาษณ คือ ความรูเกีย่ วกับโรคไขเลือดออกเกี่ยวกับ อาการ ความรุนแรง ความเสี่ยงตอการปวย สาเหตุ การปองกันโรค และแหลงความรู หรือแหลง สารสนเทศใหความรูเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก 1.1.2 เจาหนาที่สถานีอนามัย (จนท.สอ.) โดยทําการสัมภาษณ จนท.สอ. ที่ ปฏิบัติงานในสถานีอนามัยที่รับผิดชอบหมูบานในพืน้ ทีท่ ี่ทําการศึกษาจํานวน 3 คน โดยมี

38 วัตถุประสงคเพื่อตองการทราบบทบาทของ จนท.สอ. ในฐานะทีเ่ ปนแหลงสารสนเทศที่ประชาชน ใหความสําคัญและใหความเชื่อถือมากที่สุด และเปนการสอบทานขอมูลแบบสามมิติ (triangulation) เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงและความนาเชื่อถือของขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณ กลุมแบบโฟกัส (จันทิมา เขียวแกว 2545: 308) ประเด็นในการสัมภาษณ ไดแก บทบาทของ จนท.สอ. และบทบาทของ อสม. ในการดําเนินการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก แหลงสารสนเทศที่ไดรับการสนับสนุน และการกระจายแหลงสารสนเทศ 1.2 การสัมภาษณกลุมแบบโฟกัส (focus group interview) วิธีนี้ใชเก็บขอมูล ประชากรกลุมตัวอยางที่เปนประชาชนในพื้นที่ทําการศึกษาจํานวน 3 หมูบาน หมูบา นละ 8-9 คน ใชระยะเวลาสัมภาษณครั้งละประมาณ 45 นาที เหตุผลที่เลือกใชวิธีนเี้ นื่องจากเปนกระบวนการ ศึกษาทางวิทยาศาสตร ทําใหไดขอมูลอยางมีคุณภาพและมีความหลากหลายและครบถวนมากขึ้น เพราะมีกระบวนการที่ทําใหสมาชิกในกลุม สนทนาเปดเผยขอมูลทั้งในดานความคิด ประสบการณ ทัศนะ ในแตละประเด็นที่อภิปรายมากขึน้ และทําใหผูวจิ ัยสามารถเรียนรูถึงเหตุผล แนวคิด ความรูสึก หรือทัศนะของผูรวมกลุมแตละคนจากประเด็นหัวขออภิปราย ทั้งในดานที่เหมือนและ แตกตางกันโดยไมจําเปนจะตองมีความรูในประเด็นอภิปราย (Morgan 1998 : 9-12) กรอบคําถามในการสัมภาษณกลุมแบบโฟกัส มาจากผลการสัมภาษณแบบ เจาะลึกในกลุม ประชาชนทีอ่ าศัยนอกพืน้ ที่ที่ทําการศึกษา มีประเด็นหลักคือ การรับรูสารสนเทศ เกี่ยวกับโรคไขเลือดออก และแหลงสารสนเทศเกีย่ วกับโรคไขเลือดออก 1.3 การศึกษาเอกสาร (review of documents) เหตุผลที่ผูวจิ ัยใชวิธีนี้เนื่องจาก การศึกษาเอกสารเปนวิธีการเก็บขอมูลทางออมจากเอกสารที่สําคัญ (unobtrusive method) ที่ทําให เขาใจปรากฏการณที่กําลังศึกษา และมีขอดี คือ การเก็บขอมูลไมตองวุนวายกับตัวบุคคล ผูวิจัยไม ตองเกี่ยวของกับผูถูกวิจยั และโดยทัว่ ไปผูถ ูกวิจยั ไมมีโอกาสที่จะรับรูถึงขอมูลดังกลาว (จันทิมา เขียวแกว 2545: 298) การวิจยั ในครั้งนี้ไดทําการศึกษาเอกสารโครงการ 4 ประสานตานภัยโรค ไขเลือดออกในสวนเกี่ยวกับบทบาทของ จนท.สอ และ อสม.ในการปองกันโรค เพื่อนําขอมูลมา วิเคราะหบทบาทของแหลงสารสนเทศ (จนท.สอ. และ อสม.) ใหมีความสมบรูณมากขึ้น 1.4 การจัดทําแผนที่การกระจายตัวของแหลงสารสนเทศ การจัดทําแผนที่แสดงใหเห็น ถึงการกระจายตัวของแหลงสารสนเทศและชองทางในการกระจายสารสนเทศในหมูบ าน เพื่อชวย ทําใหการนําเสนอผลการวิจยั มีความสมบรูณยิ่งขึ้น วิธีการจัดทําแผนที่โดยการสัมภาษณ จนท.สอ. และผูทําการวิจัยออกสํารวจพื้นที่จริง

39

2. ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรและกลุมตัวอยางในการศึกษาครัง้ นี้ คือ ประชาชนที่อาศัยในเขตอําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด ดังนี้ 2.1 ประชากรที่ศึกษา คือ ประชาชนซึ่งประกอบดวย บุคคลทั่วไป และบุคคลผูที่มี สถานภาพทางสังคมในตําแหนงอื่น ๆ ไดแก ผูใหญบาน ผูชวยผูใหญบาน อาสาสมัครสาธารณสุข ประจําหมูบาน (อสม.) สมาชิกองคการบริหารสวนตําบล (อบต.) ที่ทําหนาที่เปนหัวหนาครอบครัว หรือดูแลความเปนอยูของสมาชิกในครัวเรือนที่อาศัยอยูใ นเขตอําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด และ อาศัยอยูในเขตอําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด อยางตอเนือ่ งเปนเวลา 1 ปขึ้นไป ครัวเรือนละ 1 คน จํานวน 21,513 คน 2.2 กลุมตัวอยาง จําแนกเปนดังนี้ 2.2.1 กลุมตัวอยางที่ทําการสัมภาษณแบบเจาะลึกรายบุคคล คือ 1) ประชากรที่ อาศัยอยูในหมูบ านอื่นที่ไมใชหมูบานที่จะทําการสัมภาษณกลุมแบบโฟกัส จํานวน 3 คน ใชวิธีการ คัดเลือกโดยวิธีเจาะจงใหมีลกั ษณะที่คลายกันกับกลุมที่จะทําการสัมภาษณแบบโฟกัส 2) จนท.สอ. ที่ปฏิบัติงานในสถานีอนามัยที่รับผิดชอบหมูบานในพื้นที่ที่ทําการศึกษา (หมูบานทีท่ ําการสัมภาษณ กลุมแบบโฟกัส) จํานวน 3 คน โดยใชวิธกี ารคัดเลือกแบบสุม 2.2.2 กลุมตัวอยางที่จะทําการสัมภาษณกลุมแบบโฟกัส คือ ประชาชนที่อาศัยอยู ในหมูบานที่ผานการจัดกลุมเปน 3 กลุม ไดแก หมูบานเสี่ยงสูง หมูบานเสี่ยงปานกลาง และ หมูบานเสี่ยงต่าํ โดยคัดกรองใหเหลือกลุมละ 1 หมูบานจํานวนหมูบานละ 10 คน รวม 30 คน ซึ่ง ตอไปนี้ในงานวิจยั นี้เรียกวา “ผูรวมวิจยั ” 2.2.3 การคัดเลือกกลุมตัวอยาง ใชวิธีการคัดเลือกโดยวิธีเจาะจงโดยใชเกณฑการ คัดเลือกดังนี้ 1) การจัดกลุมหมูบาน ใชการเกิดโรค (มีผูปวย) และการระบาดของโรคใน พ.ศ. 2546 และ คา H.I. เฉลี่ยทั้งปเปนเกณฑในการจัดกลุม ดังนี้ (1) หมูบานเสี่ยงสูง คือ หมูบานที่มกี ารเกิดโรคและการระบาดของโรค ใน พ.ศ.2546 และมีคาH.I เฉลี่ยตลอดทั้งปมากกวา 10 (2) หมูบานเสี่ยงปานกลาง คือ หมูบานทีม่ ีการเกิดโรคในป พ.ศ.2546 แต ไมมีการระบาดตอเนื่อง และมีคา H.I. เฉลี่ยทั้งปอยูระหวาง 1-10 (3) หมูบานเสี่ยงต่ํา คือ หมูบานที่ไมมีการเกิดโรค หรือมีคา H.I.เฉลี่ยทั้ง ป พ.ศ. 2546 นอยกวา 1

40 2) การคัดกรองหมูบานในแตละกลุม ใหเหลือ 1 หมูบาน ใชอัตราการปวย และคา H.I. เฉลี่ยตลอดทั้งปเปนเกณฑดังนี้ (1) กลุมหมูบานเสี่ยงสูง เลือกหมูบานที่มีอัตราการปวยสูงสุด และใน กรณีมีหมูบานที่มีอัตราการปวยใกลเคียงกัน ใหเลือกหมูบ านที่มีคาH.I. เฉลี่ยตลอดทั้งปสูงสุด (2) กลุมหมูบานเสี่ยงปานกลาง ใชวธิ ีการคัดเลือกเชนเดียวกันกับขอ (1) (3) กลุมหมูบานเสี่ยงต่าํ เลือกหมูบานที่มีคา H.I. เฉลี่ยทั้งปนอยที่สุด 3) การคัดเลือกกลุมตัวอยางที่จะทําการสัมภาษณกลุมแบบโฟกัส ออกแบบ การคัดเลือกกลุมเปนแบบ Multiple-Category Design (KRUEGER and CASEY 2000: 31) ใช วิธีการคัดเลือกแบบเจาะจง โดยแบงกลุมเปนจํานวนหมูบ านละ 1 กลุม กลุมละ 10 คนใชเกณฑ การคัดเลือกดังนี้ (1) หมูบานเสี่ยงสูง เปนกลุม ตัวอยางที่มีสมาชิกในครัวเรือนเคยปวย เปนโรคไขเลือดออก (2) หมูบานเสี่ยงปานกลาง เปนกลุมตัวอยางที่มีสมาชิกในครัวเรือนเปน เด็กอายุระหวางแรกเกิด ถึง 14 ป อาศัยอยูดว ย ทั้งที่เคยปวยและไมเคยปวยดวยโรคไขเลือดออก (3) หมูบานเสี่ยงต่ํา เปนกลุมตัวอยางประกอบดวยผูที่มสี ภาพเปนผูนํา ทางสังคม ไดแก ผูใหญบาน อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) และ ประชาชนทั่วไป ตารางที่ 3.1 การออกแบบกลุมแบบ Multiple-Category Design เพื่อสัมภาษณกลุมแบบโฟกัส ประเภทหมูบาน หมูบานเสี่ยงสูง

ประเภทกลุม กลุมตัวอยางทีส่ มาชิกในครัวเรือนเคยปวยเปนโรค ไขเลือดออก หมูบานเสี่ยงปาน กลุมตัวอยางทีส่ มาชิกในครัวเรือนมีอายุระหวาง กลาง แรกเกิด ถึง 14 ป ทั้งที่เคยปวยและไมเคยปวยดวย โรคไขเลือดออก หมูบานเสี่ยงต่าํ กลุมตัวอยางทีเ่ ปนผูนําทางสังคม และประชาชน ทั่วไป

จํานวนกลุม (O =1 กลุม) O O

O

41

3. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชรวบรวมขอมูลในการวิจัย ไดแก 3.1 แบบสัมภาษณกลุมแบบโฟกัส แบบสัมภาษณนี้เปนแบบสัมภาษณแบบมี โครงสรางและเปนคําถามปลายเปด ประกอบดวยสวนที่ 1 ขอมูลทั่วไป และสวนที่ 2 คําถาม เกี่ยวกับการรับรูสารสนเทศ และแหลงสารสนเทศ (ภาคผนวก ก ) 3.2 แบบสัมภาษณแบบเจาะลึกรายบุคคล แบบสัมภาษณนี้เปนแบบสัมภาษณแบบมี โครงสรางปลายเปด ใชสัมภาษณ จนท.สอ. ประกอบดวยสวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของหมูบานที่ ทําการศึกษา และสวนที่ 2 คําถามเกี่ยวกับบทบาทหนาที่ แหลงสารสนเทศ และ การกระจายสือ่ สารสนเทศ (ภาคผนวก ข) 3.3 แบบวิเคราะหเนื้อหา ใชในการวิเคราะหขอมูลในการสัมภาษณรายบุคคล และ การสัมภาษณกลุมแบบโฟกัส (ภาคผนวก ค) 3.4 แบบบันทึกในการสัมภาษณรายบุคคล ไดแก แบบบันทึกรายละเอียดการ สัมภาษณ เทปเสียง 3.5 แบบบันทึกในการสัมภาษณกลุมแบบโฟกัส ไดแก แบบบันทึกชวยจําของ ผูดําเนินการสัมภาษณกลุมและผูชวย แบบบันทึกรายละเอียดการสัมภาษณ เทปเสียง 3.6 แบบแจกแจงขอมูล ใชในการแจกแจงลักษณะทั่วไปของกุลม ตัวอยาง และ แจกแจงความสําคัญของคําที่ไดจากการวิเคราะหเนื้อหา

4. การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ การตรวจสอบคุณภาพของแบบสัมภาษณรายบุคคล และสัมภาษณกลุมแบบโฟกัส มี ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาเนื้อหาทฤษฎี เอกสาร ตําราที่เกี่ยวของนํามาสรางแบบ สัมภาษณ ขั้นตอนที่ 2 ใหอาจารยที่ปรึกษาตรวจสอบความถูกตอง ความชัดเจนของภาษา การใชภาษา และความตรงของเนื้อหา ขั้นตอนที่ 3 นําไปทดลองสัมภาษณในกลุมที่ไมใชกลุมตัวอยาง และนํามา ปรับปรุงแกไขและใหอาจารยที่ปรึกษาตรวจสอบความถูกตองอีกครั้ง และนําไปใชในกลุมตัวอยาง

42

5. การดําเนินการวิจัย การดําเนินการวิจัยและการรวบรวมขอมูล มีสองขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การพัฒนา เครื่องมือที่ใชในการวิจัย และขั้นตอนที่ 2 การเก็บขอมูลการวิจัย มีรายละเอียดดังนี้ 5.1 ขั้นตอนที่ 1 การพัฒนาเครื่องมือที่ใชในการวิจัย ประกอบดวยการกําหนดพื้นที่ และการสัมภาษณแบบเจาะลึกรายบุคคล ดังนี้ 5.1.1 กําหนดพื้นที่ที่จะทําการสัมภาษณกลุมแบบเจาะลึกรายบุคคล การกําหนด พื้นที่ที่จะทําการสัมภาษณประชาชนในชวงเดือน มกราคม 2547 โดยวิธีเลือกหมูบานแบบเจาะจงที่ ไมใชหมูบานที่ทําการศึกษา แตอยูในพื้นที่อําเภอเสลภูมิ คือ บานทามวง หมูที่ 1 ตําบลทามวง บานหนองฟา หมูที่ 7 ตําบลโพธิ์ทอง และคุมโรงพยาบาล หมูที่ 7 ตําบลขวัญเมือง 5.1.2 การสัมภาษณแบบเจาะลึกรายบุคคล ดําเนินการดังนี้ 1) ผูวิจยั ทําหนังสือ ถึง จนท.สอ. ที่รับผิดชอบหมูบานที่จะทําการสัมภาษณ เพื่อขอความรวมมือใหแจงกลุมตัวอยางทราบถึง วัน เวลา และสถานที่ในการสัมภาษณรายบุคคล 2) ทําการสัมภาษณแบบเจาะลึกโดยผูวิจัย ในพืน้ ทีจ่ ํานวน 3 หมูบาน ดังนี้ - วันที่ 5 กุมภาพันธ 2547 สัมภาษณประชาชนที่เคยพาบุตรหลานเขารับ การรักษาพยาบาลดวยโรคไขเลือดออกที่โรงพยาบาลในรอบปที่ผานมา ที่คุมโรงพยาบาล หมูที่ 7 ตําบลขวัญเมือง อําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด - วันที่ 7 กุมภาพันธ 2547 สัมภาษณประชาชนผูทําหนาที่ผูใหญบาน ที่ หมูบานทามวง หมูที่ 1 ตําบลทามวง อําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด - วันที่ 9 กุมภาพันธ 2547 สัมภาษณประชาชนผูทําหนาที่เปน อสม. ที่ หมูบานหนองฟา ตําบลโพธิ์ทอง อําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด 5.1.3 รวบรวมขอมูลและประมวลผลเบื้องตน เพื่อนํามาทํากรอบคําถามในการ สัมภาษณกลุมแบบโฟกัส ในระหวางวันที่ 10 – 28 กุมภาพันธ 2547 5.2 ขั้นตอนที่ 2 การเก็บขอมูลการวิจัย ประกอบดวย การกําหนดพื้นที่หมูบานเพื่อ สัมภาษณกลุมแบบโฟกัส การเตรียมการกอนทําการสัมภาษณ การดําเนินการสัมภาษณกลุมแบบ โฟกัส และการสัมภาษณแบบเจาะลึกรายบุคคล ดังตอไปนี้ 5.2.1 การกําหนดพื้นที่หมูบ านเพื่อทําการสัมภาษณกลุม แบบโฟกัส โดยวิธีทํา การประมวลผลขอมูลจากรายงานบัตรรายงานโรค และรายงานการสํารวจลูกน้ํายุงลาย ในรอบ พ.ศ. 2546 เพือ่ จัดกลุมและคัดกรองหมูบา นที่จะทําการเก็บขอมูลตามหลักเกณฑที่กาํ หนดในชวง เดือน มีนาคม 2549 ไดแก หมูบานเสี่ยงต่าํ คือ หมูบานผักกาดหญา หมูที่ 2 ตําบลนาเลิง

43 อําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด หมูบานเสีย่ งปานกลาง คือ หมูบานโนนสนามหมูที่ 3 ตําบล เมืองไพร อําเภอเสลภูมิ และหมูบานเสี่ยงสูง คือ หมูบานน้ําจั้น หมูที่ 3 ตําบลบึงเกลือ อําเภอ เสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด 5.2.2 การเตรียมการกอนทําการสัมภาษณ การเตรียมการโดยขอความรวมมือกับ เจาหนาที่สถานีอนามัยผูรับผิดชอบหมูบานที่จะการเก็บขอมูล ใหทําการคัดเลือกกลุมตัวอยางที่จะ ทําการสัมภาษณกลุมแบบโฟกัส ตามลักษณะที่ผูวจิ ัยกําหนดในชวงตนเดือน เมษายน 2547 5.2.3 ดําเนินการสัมภาษณกลุมแบบโฟกัส มีรายละเอียดดังนี้ 1) คัดเลือกผูดําเนินการสัมภาษณกลุม (moderator) ซึ่งมีลักษณะเปนผูมี ความรูและประสบการณในการสัมภาษณกลุมแบบโฟกัส มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาโทใน สาขาวิชาสุขศึกษา หรือสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ โดยผานความเห็นชอบจากอาจารยทปี่ รึกษา 2) ทําหนังสือจากมหาวิทยาลัยแตงตั้งผูดําเนินการสัมภาษณกลุม (moderator) ไดแก นายวิทยา โคตรทาน ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุข ระดับ 7 สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด รอยเอ็ด 3) ผูวิจยั และ ผูดําเนินการสัมภาษณกลุม (moderator) รวมกันดําเนินการตาม ขั้นตอนตอไปนี้ (1) วางแผนการสัมภาษณ โดยการเตรียมหัวขอที่จะทําการสัมภาษณ อุปกรณในการสัมภาษณ สถานที่ และขัน้ ตอนดําเนินการสัมภาษณ วิธีการรวบรวมและจัดกลุม ขอมูล การวิเคราะหขอมูล และการเตรียมการเขียนรายงาน (2) คัดเลือกสมาชิกเพื่อเขารวมกลุม โดยรวมกับเจาหนาที่สถานีอนามัย ผูรับผิดชอบหมูบานที่สามาชิกกลุมอาศัยอยู และใหมีลักษณะตามที่ผูวจิ ัยกําหนด ในระหวางวันที่ 1- 5 เมษายน 2547 (3) ขอความรวมมือจากเจาหนาที่สถานีอนามัยผูรับผิดชอบหมูบานที่ สมาชิกกลุมอาศัยอยู โดยจัดทําหนังสือเชิญสมาชิกกลุมเขารวมการสัมภาษณกลุมตามสถานที่และ เวลาที่กําหนด (4) ลงพื้นที่เปาหมาย โดยผูวิจัยเขาพื้นทีห่ มูบานเปาหมายเพื่อชี้แจงถึง ความสําคัญของการสัมภาษณกลุม และทําการนัดหมายเกี่ยวกับการสัมภาษณกลุมใหกลุมตัวอยาง รับทราบเปนรายบุคคล เพื่อทําความคุนเคยและประเมินความรวมมือในการเขารวมการสัมภาษณ กลุม ในระหวางวันที่ 10 – 15 เมษายน 2547 (5) ดําเนินการสัมภาษณกลุมในหมูบานเปาหมาย ดังนี้

44 - หมูบานเสี่ยงต่ํา ไดแก หมูบานผักกาดหญา หมูท ี่ 2 ตําบลนาเลิง อําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด ในวันที่ 20 เมษายน 2547 - หมูบานเสี่ยงปานกลาง ไดแก หมูบ านโนนสนาม หมูที่ 3 ตําบล เมืองไพร อําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด ในวันที่ 21 เมษายน 2547 - หมูบานเสี่ยงสูง ไดแก หมูบานน้ําจั้น หมูที่ 3 ตําบลบึงเกลือ อําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด ในวันที่ 22 เมษายน 2547 วิธีการสัมภาษณใหผูดําเนินการสัมภาษณกลุม (moderator) เปน ผูดําเนินการสัมภาษณ และผูวิจัยเปนผูชวย โดยทําหนาที่บันทึกรายละเอียดการสัมภาษณโดยการ บันทึกในแบบบันทึก และบันทึกเทปเสียง บันทึกชวยจํา โดยใชเวลาสัมภาษณกลุมประมาณ 45 นาที ถึง 1 ชั่วโมง และรวมกันรวบรวมขอมูลที่ไดเพื่อนําไปวิเคราะหโดยใชเวลาประมาณ 30 นาที ตอการทํากลุม 1 ครั้ง และนําผลการวิเคราะหขอมูลมาเขียนรายงานการสัมภาษณ 5.2.4 ดําเนินการสัมภาษณแบบเจาะลึกรายบุคคล ในกลุม จนท.สอ. ที่ปฏิบัติงาน ในสถานีอนามัยที่รับผิดชอบพื้นที่หมูบานที่ทําการสัมภาษณกลุมแบบโฟกัส โดยมีเปาหมายแหงละ 1 คน รวม จํานวน 3 คน พรอมทั้งสํารวจหมูบานเพื่อทําแผนที่การกระจายสารสนเทศในหมูบาน และนําผลการสัมภาษณมาวิเคราะหและเขียนรายงานการสัมภาษณ ดังนี้ สถานีอนามัยบานผักกาด หญา หมูที่ 2 ตําบลนาเลิง อําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด ในวันที่ 10 กรกฎาคม 2547 สถานี อนามัยบานโนนสนาม หมูท ี่ 3 ตําบลเมืองไพร อําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด ในวันที่ 11 กรกฎาคม 2547 และสถานีอนามัยบานน้ําจั้น หมูที่ 3 ตําบลบึงเกลือ อําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด ในวันที่ 12 กรกฎาคม 2547 5.2.5 การศึกษาเอกสาร ผูวิจัยไดศกึ ษาเอกสารโครงการ 4 ประสานตานภัยโรค ไขเลือดออก ซึ่งเปนโครงการปองกันโรคไขเลือดออกทีอ่ ําเภอเสลภูมิไดจัดทําขึ้น และเริ่ม ดําเนินการในเดือน ตุลาคม 2546 เพื่อนําขอมูลมาวิเคราะหบทบาทของ จนท.สอ. และ อสม. ใน การปองกันโรคไขเลือดออก

45 จากขั้นตอนการวิจัยเขียนเปนผังความสัมพันธระหวางขัน้ ตอนการวิจัย วัตถุประสงค ในการวิจัย และผลลัพธที่ได ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การสราง เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

1. การสัมภาษณแบบเจาะลึกรายบุคคล 2. การประมวลผลขอมูลเพื่อสรางกรอบคําถามในการ สัมภาษณกลุมแบบโฟกัส

กรอบคําถามในการสัมภาษณกลุมแบบโฟกัส (focus group interview)

ขั้นตอนที่ 2 การเก็บขอมูลในการวิจัย

3. การกําหนดพื้นที่และสัมภาษณกลุม แบบโฟกัส 4. การประมวลขอมูลเบื้องตน

5. การสัมภาษณแบบเจาะลึกรายบุคคล กลุม เจาหนาที่สถานีอนามัย และสํารวจหมูบานทําแผนที่ การกระจายสารสนเทศในหมูบาน

6.การศึกษาเอกสาร (review of documents)

การรับรูสารสนเทศโรคไขเลือดออกของประชาชน

ภาพที่ 3.1 แผนภูมิความสัมพันธระหวาง ขั้นตอน และ ผลลัพธการวิจัย

46

6. การวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอ มูลมีขั้นตอนดําเนินการดังนี้ 6.1. การวิเคราะหขอมูลจากการสัมภาษณรายบุคคล ทําดังนี้ 6.1.1 ตรวจสอบความครบถวนและความถูกตองของขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณ โดยใชขอมูลที่ไดจากแบบบันทึกรายละเอียดการสัมภาษณ เทปเสียง และบันทึกรายละเอียด เพิ่มเติมในแบบบันทึกรายละเอียดการสัมภาษณ 6.1.2 แจกแจงลักษณะของกลุมตัวอยาง โดยใชแบบแจกแจงลักษณะกลุมตัวอยาง และประมวลผลดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร (โปรแกรม MS-Excel) 6.1.3 วิเคราะหและจัดกลุมเนื้อหาที่ไดจากการสัมภาษณ โดยใชแบบวิเคราะห เนื้อหา 6.2 การวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณกลุมแบบโฟกัส (Focus Group Interview) ทําดังนี้ 6.2.1 ตรวจสอบความครบถวนและความถูกตองของขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณ โดยใชขอมูลที่ไดจากแบบบันทึกรายละเอียดการสัมภาษณ เทปเสียง แบบบันทึกชวยจําของ ผูดําเนินการสัมภาษณและผูช วย และบันทึกรายละเอียดเพิ่มเติมในแบบบันทึกรายละเอียดการ สัมภาษณ 6.2.2 ตรวจสอบความเที่ยงตรงและความนาเชื่อถือของขอมูลโดยวิธีการสอบ ทานขอมูลแบบสามมิติ (triangulation) ดังนี้ 1) การตรวจสอบขอมูล (data triangulation) ที่ไดจากการสัมภาษณกลุม แบบโฟกัส มาตรวจสอบกับเอกสารและผลการสัมภาษณแบบเจาะลึกรายบุคคลในกลุม จนท.สอ. 2) การตรวจสอบผูวิจัย (investigator triangulation) โดยการนําขอมูลที่ได จากการสัมภาษณเจาะลึกรายบุคคลในกลุม เจาหนาที่สถานีอนามัยเกี่ยวกับแหลงสารสนเทศและ ชองทางการกระจายสารสนเทศในหมูบาน มาใชในการสํารวจพื้นทีจ่ ริงในหมูบาน 6.2.3 แจกแจงลักษณะของกลุมตัวอยาง โดยใชแบบแจกแจงลักษณะกลุมตัวอยาง และประมวลผลดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร (โปรแกรม MS-Excel) 6.2.4 วิเคราะหและจัดกลุมเนื้อหาที่ไดจากการสัมภาษณ โดยใชแบบวิเคราะห เนื้อหา จัดกลุม เนื้อหาที่ไดจากการวิเคราะห และนํามาแจกแจงความถีโ่ ดยใชแบบแจกแจง และ ประมวลผลดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร (โปรแกรม MS-Excel)

47 6.3 เขียนรายงานการวิจัยฉบับเต็ม โดยแบงเนื้อหาเปน 5 บท ไดแก บทที่ 1 บทนํา บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจยั บทที่ 4 ผลการวิจยั และบทที่ 5 สรุป ผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

7. สถิติที่ใชในการวิจัย 7.1 คาสถิติ รอยละ คาเฉลี่ย ใชอธิบายขอมูลที่เปนลักษณะทางประชากรของกลุมที่ ทําการสัมภาษณกลุมแบบโฟกัส และแจกแจงความถี่ของขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณ 7.2 ใชวิธีการวิเคราะหเนื้อหาที่ไดจากการสัมภาษณกลุมแบบโฟกัส มาอธิบายการ รับรูสารสนเทศโรคไขเลือดออก

บทที่ 4

ผลการวิจยั การวิจยั นี้ใชรปู แบบการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงคในการวิจัย คือ (1) ศึกษาการ รับรูสารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก ในดานความเสี่ยงตอการปวยเปนโรค ความรุนแรงของ โรค และการปองกันโรค และ (2) ศึกษาแหลงสารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกของประชาชน โดยทําการศึกษาในหมูบานที่มีความแตกตางกันในดานการเกิดโรคไขเลือดออก จํานวน 3 หมูบาน กลุมตัวอยางไดแก ประชาชน และเจาหนาที่สถานีอนามัย (จนท.สอ) วิธีการศึกษาใชวิธีสัมภาษณ กลุมแบบโฟกัส และสัมภาษณรายบุคคล ผูวิจัยขอนําเสนอผลการวิจัยตามหัวขอดังตอไปนี้ 1. บริบทหมูบานที่ทําการศึกษา 2. ลักษณะของผูรวมวิจยั ในหมูบ าน 3. การรับรูสารสนเทศเกีย่ วกับโรคไขเลือดออก 3.1 การรับรูอาการและความรุนแรงของโรค 3.1.1 การรับรูอาการและความรุนแรงของโรค 3.1.2 สรุปการรับรูความรุนแรงของโรค 3.2 การรับรูความเสี่ยงตอการปวยเปนโรคไขเลือดออก 3.2.1 การรับรูโอกาสเสี่ยงตอการปวย 3.2.2 การรับรูปจจัยเสีย่ งที่ทาํ ใหเกิดโรค 3.2.3 สรุปการรับรูปจจัยเสีย่ งตอการปวยเปนโรคไขเลือดออก 3.3 การรับรูการปองกันโรคไขเลือดออก 3.3.1 การใหความสําคัญตอวิธีการปองกันโรค 3.3.2 สรุปการรับรูการปองกันโรคไขเลือดออก 4. แหลงสารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกของประชาชน 4.1 ประเภทของแหลงสารสนเทศ 4.2 แหลงสารสนเทศที่ประชาชนใหความสําคัญ 4.3 แหลงสารสนเทศที่ประชาชนตองการ 4.4 ชองทางการกระจายสารสนเทศของแหลงสารสนเทศ 4.5 บทบาทของแหลงสารสนเทศในหมูบา น 4.6 ความสัมพันธระหวางแหลงสารสนเทศในหมูบาน

49

1. บริบทหมูบ าน หมูบานที่ทําการศึกษามีจํานวน 3 หมูบาน มีที่ตั้งทางภูมศิ าสตร ขนาดของหมูบาน จํานวนประชากร ฐานะทางเศรษฐกิจ และระดับการศึกษา ดังนี้ 1.1 หมูบานเสี่ยงต่าํ ตั้งอยูทางทิศใตของอําเภอ หางจากอําเภอประมาณ 7 กิโลเมตร เสนทางคมนาคมสูอําเภอเปนถนนลาดยาง บริเวณที่ตั้งบานเรือนของประชาชนตั้งบนฝงลําน้ําชี สภาพพื้นที่เปนที่ลุม ในฤดูฝนมีน้ําทวมบริเวณรอบนอกหมูบานเกือบทุกปและในบางปที่ฝนตกชุก น้ําจะทวมบริเวณที่ตั้งบานเรือนของประชาชน หมูบานมีบานเรือนจํานวน 104 หลังคาเรือน ประชากรจํานวน 695 คน สวนใหญมีอาชีพทํานา โดยทํานาปละ 2 ครั้ง และในยามวางจะปลูกหมอนเลี้ยงไหมในบริเวณ สวนหลังบาน หรือปลูกผักเปนอาชีพเสริมจึงทําใหมฐี านะคอนขางดี และมีบางสวนประกอบ อาชีพรับราชการ ซึ่งสวนใหญจะไปทํางานที่อื่นในลักษณะไปกลับทุกวัน ระดับการศึกษาของประชาชนสวนใหญจบชั้นมัธยมศึกษาตอนตน (ม.3) และมี บางสวนที่จบระดับปริญญาตรี ซึ่งจะไปทํางานที่สํานักงาน หางราน หรือรับราชการที่ตางจังหวัด (นารี โพธิจักร 2547 ,10 กรกฎาคม) 1.2 หมูบานเสี่ยงปานกลาง ตั้งอยูกึ่งกลางของอําเภอ เปนทางผานเขาสูแหลง ทองเที่ยวที่มีชอื่ เสียงเปนที่รจู ักของอําเภอ คือ บึงเกลือ หางจากอําเภอประมาณ 5 กิโลเมตร เสนทางคมนาคมสูอําเภอเปนถนนลาดยาง มีบานเรือนจํานวน 58 หลังคาเรือน ประชากรจํานวน 312 คน ซึ่งสวนใหญประกอบอาชีพทํานา และมีอาชีพเสริม คือ ปลูกผักสวนครัวสงขายที่ตลาด ในอําเภอ และบางสวนจะรับจางเย็บผาสงโรงงาน ในฤดูวางนาบางสวนจะอพยพครอบครัวไป รับจางซอมเรือบริเวณชายฝงทะเลตะวันออก ทําใหประชาชนที่นี่มีรายไดและฐานะดี ระดับ การศึกษาของประชาชนสวนใหญจบชัน้ ประถมภาคบังคับ (ป.4 หรือ ป.6) (พีรภัทร บุญชมพู 2547, 11 กรกฎาคม ) 1.3 หมูบานเสี่ยงสูง ตั้งอยูบริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของอําเภอ ติดกับอางเก็บน้ํา ขนาดใหญ หรือ บึงเกลือ ซึ่งเปนแหลงทองเที่ยวที่มีชื่อเสียงของอําเภอ หางจากอําเภอประมาณ 8 กิโลเมตร เสนทางคมนาคมจากอําเภอเขาสูหมูบานเปนถนนลาดยาง มีบานเรือนจํานวน 174 หลังคาเรือน ประชากรจํานวน 1,129 คน สภาพหมูบ านเปนหมูบา นขนาดใหญคอนขางแออัด มีลักษณะคลายชุมชนแออัดในเมือง เนื่องจากเปนที่ตั้งของแหลงทองเที่ยวที่มีชื่อเสียง จึงมีผูคน พลุกพลานแวะเยีย่ มเยือนหมูบานเปนประจํา โดยเฉพาะชวงเทศกาลสงกรานตหมูบ านจะมีคนมา ทองเที่ยวไมตา่ํ กวา 5 พันคนตอวัน

50 ประชาชนในหมูบานสวนใหญจบการศึกษาระดับประถมภาคบังคับ แตมีรายได และฐานะคอนขางดี เนื่องจะประกอบอาชีพทํานาเปนอาชีพหลักและปลูกผักสวนครัวสงขายที่ ตลาดสดในอําเภอในฤดูวางนา สวนประชาชนวัยหนุมสาวจะไปรับจางเย็บตามโรงงานที่ กรุงเทพมหานคร (ถาวร พิเนตร 2547, 13 กรกฎาคม)

ภาพที่ 4.1 แผนที่แสดงที่ตั้งของหมูบานทีท่ ําการสัมภาษณกลุมตัวอยางแบบโฟกัส

2. ลักษณะของผูรวมวิจัย 2.1 ลักษณะของผูร วมวิจัยในสถานีอนามัย ผูรวมวิจยั ในสถานีอนามัย หมายถึง จนท.สอ. ที่รับผิดชอบหมูบานที่ทําการสัมภาษณกลุมแบบโฟกัสแหงละ 1 คน รวมจํานวน 3 คน เปนชายจํานวน 2 คน หญิงจํานวน 1 คน สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทุกคน ทํางานใน ตําแหนงหัวหนาสถานีอนามัย จํานวน 1 คน และระดับผูปฏิบัติงาน จํานวน 2 คน มีประสบการณ ทํางานจํานวน 8 ป 19 ป และ 24 ป ตามลําดับ

51 2.2 ลักษณะของผูรวมวิจัยในหมูบาน ผูรวมวิจัยในหมูบ าน หมายถึง กลุมตัวอยางใน หมูบานที่ทําการศึกษา หมูบา นละ 8-9 คน รวมจํานวนทัง้ สิ้น 26 คน มีลักษณะดังนี้ ตารางที่ 4.1 ลักษณะของผูรวมวิจยั แยกรายหมูบาน ขอมูลทั่วไป

เสี่ยงต่ํา

เสี่ยงปานกลาง

เสี่ยงสูง

9

1 8

3 5

7 2

4 3 2

8 -

4 4 1

8 1 -

6 2 -

1 7 1

1 8 -

3 5 -

1 7 1

6 3 -

5 3 -

6 3

7 2

8 -

เพศ ชาย หญิง ชวงอายุ 20 – 30 ป 31 – 40 ป มากกวา 40 ป การศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตน มัธยมศึกษาปลาย ปริญญาตรี สถานะภาพในครัวเรือน หัวหนาครัวเรือน คูสมรส ผูอาศัย ตําแหนงในสังคม ประชาชนทั่วไป อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ผูนําชุมชน (ผูใ หญบาน) สมาชิกในครัวเรือน อายุต่ํากวา 14 ป มี ไมมี

52 ตารางที่ 4.1 ลักษณะของผูรวมวิจยั แยกรายหมูบาน (ตอ) ขอมูลทั่วไป

เสี่ยงต่ํา

เสี่ยงปานกลาง

เสี่ยงสูง

9

5 4

8 -

สมาชิกครัวเรือนที่เคยปวยดวยโรค ไขเลือดออก เคยปวย ไมเคยปวย

3. การรับรูสารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก การรับรูสารสนเทศในงานวิจัยนี้ คือ การที่บุคคลมีการสนองตอบตอสารสนเทศที่มา กระทบตัว ซึ่งจะสงผลไปถึงการปฏิบัติหรือกระทําพฤติกรรมใดพฤติกรรมหนึ่ง ผูรวมวิจัยมีการ รับรูสารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกวาเปนโรคที่เกิดขึ้นไดกับคนทุกเพศทุกวัย และมีความ รุนแรงของโรคถึงขั้นทําใหเสียชีวิตได แตก็เปนโรคที่สามารถปองกันได โดยที่ผูรวมวิจัยมีการ รับรูเกี่ยวกับความรุนแรงของโรค ความเสี่ยงตอการปวยเปนโรค และการปองกันโรค ดัง รายละเอียดตอไปนี้ 3.1 การรับรูอาการและความรุนแรงของโรค การรับรูอาการและความรุนแรงของ โรคไขเลือดออก หมายถึง การที่บุคคลสามารถบอกไดวา เมื่อตนเอง หรือบุคคลในครัวเรือนปวย เปนโรคไขเลือดออกแลวจะมีอาการอยางไรและมีความรุนแรงในขัน้ ใด ในการสรุปผลการวิจัยใน ครั้งนี้ผูวิจัยไดใชกรอบอาการที่ไดกลาวถึงลักษณะความรุนแรงของโรคไขเลือดออกมาเปนกรอบ ในการสรุปผล ซึ่งอาการความรุนแรงของโรคจําแนกได 4 ขั้น คือ ขั้นที่ 1 ผูปวยมีอาการไมรุนแรง มีเพียงอาการไขเทานั้น ขั้นที่ 2 ผูปวยเริ่มมีเลือดออกตามอวัยวะตาง ๆแตไมมากนักและความดัน โลหิตยังปกติ ขั้นที่ 3 ผูปวยเริ่มมีเลือดออกตามอวัยวะตาง ๆมากขึ้นและความดันโลหิตเริ่มลด ต่ําลง ขั้นที่ 4 ผูปวยเริ่มมีอาการหนักและเขาสูภาวะช็อกและถึงตายได (นิภา จรูญเวศน 2520:340 อางใน ธีระศักดิ์ มักคุน 2544:11) ผลการวิจัยสรุปไดดังนี้ 3.1.1 การรับรูอาการและความรุนแรงของโรค 1) การรับรูที่เหมือนกัน ผูรวมวิจัยทั้ง 3 หมูบานมีการรับรูที่เหมือนกันวา

53 อาการของโรคไขเลือดออกจําแนกได 3 ระดับดวยกันคือ 1) ระดับทีม่ ีอาการเล็กนอยผูปวยยัง สามารถประกอบกิจวัตรประจําวันได ซึ่งจะมีเพียงอาการไขและเมื่อกินยาลดไขแลวอาการจะทุเลา ลง (โฟกัส01/85 ผต.4) ซึ่งหมายถึงการรับรูอาการความรุนแรงของโรคในขั้นที1่ และ 2) ระดับที่ มีอาการรุนแรงถึงขั้นที่ตองนําไปรับการรักษาพยาบาลกับ จนท.สอ. หรือแพทยในโรงพยาบาลโดย เรงดวน ซึ่งหมายถึงการรับรูอาการความรุนแรงของโรคในขั้นที่ 2 และขั้นที่ 3 และ 3) ระดับที่มี อาการรุนแรงมากจนถึงขั้นที่ทําใหเสียชีวติ ไดหากเขารับการรักษาพยาบาลลาชา ซึ่งหมายถึงการ รับรูอาการความรุนแรงของโรคในขั้นที่ 4 2) การรับรูที่แตกตางกัน ผูรวมวิจยั ของแตละหมูบานมีความสามารถรับรู ถึงลักษณะอาการสําคัญที่แสดงถึงความรุนแรงของโรคจนถึงขั้นที่จะตองรีบนําผูปวยเขารับการ รักษาพยาบาลโดยเรงดวนที่ แตกตางกันดังนี้ (1) หมูบา นเสี่ยงต่ํา ผูรวมวิจัยในหมูบ านนี้สามารถรับรูถึงลักษณะอาการ ที่แสดงถึงความรุนแรงไดเร็วกวาผูรวมวิจยั หมูบานอืน่ ๆ โดยไดกลาวถึงลักษณะอาการสําคัญของ โรคที่ตนเองเห็นวามีความรุนแรง คือ มีอาการไขเปนระยะเวลานานประมาณ 1 สัปดาหขึ้นไป (โฟกัส01/75 ผต.4) หรือมีลักษณะอาการไขที่เปน ๆ หาย ๆ และมีอาเจียนรวมดวย (โฟกัส01/79 ผต.10,โฟกัส01/88 ผต.4) หรือมีลักษณะอาการไขสูงลอย และมีอาการชักรวมดวย (โฟกัส01/91 ผต.4) ซึ่งแสดงใหเห็นวา เมือ่ ผูปวยมีเพียงอาการความรุนแรงขั้นที่ 1 ก็เห็นวามีความจําเปนตองรีบ พาไปรับการรักษาพยาบาล (2) หมูบานเสี่ยงปานกลาง ผูรวมวิจยั ในหมูบานนีม้ ีการรับรูอาการความ รุนแรงของโรคไดลาชากวาหมูบานเสี่ยงต่าํ จะเห็นไดจากการกลาวถึงลักษณะอาการที่ตองรีบนํา ผูปวยไปรับการรักษาพยาบาลวามีลักษณะ คือ ผูปวยมีอาการไขนาน 3-4 วัน ปวดศีรษะ นอนซึม (โฟกัส02/122ผต.10) หรือเบื่ออาหาร ตัวเย็น หนาวสั่น อาเจียน (โฟกัส02/124ผต5) หรือมีเหงื่อ ออก มีจุดจ้ําเลือดขึ้นตามตัว (โฟกัส02/123ผต.9) ซึ่งเปนลักษณะอาการความรุนแรงในขั้นที่ 2 (3) หมูบา นเสี่ยงสูง รวมวิจยั ในหมูบา นนี้มีการรับรูค วามรุนแรงของโรค ลาชากวาทั้ง 2 หมูบาน ซึ่งไดกลาวถึงลักษณะอาการที่แสดงถึงความรุนแรงของโรคที่ตองรีบพาไป รับการรักษาพยาบาลวามีลักษณะอาการ ไขสูงลอย ซึม ปวดทอง (โฟกัส03/15ผต.8) หรือไขสูง ลอยและ มีจดุ จ้ําเลือดขึ้นตามตัว (โฟกัส03/19ผต.6) หรือไขสูงลอย ปวดศีรษะ ปวดทอง และมี อาเจียนรวม (โฟกัส 03/21ผต.5,โฟกัส03/22 ผต.4,โฟกัส03/23ผต.2) หรือไขสูง ปวดศีรษะ เล็บมือ มีสีดําคล้ํา (โฟกัส03/22ผต.1) ซึ่งเปนลักษณะอาการความรุนแรงในขัน้ ที่ 3 และ 4 3) สาเหตุที่นําผูปวยไปรับการรักษาพยาบาลลาชาจนทําใหมีอาการรุนแรง มากขึ้น ผลการสัมภาษณกลุมแบบโฟกัสทัง้ 3 หมูบาน นอกจากจะทําใหทราบวาผูรว มวิจัยทุก

54 หมูบานมีการรับรูที่เหมือนกันวา โรคไขเลือดออกเปนโรคที่มีความรุนแรงในระดับที่ทําใหผูปวย เสียชีวิตไดหากนําผูปวยไปรับการรักษาพยาบาลที่ลาชา และยังไดทราบสาเหตุที่ทําใหนําผูปวยไป รับการรักษาพยาบาลลาชาจากผูรวมวิจยั ในหมูบานเสี่ยงต่าํ สรุปไดดังนี้ (1) การขาดความเอาใจใสในการเฝาระวังอาการปวย เนื่องจากผูปกครอง ของเด็กที่ปวยไมไดใสใจสังเกตอาการที่บงชี้ถึงความรุนแรงของโรคไขเลือดออก เพราะวาอาการ ของโรคที่มีทั้งไขและตัวเย็นสลับกันไป จนบางครั้งทําใหคิดวาเด็กหายปวยแลวจึงไมใสใจเฝา ติดตามอาการ ทําใหมีอาการรุนแรงมากขึ้น(โฟกัส01/77 ผต.1,โฟกัส01/78 ผต.9,โฟกัส01/79 ผต.10) (2) การขาดประสิทธิภาพในการวินจิ ฉัยโรคในระยะเริ่มแรกของเจาหนาที่ สถานีอนามัย (จนท.สอ) เชน จนท.สอ.ไมสามารถบอกไดทันทีวาผูปวยเปนโรคไขเลือดออก หรือไม ทําไดเพียงแตใหผูปกครองเด็กที่ปว ยเฝาสังเกตอาการเทานั้น ประกอบกับการขาดความ เอาใจใสในการเฝาระวังอาการปวยของผูปกครองเด็ก จึงทําใหผูปวยมีอาการรุนแรงมากขึ้น(โฟกัส 01/78 ผต.9,โฟกัส01/79 ผต.10) (3) ผูปกครองเด็กขาดความรูเกีย่ วกับอาการของโรคไขเลือดออก ซึ่งสวน ใหญเด็กจะอยูใ นความดูแลของผูปกครองที่เปนผูสูงอายุ ไดแก ปู ยา ตา ยาย และเมื่อเด็กปวย กลุมผูปกครองเหลานี้ไมมีความรูเกีย่ วกับโรค จึงไมสามารถเฝาสังเกตอาการได จนทําใหผูปว ยมี อาการรุนแรงมากขึ้นจึงจะพาไปรับการรักษาพยาบาล (โฟกัส01/80 ผต.4) ดังเชนผูรว มวิจัยที่ทํา หนาที่เปนอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) ไดกลาวไววา “ไปหาหมออนามัยก็บอกเพียงวาดูอาการไปกอน .. และผูใหญก็ไมสังเกตดู อาการเด็กวาเปนอยางไร ถาคนที่เคยอบรมอยางพวกเรา (อสม.) ก็จะสังเกตอาการ เชน ถามี อาการ ไขจะเดี๋ยวเปน เดี๋ยวหาย และมีอาการอาเจียนดวย ก็จะไดรีบนําสงหมอ.. ก็เลยไดไปพูดแนะนํา ชาวบานในการสังเกตอาการ เชน ถามผูปกครองเด็กดูวาเด็กมีอาการไขเปนอยางไร มีอาเจียนมัย้ ถา มีก็ไดแนะนําใหรีบพาไปหาหมออนามัย (เจาหนาที่สถานีอนามัย) เพื่อหมออนามัยจะไดรีบสง โรงพยาบาล ” (โฟกัส01/79 ผต.10) 3.1.2 สรุปการรับรูความรุนแรงของโรค ผลการสัมภาษณกลุมแบบโฟกัส นอกจากไดรับทราบวา ผูรวมวิจยั ทุกหมูบา นมีการรับรูที่เหมือนกันวาโรคไขเลือดออกเปนโรคที่มี ความรุนแรงในระดับที่ทําใหผูปวยเสียชีวติ ไดหากนําผูป วยไปรับการรักษาพยาบาลที่ลาชา และยัง ไดทราบถึงความสามารถในการรับรูความรุนแรงของโรคที่แตกตางกัน สรุปไดดังตาราง

55 ตารางที่ 4.2 สรุปการรับรูอาการความรุนแรงของโรคไขเลือดออก การรับรูที่แตกตางกัน หมูบานเสี่ยงต่าํ หมูบานเสี่ยงปานกลาง โรคไขเลือดออกมี -มีการรับรูความรุนแรง -มีการรับรูความรุนแรง อาการรุนแรงถึงขั้นทํา ของโรคเมื่ออาการของ ของโรคเมื่ออาการของ ใหผูปวยเสียชีวิตได โรคเขาสูขั้นที่ 1 โรคเขาสูขั้นที่ 2 หากเขารับการรักษา ลาชา การรับรูที่เหมือนกัน

หมูบานเสี่ยงสูง มีการรับรูความรุนแรง ของโรคเมื่ออาการของ โรคเขาสูขั้นที่ 3- 4

จากตารางที่ 4.2 แสดงวาผูรว มวิจัยทั้ง 3 หมูบาน มีความสามารถในการรับรูอาการ ความรุนแรงของโรคไขเลือดออกที่แตกตางกัน คือ ผูรวมวิจัยในหมูบ านเสี่ยงต่ําสามารถรับรูถึง ความรุนแรงของโรคเพียงเมือ่ ผูปวยเริ่มมีอาการของโรคเริ่มเขาสูขั้นที่ 1 ซึ่งเปนการรับรูที่เร็วกวา ผูรวมวิจยั ในหมูบานอื่น ๆ ในขณะที่ผูรว มวิจัยในหมูบานเสี่ยงปานกลางมีความสามารถในการรับรู ถึงอาการความรุนแรงของโรคเมื่อผูปวยเริม่ มีอาการของโรคที่เขาสูขั้นที่ 2 ซึ่งเริ่มมีภาวะเลือดออก แลวแตยังไมมากนัก และผูรวมวิจัยในหมูบ านเสี่ยงต่ํามีความสามารถในการรับรูอาการความ รุนแรงของโรคที่ลาชาที่สุด เพราะวาเกิดการรับรูวาผูปวยมีอาการรุนแรงเมื่ออาการของโรคเขาสู ขั้นที่ 3 หรือขั้นที่ 4 แลว ซึ่งเปนอาการที่ผูปวยเริ่มมีเลือดออกมากขึ้นและความดันโลหิตเริ่มลด ต่ําลงจนเขาสูภาวะช็อกทําใหเสี่ยงตอการเสียชีวิตได ซึ่งความสามารถในการรับรูอาการความ รุนแรงของโรคไขเลือดออกที่แตกตางกันนี้ มีผลตอความลาชาในการนําผูปวยไปรับการ รักษาพยาบาลดวยเชนกัน 3.2 การรับรูความเสี่ยงตอการปวยเปนโรคไขเลือดออก การรับรูความเสี่ยงตอการ ปวยเปนโรคไขเลือดออก หมายถึง การที่บุคคลสามารถบอกไดวาตนเองมีโอกาสเสี่ยงตอการปวย เปนโรคไขเลือดออกหรือไม และมีปจจัยอะไรบางที่จะทําใหตนเองหรือบุคคลในครัวเรือนปวย เปนโรคไขเลือดออกได ผูรว มวิจัยมีการรับรูถึงโอกาสเสี่ยงตอการปวย การรับรูถึงปจจัยเสีย่ งที่ทาํ ใหเกิดโรค ดังตอไปนี้ 3.2.1 การรับรูโอกาสเสี่ยงตอการปวย ผลจากการสัมภาษณผูรวมวิจัยทัง้

56 3 หมูบาน พบวามีการรับรูที่เหมือนกันวาคนทุกเพศทุกวัยมีโอกาสปวยเปนโรคไขเลือดออก และ เด็กจะมีโอกาสปวยมากกวาผูใหญ โดยเฉพาะเด็กเล็กจะมีโอกาสปวยมากกวาเด็กโต ซึ่งสาเหตุหลัก มาจากการถูกยุงกัด มีรายละเอียดที่แตกตางกันแยกรายหมูบาน ดังนี้ 1) หมูบานเสีย่ งต่ําและหมูบา นเสี่ยงปานกลาง ผลการวิจัยพบวา ทุกคนมี โอกาสปวยเปนโรคไขเลือดออก เพราะยังไมสามารถหาวิธีปองกันยุงกัดไดอยางดีพอ (โฟกัส 01/102 ผต.9) และผูรวมวิจัยสวนใหญมีความคิดเห็นวา เด็กมีโอกาสเสี่ยงตอการปวยเปนโรค ไขเลือดออกมากกวาผูใ หญโดยเฉพาะเด็กที่มีอายุนอย เนื่องจากยังไมสามารถดูแลตนเองไมใหถูก ยุงกัดได (โฟกัส01/98 ผต.10) หรือผูปกครองเด็กไมไดระมัดระวังปองกันอยางดีพอ (โฟกัส02/39 ผต.7) หรือจากพฤติกรรมของเด็กเอง เชน เด็กบางคนจะชอบเขาไปวิ่งเลนซุกซนในบริเวณในปา หรือในสวนหลังบาน จึงทําใหมีโอกาสถูกยุงกัดไดมากขึ้น (โฟกัส01/106ผต8,โฟกัส01/109ผต5, โฟกัส01/112 ผต.4,โฟกัส01/113 ผต.3) 2) หมูบานเสีย่ งสูง ผูรวมวิจัยทุกคนรับรูวาเด็กมีโอกาสปวยเปนโรค ไขเลือดออกเชนเดียวกัน และมีความคิดเห็นวาเด็กทีเ่ คยปวยมากอนแลว จะมีโอกาสเสี่ยงมากกวา เด็กที่ไมเคยปวย เนื่องจากพฤติกรรมเสี่ยงที่แตกตางกัน ดังเชนคํากลาวของผูรวมวิจยั ดังนี้ “ผมคิดวาคนเดิม (คนที่เคยปวย) นั่นละ… ลูกคนนี้สังเกตดูวาเวลาเลิกเรียนจะไป นั่งดูโทรทัศนในบาน…คนมาดวยกัน(สวนลูกอีกคน)ก็ไมเทาไหรเพราะวาไมชอบดูโทรทัศนจะไป หาเลนในทุง (วิ่งเลนในทุงนา)” (โฟกัส03/48ผต.8) 3.2.2 การรับรูปจจัยเสี่ยงที่ทําใหเกิดโรค ผูรวมวิจยั ทุกหมูบานรับรูเหมือนกันวา ปจจัยเสีย่ งหลักที่ทําใหปว ยเปนโรคไขเลือดออก คือ การถูกยุงกัดในสถานที่ตาง ๆ ไดแก ภายใน อาคารบานเรือน บริเวณนอกอาคารบานเรือน และในโรงเรียน มีรายละเอียดดังนี้ 1 ) ภายในอาคารบานเรือนของตนเอง ผูรวมวิจยั สวนใหญของทุกหมูบ าน มีการรับรูที่เหมือนกันวา การที่เด็กถูกยุงกัดภายในบานของตนเองเปนปจจัยเสีย่ งที่ทาํ ใหเด็กมี โอกาสปวยเปนโรคไขเลือดออกมากที่สุดถึงแมวาจะมีการปองกันแลวก็ตาม (โฟกัส01/117.ผต1) และเด็กที่เสี่ยงตอการถูกยุงกัด คือ เด็กที่อยูใ นวัยเรียนเพราะเด็กจะชอบนั่งดูโทรทัศนภายใน บานเรือนในชวงเวลาเลิกเรียนหรือวันหยุดมากกวาที่จะวิง่ เลนนอกบาน จึงทําใหถูกยุงกัดได ประกอบไมมกี ารปองกันทีด่ ีพอ เชน เปดพัดลมไลยุงแทนการจุดยากันยุง ดังคํากลาวของผูรวมวิจัย ดังนี้ “เสี่ยงสูงที่สุด ผมคิดวาอยูบา นเพราะวาเด็กดูโทรทัศน”(โฟกัส03/57ผต8) นอกจากนั้นผูร วมวิจยั ในหมูบ านเสี่ยงปานกลางและหมูบ านเสี่ยงสูง ไดวิเคราะห ถึงสาเหตุที่มียงุ ชุกชุมในบานเรือน ดังนี้

57 (1) หมูบ านเสี่ยงปานกลาง ผูรวมวิจัยในหมูบานนี้บางคนมีความ คิดเห็นวา สาเหตุที่ทําใหมียงุ ชุกชุม คือ การขาดความรวมมือกันปองกันการเกิดยุงลายและกําจัด ลูกน้ํายุงลายของประชาชนภายในหมูบาน เพราะวายังมีประชาชนในหมูบานบางคนที่ไมใหความ รวมมือ จึงทําใหมียุงลายเกิดขึ้นภายในบานและบินขามไปกัดคนในบานเรือนที่อยูใ กลเคียงกันได เพราะวายุงมีรศั มีการบินไกลมีระยะทางถึง 100 เมตร (โฟกัส02/78ผต.5) ปจจัยที่ทําใหประชาชนบางคนไมใหความรวมมือ ไดแก ไมมีเวลาทําการ กําจัดลูกน้ํายุงลาย (โฟกัส02/76ผต1) ลักษณะนิสัยเฉพาะตัวที่ดื้อรั้นไมเชื่อฟงคําแนะนํา (โฟกัส 02/82ผต.1,โฟกัส02/94ผต.5) และขาดการรับรูขาวสารซึ่งเกิดจากการไมเขารวมกิจกรรมของ หมูบาน ดังเชนคํากลาวตอไปนี้ “คนพวกนี้ไมเคยเขาอบรม หรือ เขาประชุมอะไรเลย” (โฟกัส02/95ผต.2) (2) หมูบานเสีย่ งสูง ผูรวมวิจยั ในหมูบานนีไ้ ดวิเคราะหถึงสาเหตุที่ทําใหมี ยุงชุกชุมในบานเรือน ดังนี้ ก. สภาพแวดลอมภายในหมูที่เปลี่ยนแปลงไป ทําใหสงผลตอปริมาณ ความชุกของยุง เชน การมีรอ งระบายน้ําในหมูบานกลายเปนสาเหตุทที่ ําใหเกิดยุงลายเพราะรอง ระบายน้ําอุดตันทําใหมนี ้ําขังเปนแหลงเพาะพันธุยุง หรือความเจริญดานวัตถุสงผลตอการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของเด็กทําใหมีโอกาสถูกยุงกัดมากขึ้น ดังเชนคํากลาวของ จนท.สอ. ประจําหมูบาน และผูรวมวิจัยตอไปนี้ “น้ําในรองระบายน้ําที่นไี่ มใชน้ําเสีย น้ําจะใสมาก เพราะวา ในชวง หนาแลง รองระบายน้ําจะมีดินไหลลงไปและทําใหอุดตัน กลายเปนบอพักน้ํา เปนชวง ๆ เวลาที่น้ํา จากหองน้ําไหลลงรองระบายน้ําก็จะไหลตกตะกอนไปเรือ่ ย ๆ จนถึงปลายทอน้ําจะใสมาก ไปดู แลวมีลูกน้ําเยอะมาก เวลารณรงคก็จะเอาน้ํายาพนผสมกับน้ํามัน เทราดรองน้ํา ทําใหลูกน้ําตาย เยอะ” (สภ.03/ผต.1) “เทาที่สังเกตดู เพิ่งจะมีไขเลือดออก ในปสองปที่ผานมานี้เอง สมัยกอน ไมมีรองน้ําดวยซ้ํา น้ําก็ไหลตามรองถนน และสกปรกกวานี้ดว ย คิดวานาจะเปนเพราะวา ทุกปมัน ก็มียุงเหมือนกันนั่นแหละ แตกอนไมมีโทรทัศนดู เด็กก็ไมไดมานั่งรวมกันดูโทรทัศนเหมือนสมัย นี้ สภาพหมูบา นก็เหมือนเดิม หรือสะอาดขึ้นกวาเดิม แตไมเขาใจเหมือนกันวาทําไมตอนนี้มันถึงมี ไขเลือดออกมาก ตามความคิดของผมมันมีแหลงน้ํามากขึ้น เชน มีโองมากขึ้น มีรองน้ํามากขึ้น เพราะทุกวันนีส้ รางบานก็จะถมดินและทํากําแพงลอมไวเพื่อกันดินพัง ก็จะทําใหมีรองน้ําตาม กําแพง มีน้ําขัง และยุงอาจจะเกิดจากตรงนี้ก็ได ก็ไมรูนะ” (โฟกัส03/108ผต.8)

58 ข. สภาพที่ตั้งของหมูบานที่ติดกับอางเก็บน้ําขนาดใหญและมีรอง ระบายน้ําภายในหมูบานทําใหเปนแหลงเพาะพันธุของยุง (โฟกัส03/111ผต.5,โฟกัส03/112ผต.4, โฟกัส03/113ผต.3,) ค. แบบแปลนของบานเรือนที่พักอาศัยเปลี่ยนแปลงไป เชน จากที่มี ลักษณะที่เปนบานชั้นเดียวยกใตถุนสูงไดเปลี่ยนเปนแบบบานสองชั้น มีชั้นบนเปนไมสวนชั้นลาง กออิฐถือปูน ไมมีหนาตางหรือมีหนาตางนอย และชาวบานไมชอบเปดหนาตางเนือ่ งจากไมมีคน อยูในบานชวงเวลากลางวัน ทําใหสภาพภายในบานมืดทึบ ประกอบมีหองน้ําอยูภ ายในชั้นลางของ บาน และไมไดทําการกําจัดลูกน้ํายุงลายอยางถูกตองจึงทําใหเปนแหลงเพาะพันธุยุง สงผลให ปริมาณของยุงที่อาศัยในบริเวณบานเรือนเพิ่มมากขึ้น เพราะยุงลายที่ชอบอยูในที่มดื และเย็น (โฟกัส03/109ผต.7,โฟกัส03/114ผต.2,โฟกัส03/115ผต.1) ง. การกําจัดลูกน้ํายุงลายในภาชนะขังน้ําทําไดไมครบถวน เชน ไม ใสทรายกําจัดลูกน้ําในโองน้าํ หรืออางเก็บน้ําในหองน้ํา หรือในโองแดงขนาดใหญ เพราะเปน ภาชนะที่ประชาชนใชเก็บน้าํ ไวดื่ม จึงทําใหเปนแหลงเพาะพันธุย ุง (โฟกัส03/83ผต.4,โฟกัส03/92 ผต.3,โฟกัส03/115ผต.1) 2 ) บริเวณนอกอาคารบานเรือน ผูรวมวิจัยของแตละหมูบานไดกลาวถึง รายละเอียดการถูกยุงกัดทีแ่ ตกตางกัน ดังนี้ (1) หมูบานเสี่ยงต่ํา ผูรวมวิจยั สวนใหญเห็นวา ทั้งผูใหญและเด็กวัย กอนเรียนมีโอกาสถูกยุงกัดในบริเวณสวนหลังบาน หรือ สวนหมอน เนื่องจากตองเขาไปทําสวน หรือเก็บใบหมอนเปนประจํา และเด็กเล็กวัยกอนเรียนชอบวิ่งเลนซุกชนในบริเวณนี้เชนกัน (โฟกัส 01/106.ผต8,โฟกัส01/109.ผต5,โฟกัส01/112.ผต4,โฟกัส01/113.ผต3) (2) หมูบานเสี่ยงปานกลาง ผูรวมวิจัยในหมูบานนี้จํานวน 2 คน มี ความคิดเห็นเชนเดียวกันกับผูรวมวิจยั ในกลุมหมูบานเสี่ยงต่ํา (โพกัส02/40ผต.2,โพกัส01/47ผต.8) และผูรวมวิจัยบางคนมีความคิดเห็นวา เด็กวัยรุนมีโอกาสถูกยุงกัดนอกบานไดเชนกัน เพราะชอบ ไปนั่งเลนรวมกลุมกันบริเวณใตตน ไมตอนกลางคืน (โฟกัส02/45ผต.5) (3) หมูบานเสี่ยงสูง ผูรวมวิจยั ในหมูบานนี้บางคนมีความคิดเห็นวา สาเหตุที่เด็กถูกยุงกัดบริเวณนอกบานเรือนเนื่องจากไปวิ่งเลนกับเพื่อน (โฟกัส03/69 ผต.6) 3 ) ภายในบริเวณโรงเรียน ผูรวมวิจยั ทุกหมูบา นมีการรับรูเหมือนกันวา โรงเรียนเปนสถานที่ที่เด็กมีโอกาสถูกยุงกัด และทําใหปวยเปนโรคไขเลือดออกไดเชนเดียวกันกับ ภายในบานเรือนของตนเอง แตมีความเสีย่ งนอยกวา (โฟกัส03/52 ผต.8) และผูรวมวิจยั แตละ หมูบานไดกลาวถึงสาเหตุที่เด็กมีโอกาสถูกยุงกัดในบริเวณโรงเรียนทีแ่ ตกตางกัน ดังนี้

59 (1) หมูบานเสี่ยงต่ํา ผูรวมวิจัยกลาวถึงสาเหตุที่ทําใหเด็กนักเรียนถูก ยุงกัด ดังนี้ ก. ครูในโรงเรียนไมใสใจดําเนินการปองกันโรคอยางจริงจัง เชน การปลอยใหมแี หลงเพาะพันธุยุงลายในโรงเรียน ทําใหมยี ุงชุกชุมในบริเวณหองเรียน ถึงแมวาครู จะมีประสบการณในการดําเนินการปองกันโรค เชน เคยพานักเรียนออกรณรงคปองกันโรคใน หมูบานมาแลวก็ตาม (โฟกัส01/119.ผต10,โฟกัส01/130.ผต10) ข. การจัดสภาพแวดลอมในหองเรียนที่ไมเหมาะสมทําใหเปนที่ หลบซอนของยุง ดังคํากลาวของผูรวมวิจัย ดังตอไปนี้ “หองอนุบาล หลังหองน้ํา หองเก็บโตะ หองครัว ก็มียุงเยอะ โดยเฉพาะหองอนุบาลจะมีบานหลังนอยในหอง (ของเด็กเลน) ใหเด็กเขาไปเลน ก็จะมียุงหลบอยู ตามชองตาง ๆในบานนอย ” (โฟกัส01/ 123 ผต.4) “การจัดหอง การเก็บสิ่งของไมเปนระเบียบ การจัดเก็บโตะ เกาอี้ไมเปนระเบียบทําใหมีมมุ มีซอกเยอะ” (โฟกัส01/126 ผต.3) “ตามที่สังเกตดู หองเรียน บริเวณพืน้ หองจะสะอาด แตตามใต ลิ้นชักโตะเรียนที่ใชเก็บหนังสือเรียน จะมียุงหลบอยูใ นซอกหนังสือที่อยูใตลิ้นชักโตะมาก” (โฟกัส 01/127 ผต.3) ค. การปองกันยุงกัดไมดพี อ เชน ไมติดมุงลวดในหองเรียน หรือ การเปดพัดลมเพื่อไลยุงไมใหกัดเด็กในหองเรียนทําใหปองกันยุงกัดไมไดผลอยางเต็มที่ เนื่องจาก การใชพัดลมชนิดแขวนกับเพดานในหองเรียนที่มีเพดานสูง ทําใหแรงลมจากพัดลมสงมาถึงตัวเด็ก ไมแรงพอที่จะทําการไลยุงไมใหกดั เด็กได (โฟกัส01/126ผต.10) (2) หมูบานเสี่ยงปานกลาง ผูรวมวิจยั ไดกลาวถึงสาเหตุที่ทําใหเด็ก นักเรียนถูกยุงกัด ดังนี้ ก. สภาพที่ตั้งของโรงเรียนที่ตั้งอยูใ กลปา และไมไดพนสารเคมี กําจัดยุงลายในโรงเรียน (โฟกัส02/56ผต.2) ข. ลักษณะอาคารเรียนที่มีขนาดใหญ ทําใหดแู ลกําจัดยุงลายไม ทั่วถึง (โฟกัส02/55ผต.5) ค. ผูปกครองไมไดตดิ ตามดูแลเด็กนักเรียนอยางใกลชิด (โฟกัส02/54ผต.2) (3) หมูบานเสี่ยงสูง ผูรวมวิจัยไดกลาวถึงสาเหตุที่ทําใหเด็กนักเรียนถูก ยุงกัด คือขาดการปองกันยุงกัดเด็กที่ดีพอ (โฟกัส03/55 ผต.7,โฟกัส03/56 ผต.2,โฟกัส03/60 ผต.2)

60 3.2.3 สรุปการรับรูปจจัยเสี่ยงตอการปวยเปนโรคไขเลือดออก ผลการวิจัยการ รับรูโอกาสเสี่ยงตอการปวยและปจจัยเสี่ยงตอการเกิดโรคไขเลือดออกพบวาผูรวมวิจยั ทั้ง 3 หมูบาน มีการรับรูที่เหมือนกันหลายประเด็น และมีการรับรูที่แตกตางกันในบางประเด็น สรุปไดตามตาราง ตารางที่ 4.3 สรุปการรับรูปจจัยเสี่ยงตอการปวยเปนโรคไขเลือดออก

การรับรูที่เหมือนกัน - บุคคลและความเสี่ยงของบุคคลตอการปวย - พาหะนําโรค - ปจจัยเสี่ยงและพฤติกรรมที่ทําใหเสี่ยงตอการ ปวย

การรับรูที่แตกตางกัน หมูบาน หมูบานเสี่ยง หมูบาน ปานกลาง เสี่ยงต่ํา เสี่ยงสูง -มีการรับรูที่ -มีการรับรูที่ - มีการรับรูที่ ถูกตอง ไมถูกตอง ไมถูกตอง เรื่อง เรื่อง แหลง พฤติกรรม เพาะพันธุของ ยุงลาย ของยุงลาย

จากตารางที่ 4.3 สามารถอธิบายรายละเอียดในดานการรับรูปจจัยเสี่ยงตอการปวย เปนโรคไขเลือดออกที่เหมือนกันและที่แตกตางกัน ดังนี้ 1) การรับรูที่เหมือนกัน ผูรวมวิจยั ทุกหมูบานมีการรับรูที่เหมือนกัน คือ (1) คนทุกคนมีความเสี่ยงตอการปวยเปนโรคไขเลือดออก (2) ระดับความเสี่ยงตอการปวยเปนโรคไขเลือดออกของบุคคลมีความ แตกตางกัน กลาวคือผูรวมวิจัยของแตละหมูบานสวนใหญมีการรับรูวา บุคคลในครัวเรือนมีโอกาส เสี่ยงตอการปวยไมเทากัน เชน คนที่มีอายุนอยจะมีโอกาสเสี่ยงตอการปวยมากกวา หรือคนที่เคย ปวยมาแลวจะมีโอกาสปวยไดมากกวาคนที่ไมเคยปวย (3) ยุงลายเปนพาหะนําโรคไขเลือดออก และการถูกยุงลายกัดทําใหปวยเปน โรคไขเลือดออก (4) ทุกคนมีโอกาสที่จะถูกยุงกัดไดทกุ แหงไมวาในบานเรือน บริเวณนอก บานเรือน หรือในโรงเรียน (5) การถูกยุงกัดภายในบานเรือนเปนปจจัยเสี่ยงตอการปวยเปนโรค ไขเลือดออกมากที่สุด

61 (6) พฤติกรรมของบุคคลมีผลตอความเสี่ยงในการปวยเปนโรคไขเลือดออก เชน เด็กที่นั่งดูโทรทัศนภายในบานจะมีโอกาสถูกยุงกัดมากกกวาเด็กที่ไปวิ่งเลนในทุงนา 2) การรับรูที่แตกตางกัน เปรียบเทียบการรับรูปจจัยเสี่ยงในแตละหมูบานได ดังนี้ (1) หมูบานเสี่ยงต่ํา ผูรวมวิจัยในหมูบานนี้ มีการรับรูท ี่ถูกตองถึงสาเหตุที่ ทําใหถูกยุงกัดในที่ตางๆ เชน สาเหตุที่ถูกยุงกัดภายในบานเรือน คือ การขาดการปองกันยุงกัดที่ดี พอ สาเหตุที่ถูกยุงกัดภายนอกบานเรือน คือ การที่บุคคลเขาไปภายในบริเวณสวนหลังบาน ซึ่ง อาจจะมีแหลงเพาะพันธุของยุงลายได และสาเหตุที่ถูกยุงกัดในโรงเรียน คือ การที่ครูขาดความ สนใจในการปองกันโรคไขเลือดออก ทําใหมีแหลงเพาะพันธุยุงลายในโรงเรียน สงผลใหปริมาณ ความชุกของยุงลายมีมากขึ้น (2) หมูบานเสี่ยงปานกลาง ผูรวมวิจยั ในหมูบานนี้ มีการรับรูปจจัยเสี่ยงที่ไม ถูกตอง คือ การระบุวา เด็กวัยรุนเสี่ยงตอการเกิดโรคไขเลือดออกเพราะชอบไปนั่งเลนใตตนไม ชวงเวลากลางคืน เพราะวาผูที่มีโอกาสเสี่ยงตอการปวยเปนโรคไขเลือดออกตองเปนผูที่ถูกยุงลาย กัดเทานัน้ และลักษณะนิสัยการออกหากินของยุงลายจะออกหากินในชวงเวลากลางวันและพลบค่ํา ในบริเวณในบานพักอาศัย ไมใชที่โลงแจงและชวงกลางคืนดังที่ผูรวมวิจัยเขาใจ และจากการรับรู ดังกลาวนีแ้ สดงใหเห็นวา ผูรวมวิจยั ยังขาดความรูเรื่องพฤติกรรมของยุงลายซึ่งเปนพาหะนําโรค ไขเลือดออก (3) หมูบานเสี่ยงสูง ผูรวมวิจัยในหมูบานนี้มีการรับรูป จจัยเสีย่ งที่ไมถูกตอง คือ การระบุวา สาเหตุที่ทําใหมียุงชุกชุมมาก เนื่องจากสภาพที่ตั้งของหมูบานที่ติดกับอางเก็บน้ํา ขนาดใหญ และมีรองระบายน้ําในหมูบาน จึงทําใหเปนแหลงเพาะพันธุของยุงลาย ซึ่งเปนการ รับรูที่ไมถูกตอง เพราะวายุงลายจะวางไขในน้ําขังที่ใสนิ่งและสะอาดเทานั้นไมใชนา้ํ ในอางเก็บน้ํา ที่มีน้ําไหลและขุน หรือ รองระบายน้ําที่มนี ้ําคลําขังอยูตามที่เขาใจ และจากการรับรูดังกลาวนี้ แสดงใหเห็นวา ผูรวมวิจยั ยังขาดความรูเรื่องแหลงเพาะพันธุของยุงลายซึ่งเปนพาหะนําโรค ไขเลือดออก 3.2.4 แผนภูมกิ ารรับรูปจจัยเสี่ยง ปจจัยเสีย่ งที่ทําใหเกิดโรคไขเลือดออกในทาง ระบาดวิทยา จําแนกได 3 ดาน คือ ปจจัยดานผูปวย ปจจัยดานไวรัสและภูมิคุมกันโรค ปจจัยดาน พาหะของโรค (สุจิตรา นิมมานนิตย 2545: 10-11) และผูวิจัยไดนํามาเปนกรอบในการสรุป ผลการวิจัย จากผลการวิจัยทัง้ สามหมูบานสามารถนํามาจําแนกไดทั้ง 3 ดานแสดงใหเห็นวา ผูรวม วิจัยสวนใหญมีการรับรูปจจัยเสี่ยงไดถูกตองครบถวน และสามารถระบุถึงสาเหตุของปจจัยเสีย่ ง ดานพาหะนําโรคไดโดยที่มีความคลายคลึงและความแตกตางกันในแตละหมูบาน ดังนี้

62 1) ปจจัยดานผูปวย ผูรวมวิจยั ทั้ง 3 หมูบ านมีการรับรูวา บุคคลทั้งเด็กและ ผูใหญมีความเสี่ยงตอการปวยเปนโรคไขเลือดออก และเด็กจะมีโอกาสปวยมากกวาผูใหญ 2) ปจจัยดานไวรัสและภูมิคุมกัน ผูรวมวิจยั ในหมูบา นเสี่ยงสูงซึ่งมีลูกที่เคย ปวยดวยโรคไขเลือดออกมาแลว มีการรับรูวาเด็กทีเ่ คยปวยจะมีโอกาสเสี่ยงตอการปวยดวยโรค ไขเลือดออกมากกวาเด็กทีไ่ มเคยปวย 3) ปจจัยดานพาหะนําโรค ผูรวมวิจัยทัง้ 3 หมูบาน มีการรับรูวาพาหะนําโรค ไดแกยุงลาย และคนที่ถูกยุงลายกัดจะมีความเสี่ยงตอการปวยเปนโรคไขเลือดออก สถานที่ที่จะถูก ยุงกัดมีทั้งภายในอาคารบานเรือนของตนอง บริเวณนอกอาคารบานเรือน และภายในบริเวณ โรงเรียน ปจจัยเสี่ยงตอการปวยเปนโรคไขเลือดออกมากที่สุด คือ การที่เด็กถูกยุงกัดตอนที่นั่งดู โทรทัศนภายในบานอาคารบานเรือนของตนเอง ผูวิจัยไดนํากรอบปจจัยเสี่ยงตอการเกิดโรคไขเลือดออกทั้ง 3 ดานดังกลาว ขางตนมาใชในการวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณกลุมแบบโฟกัส สามารถอธิบายถึงสภาพ การรับรูเรื่องปจจัยเสีย่ งตอการเกิดโรคไขเลือดออกของผูรวมวิจัยทั้ง 3 หมูบาน รวมทั้งทราบถึง สาเหตุที่ทําใหผูรวมวิจยั ตองเผชิญกับปจจัยเสี่ยงตาง ๆไดอยางดี เชน 1) ผูรวมวิจยั ในหมูบานเสี่ยง ปานกลางไดรบั รูสาเหตุที่ทําใหตองเสี่ยงตอการถูกยุงลายกัดทั้งบริเวณในบานและนอกบานวามา จากการขาดความรวมมือในการปองกันโรคจากประชาชนบางคน เนื่องมาจากบุคคลเหลานั้นไมมี เวลาที่จะทํากิจกรรม หรือมีนิสัยที่ดื้อรั้นไมเชื่อฟงคําแนะนําของคนอืน่ หรือการขาดการรับรู ขาวสารอันเนือ่ งมาจากการไมเคยเขารวมในการประชุมหรือกิจกรรมตาง ๆที่ทางหมูบานจัดขึ้น หรือการที่เด็กวัยรุนเสีย่ งตอการถูกยุงลายกัดเนื่องมาจากพฤติกรรมที่ชอบนั่งรวมกลุมกันใตตนไม เวลากลางคืน 2) ผูรวมวิจยั ในหมูบานเสี่ยงสูง ไดรับรูถึงสาเหตุที่ตองเสี่ยงตอการถูกยุงลายกัดทั้ง ในบริเวณในบานและนอกบานวามาจากสภาพแวดลอม เชน แบบแปลนบานเรือนทีพ่ ักอาศัย เปลี่ยนแปลงทําใหเอื้อตอการเปนที่เพาะพันธุและพักอาศัยของยุงลาย หรือมีรองระบายน้ําใน หมูบาน หรือสภาพหมูบานติดกับอางเก็บน้ําขนาดใหญ ซึ่งเปนแหลงเพาะพันธุของยุงลายได และ 3) จากขอ 1) และ ขอ 2) ทําใหทราบถึงการรับรูที่ไมถูกตองในเรื่องปจจัยเสีย่ งของผูรวมวิจยั บางกลุม คือ ผูรวมวิจยั ในหมูบ านเสี่ยงปานกลางยังมีการรับรูที่ไมถูกตองในเรื่องพฤติกรรมของ ยุงลาย และผูร วมวิจยั ในหมูบ านเสี่ยงสูงยังมีการรับรูทไี่ มถูกตองในเรือ่ งแหลงเพาะพันธุของยุงลาย รายละเอียดเกีย่ วกับการรับรูปจจัยเสีย่ งอธิบายเปนแผนภูมิในภาพที่ 4.2

63 ทั้งเด็กและผูใหญ (ทุกหมูบาน) ดานผูปวย

ปจจัยเสี่ยง

เด็กมีโอกาสปวยมากกวาผูใหญ (ทุกหมูบาน)

ดานไวรัสและ ภูมิคุมกัน

เด็กเคยปวยจะมีโอกาสปวยมากกวาเด็กที่ไมเคยปวย** เด็กวัยรุนนั่งเลนใตตนไมตอนกลางคืน** ยุงกัดนอกบาน

เด็กวิ่งเลนในสวนหลังบาน*,** ผูใหญเก็บใบหมอนในสวนหมอน*

ดานพาหะ นําโรค

ไมมีเวลา

ยุงกัด ยุงกัดใน บานเรือน

ประชาชนไม** รวมมือปองกัน

นิสัยที่ดื้อรั้น ขาดการรับรูขาวสาร

ขาดการปองกันยุงกัดที่ดีพอ(ชวงดูโทรทัศน) (ทุกหมูบาน) สภาพแวดลอมของหมูบานที่เปลี่ยนแปลง*** สภาพที่ตั้งของหมูบานติดกับแหลงน้ํา และมี รองระบายน้ ในหมู นมาก*** แบบแปลนบ านเรือํานที ่เปลีบ่ยานแปลง*** การกําจัดลูกน้ําไมครอบคลุม*** ลักษณะอาคารเรียนที่มีขนาดใหญ** ยุงกัดในโรงเรียน

ครูขาดความสนปองกันโรค* การจัดหองเรียนไมเหมาะสม* ขาดการปองกันยุงกัดอยางดีพอ* **

* การรับรูหมูบานเสี่ยงต่ํา ** การรับรูหมูบานเสี่ยงปานกลาง *** การรับรูหมูบานเสี่ยงสูง

ที่ตั้งโรงเรียนอยูใกลปา** ผูปกครองไมไดติดตามดูแลเด็ก**

ภาพที่ 4.2 แผนภูมิการรับรูปจจัยเสี่ยงตอการปวยดวยโรคไขเลือดออก

64 3.3 การรับรูการปองกันโรค การรับรูการปองกันโรคไขเลือดออก หมายถึง การที่ บุคคลสามารถบอกไดวามีวิธกี ารอะไรเมื่อกระทําแลวจะเปนการปองกันใหตนเอง หรือ บุคคลใน ครัวเรือนไมมโี อกาสปวยเปนโรคไขเลือดออก และผูรวมวิจยั มีการรับรูการปองกันโรค ดังนี้ 3.3.1 การใหความสําคัญตอวิธีการปองกันโรค จากการทบทวนวรรณกรรม สรุปวิธีการปองกันโรคไขเลือดออกได 2 มาตรการ คือ (1) มาตรการควบคุมและกําจัดลูกน้ํายุงลาย ซึ่งหมายถึงการกํากับดูแลไมใหมี ลูกน้ํายุงลายในภาชนะใด ๆ และการทําใหลูกน้ํายุงลายหมดสิ้นไปหากพบวายุงลายอยูในภาชนะขัง น้ํานั้น ๆ และ(2) มาตรการปองกันและกําจัดยุงลาย ซึ่งหมายถึงการกัน้ หรือตานทานไวไมใหมี ยุงลายในบานรวมทั้งการหลีกเลี่ยงการถูกยุงลายกัด และหากพบวามียุงลายในบานจะตองทําการ ขับไลหรือทําใหหมดไป (สีวิกา แสงธาราทิพย 2545: 59-62) ทั้งนี้ในแตละมาตรการยังจําแนก วิธีดําเนินการได 3 วิธี คือ วิธีทางกายภาพ วิธีทางชีวภาพ วิธีทางเคมี และผูวิจยั ไดนํามาเปนกรอบ ในการสรุปผลการวิจยั การรับรูการปองกันโรค แยกรายมาตรการ รายวิธี รายหมูบาน ดังตาราง ตารางที่ 4.4 รอยละความถี่ของคําที่กลาวถึงการรับรูการปองกันโรคไขเลือดออก จําแนกราย มาตรการและรายหมูบาน มาตรการปองกันโรค มาตรการควบคุมและกําจัดลูกน้ํายุงลาย - วิธีทางกายภาพ - สํารวจลูกน้ํายุงลาย - เปลี่ยนน้ําในโองน้ํา หรืออาง น้ําในหองน้ํา - ทําลายแหลงเพาะพันธุลูกน้าํ ยุงลาย - ขุดลอกรองระบายน้าํ - วิธีทางชีวภาพ - ปลอยปลากินลูกน้ํา

เสี่ยงต่ํา เสี่ยงปานกลาง เสี่ยงสูง ความถี่ รอยละ ความถี่ รอยละ ความถี่ รอยละ

5 5

23 23

3 8

13 34

1 6

4 24

1

4

2

9

3

12

-

-

-

1

4

-

-

3

-

-

13

65 ตารางที่ 4.4 รอยละความถี่ของคําที่กลาวถึงการรับรูการปองกันโรคไขเลือดออก จําแนกราย มาตรการและรายหมูบาน (ตอ) มาตรการปองกันโรค

เสี่ยงต่ํา เสี่ยงปานกลาง เสี่ยงสูง ความถี่ รอยละ ความถี่ รอยละ ความถี่ รอยละ

- วิธีทางเคมี - ใสทรายอะเบท รวมมาตรการควบคุมและกําจัดลูกน้ํา ยุงลาย

4 15

มาตรการปองกันและกําจัดยุงลาย - วิธีทางกายภาพ - ใชอุปกรณไฟฟาช็อตยุง - กางมุงนอน - เปดพัดลม - วิธีทางเคมี - ฉีดยา / จุดยากันยุง

2 3

- พนสารเคมี

18 68

2 18

9 14

-

9 78

1 12

4 48

3

13

1 1 4

4 4 16

-

-

5

20

2

9

2

9

2

8

รวมมาตรการปองกันและกําจัดยุงลาย

7

32

5

22

13

52

รวมทุกมาตรการ

22

100

23

100

25

100

ตารางดังกลาวเปนการแจงนับความถี่ของจํานวน “คํา” ที่ใหความหมายถึง “การ รับรูการปองกันโรค” ที่ผูรวมวิจยั ทั้ง 3 หมูบานไดกลาวถึง และนับมาปรับคาเปน “รอยละ” ของ ความถี่เพื่อใหสามารถเปรียบเทียบกันไดในทั้ง 3 หมูบาน และนําคารอยละของความถี่ของ “คํา” มา จัดลําดับความสําคัญของ “คํา” นั้น ๆ ซึ่งอธิบายโดยละเอียด ดังนี้ การใหความสําคัญตอวิธีการปองกันโรคของผูรวมวิจัยในแตละหมูบา น จะมี ความแตกตางกันแยกรายมาตรการ ดังนี้

66 1. มาตรการควบคุมและกําจัดลูกน้ํายุงลาย ผูรวมวิจยั ไดใหความสําคัญ ในวิธีการปองกันโรคที่อยูในมาตรการนี้ คือ การสํารวจยุงลาย การเปลี่ยนน้ําในโองน้ําหรืออางน้ํา ในหองน้ํา การทําลายแหลงเพาะพันธุลูกน้าํ ยุงลาย การขุดลอกรองระบายน้ํา การปลอยปลากิน ลูกน้ํา และการใสทรายอะเบท 2. มาตรการปองกันและกําจัดยุงลาย ผูรวมวิจยั ไดใหความสําคัญใน วิธีการปองกันโรคที่อยูในมาตรการนี้ คือ การใชอุปกรณไฟฟาช็อตยุง การกางมุงนอน การเปด พัดลม การฉีดยา/ จุดยากันยุง และการพนสารเคมี รายละเอียดการของการปองกันโรคไขเลือดออกที่ผูรวมวิจยั ใหความสําคัญใน แตละวิธกี ารแยกรายมาตรการมีดังตอไปนี้ 1) การใหความสําคัญตอมาตรการควบคุมและกําจัดลูกน้าํ ยุงลาย ผูรวมวิจยั ในหมูบานเสี่ยงต่ําและหมูบานเสี่ยงปานกลาง ไดใหความสําคัญตอมาตรการนี้มากกวามาตรการ ปองกันและกําจัดยุงลาย โดยมีรายละเอียดแยกรายกิจกรรม คือ (1) การสํารวจลูกน้ํายุงลาย วิธีดังกลาวเปนกิจกรรมที่ผูรวมวิจยั ในทุก หมูบานไดกลาวถึง โดยผูรวมวิจยั ในหมูบา นเสี่ยงต่ําจะใหความสําคัญมากกวาทุกหมูบาน และมาก ทุกกิจกรรมที่ดําเนินการในหมูบานนี้ ยกเวน วิธีการเปลี่ยนน้ําในโองน้าํ หรืออางน้ําทีผ่ ูรวมวิจยั ให ความสําคัญเทากัน ถึงแมวากิจกรรมนี้จะไมใชวิธีการปองกันโรคไขเลือดออกโดยตรงก็ตาม แต เปนวิธีที่นําไปสูการดําเนินกิจกรรมปองกันโรคในวิธีอนื่ ๆ และผูรวมวิจยั ในหมูบา นนี้ไดใหขอมูล วา อสม.ประจําหมูบานไดสํารวจลูกน้ํายุงลายเดือนละ 1 ครั้ง (โฟกัส 01/132 ผต.3 ,ฟกัส 02/21 ผต. 9 ) โดยบางครัง้ จะออกสํารวจรวมกับเจาหนาที่สาธารณสุขประจําสถานีอนามัย (โฟกัส 03/97ผต. 7),(สภ01/34ผต.1,สภ02/28ผต., สภ03/16ผต.1,สภ03/18ผต.1) (2) การเปลี่ยนน้ําในโองน้ํา หรืออางน้าํ ในหองน้ํา ในภาพรวมเปน กิจกรรมที่ผูรวมวิจยั ทุกหมูบา นไดใหความสําคัญมากที่สุด และไดเรียกวิธีการนีว้ า “การลางโอง” หรือ “การคว่ําโอง” หรือ “การทําความสะอาดหองน้ํา” ซึ่งหมายถึงการเปลี่ยนน้ําในโองน้ํา หรือ อางน้ําในหองน้ําในกรณีที่พบลูกน้ําเพื่อกําจัดลูกน้ําไมใหเติบโตเปนยุงลายตอไป และบางครั้ง อาจจะใสทรายอะเบทลงในโองน้ําหรืออางน้ําเพื่อปองกันไมใหมีลูกน้าํ ยุงลายเกิดขึ้น ความถี่ในการ ทําประมาณสัปดาหละครั้ง โดยสวนใหญจะทําในวันศุกรของสัปดาห (โฟกัส 01/6 ผต.1, โฟกัส 01/7 ผต.2 , โฟกัส 01/10 ผต.3 , โฟกัส 01/11 ผต.4 , โฟกัส 01/35 ผต.9 ) นอกจากนัน้ ผูรวมวิจยั ในหมูบานเสี่ยงปานกลาง ยังมีความคิดเห็นวา การเปลี่ยนน้ําในโองน้ําหรืออางอาบน้ํา เปนวิธีที่สามารถปองกันการเกิดโรคไขเลือดออกไดดีที่สุด (โฟกัส02/91 ผต.2 ) แตในทางปฏิบัติแลวยังไมสามารถทําไดครอบคลุมทุกหลังคาเรือนเพราะวา

67 เจาของบานเรือนบางคนในหมูบานไมใหความรวมมือ จึงทําใหเกิดการแพรพันธุของยุงลายไปสู บานเรือนที่อยูใ กลเคียงกันได (โฟกัส 02/75 ผต.5 ,โฟกัส 02/78ผต.5,โฟกัส 02/87 ผต.2 ) (3) การทําลายแหลงเพาะพันธุลูกน้ํายุงลาย เปนกิจกรรมที่ผูรวมวิจัยทุก หมูบานกลาวถึงเชนเดียวกันกับสองวิธีการขางตน โดยไดใหความหมายวา เปนการจัดเก็บและ ทําลายเศษภาชนะไดแก เศษกระปอง เศษกะลามะพราว ที่ถูกทิ้งไวภายในบริเวณบาน หรือบริเวณ สวนหลังบานเพื่อไมใหเปนที่ขังน้ําซึ่งอาจจะทําใหยุงลายมาวางไขได เปนตน (โฟกัส 01/7ผต.2 , โฟกัส 02/21 ผต.8 ,โฟกัส 03/99 ผต.5) (4) การขุดลอกรองระบายน้ํา เปนวิธีทผี่ ูรวมวิจยั เฉพาะในหมูบานเสี่ยงสูง เทานั้นที่กลาวถึง และไดใหความคิดเห็นวา เปนวิธีที่จะปองกันการเกิดโรคไขเลือดออกได (โฟกัส 03/96 ผต.8) เนื่องจากเขาใจวารองระบายน้ําในหมูบานเปนแหลงเพาะพันธุยุงลาย ซึง่ จากการ ทบทวนวรรณกรรมของผูวิจัยยังไมพบวายุงลายจะวางไขในรองระบายน้ําได แตจากการสัมภาษณ จนท.สอ. ประจําหมูบานเสีย่ งสูงทําใหทราบขอมูลเพิ่มเติมวาโอกาสที่ยงุ ลายจะวางไขในรองระบาย น้ําในหมูบานนั้นมีความเปนไปไดเชนเดียวกัน และ จนท.สอ.ยังไดใหความเห็นวารองระบายน้ําใน หมูบานไมไดเปนที่กักเก็บน้าํ เสียหรือน้ําครําดังที่ทุกคนเขาใจ จากการเขาเยี่ยมหมูบานของ จนท.สอ. พบวาน้ําที่ขังในรองระบายน้ําเปนน้ําใสและมีลูกน้ําจริง เมื่อมีการรณรงคกําจัดลูกน้ําใน หมูบานจึงไดนําน้ํายาเคมีผสมกับน้ํามันราดลงในรองระบายน้าํ เพื่อเปนการกําจัดยุงลายทุกครั้ง (สภ.03/ผต.1) ซึ่งจากขอมูลดังกลาวขางตนเปนการสนับสนุนแนวคิดตามทฤษฎีของ ครูท ลีวิน (Krut Lewin ) ที่แสดงใหเห็นวา บุคคลจะแสดงออกตามสิ่งที่เขาเชื่อถึงแมวาสิ่งนัน้ จะไมถูกตอง ตามผูที่อยูในวิชาชีพคิดก็ตาม (5) การปลอยปลากินลูกน้ํา เปนวิธีทเี่ ฉพาะผูรวมวิจัยซึ่งทําหนาที่ อสม. ในหมูบานเสี่ยงปานกลางเทานั้นที่กลาวถึง และไดใหความเห็นเพิ่มเติมวาการปลอยปลาใน โองน้ําใช เปนการกําจัดลูกน้ํายุงลาย เพราะวาปลาจะกินลูกน้ํายุงลายในโองน้ํา แตมีขอจํากัด คือ ตองหมั่นเปลี่ยนน้ําในโองบอย ๆ เพื่อปองกันปลาตาย (โฟกัส 02 / 89 ผต.2, โฟกัส 02 / 90 ผต.3 ) (6) การใสทรายอะเบท เปนวิธีการปองกันโรคไขเลือดออกโดยใชสารเคมี ที่เรียกวา “ทรายอะเบท” เปนสารเคมีชนิดหนึ่งที่ออกฤทธิ์ทําใหลูกน้ํายุงลายตายได แตไมมี อันตรายตอคนถาใชในปริมาณที่กําหนด ผูรวมวิจยั ทุกหมูบานไดกลาวถึงกิจกรรมนี้ และ เมื่อนํามา จัดลําดับความสําคัญ พบวา ผูรวมวิจยั ในหมูบานเสี่ยงต่าํ จะใหความสําคัญมากกวา และผูรวมวิจัย ทุกหมูบานไดใหขอมูลที่ตรงกันวา อสม.ในหมูบานจะเปนผูที่ทําการใสทรายอะเบท โดยมี วิธีดําเนินการ คือ จะทําการออกสํารวจลูกน้าํ ยุงลายในละแวกบานที่ตนเองรับผิดชอบเปนประจํา เชน สัปดาหละครั้ง หรือ ทุกวันศุกร พรอมทั้งไดใหคําแนะนําชาวบานในวิธีการปองกันยุงกัด

68 วิธีการกําจัดลูกน้ํา เชน การลางโองเปนประจํา และใสทรายอะเบทลงในโองน้ําของชาวบานเพื่อ เปนการกําจัดลูกน้ํายุงลาย มีความถี่ในการใสทรายอะเบท ประมาณ 3 เดือน ตอครัง้ (โฟกัส 01 / 6 ผต.1, โฟกัส 02 / 16 ผต.3 ,โฟกัส 02 / 21 ผต.9,โฟกัส 03 / 105 ผต.1) 2) การใหความสําคัญตอมาตรการปองกันและกําจัดยุงลาย ผูรวมวิจัยใน หมูบานเสี่ยงสูงจะใหความสําคัญตอมาตรการนี้มากกวาทุกหมูบาน และมากกวามาตรการแรก มี รายละเอียดแยกรายกิจกรรมดังนี้ (1) การใชอุปกรณไฟฟาช็อตยุง วิธีนี้เปนวิธีการกําจัดยุงลายทางกายภาพที่ ผูรวมวิจยั ในหมูบานเสี่ยงสูงเพียงหมูบานเดียวเทานั้นทีก่ ลาวถึง โดยเรียกอุปกรณชนิดนี้วา “ไม ปงปองพัดฆายุง” ซึ่งเปนสิ่งประดิษฐที่มจี ําหนายตามทองตลาดทั่วไป และใหความเห็นวาเปน วิธีการกําจัดยุงลายที่ดีกวาการใชยาฉีดยุงเนื่องจากไมมกี ลิ่นเหม็น ดังคํากลาวของผูรวมวิจัยดังนี้ “ก็เปดพัดลมบาง ฉีดยาบาง และ ซื้ออะไรนะ ไมปงปองพัดฆายุง (อุปกรณไฟฟาสําหรับช็อตยุง) ตีตายหมด ใชพัดเวลาถูกยุงมันก็ช็อตตัวยุงตายเรียบเลย เวลาจะใชก็ เสียบชารตไฟกอน เสร็จแลวก็เอาออกมาเวลาพัดก็กดปุม ยุงก็จะบินมาถูกตายขายทีไ่ มพัดไฟก็จะดูด ไหมยุง ดีกวายาฉีดเพราะมันไมเหม็น” (โฟกัส 03 / 94 ผต.1) จากการสัมภาษณ จนท.สอ.ประจําหมูบา นเสี่ยงสูง ทราบวาเปนวิธีการที่ ควรจะสงเสริมอีกวิธีการหนึ่งนอกเหนือจากการใสทรายอะเบท ดังคํากลาวตอไปนี้ “ที่นี่ไมเนนเรือ่ งทรายอะเบทเทาไหรนกั กําลังรณรงคกบั อสม. เปลี่ยนวิธี ใหม ไมเนนการใสทรายอะเบท แตจะใหชาวบานซื้อไมตยี ุงหรือไมปงปองฆายุง ..สะดวกดี กอนใช ก็เสียบชารตไฟกอน เวลาใชถอดปลั๊กออก เอาไปแกวงไปมา ยุงก็จะบินมาถูกก็จะถูกไฟดูดตาย อีก อยางมันก็ไมเหม็นเหมือนยาฉีด หรือ ยากันยุง …อุปกรณนี้นาสงเสริม ราคาอันหนึง่ ประมาณ 90 บาท ..ดีกวาจะใชสารเคมี. ใชไดดีในบานปองกันยุงกัด..โดยเฉพาะชวงเด็กดูโทรทัศน … ทรายอะเบทก็ใสเฉพาะในหองน้ํา” (สภ01/ผต.1) (2) กางมุงนอน วิธีดังกลาวเปนกิจกรรมที่ผูรวมวิจัยในหมูบานเสี่ยงต่ําและ หมูบานเสี่ยงสูงไดกลาวถึง เมื่อนํามาจัดลําดับความสําคัญ พบวา มีระดับความสําคัญคอนขางนอย เมื่อเปรียบเทียบกับกิจกรรมอื่นในมาตรการเดียวกัน และผูรวมวิจัยในหมูบานเสี่ยงต่าํ ไดให ความเห็นวาสามารถปองกันยุงกัดไดในชวงที่เด็กนอนกลางวัน เพราะยุงลายหากินในเวลากลางวัน ทําใหเด็กมีโอกาสถูกยุงกัดได (โฟกัส 01/6 ผต.1,โฟกัส 01/35 ผต.9 ) แตยังไมสามารถปองกันยุง กัดไดดีพอ เพราะ เด็กยังมีโอกาสที่จะถูกยุงกัดและเสี่ยงตอการปวยเปนโรคไขเลือดออกได เชนเดียวกันกับวิธีเปดพัดลมไลยุง “เสี่ยง คะ เพราะบางครั้งเราก็ไมสามารถปองกันยุงกัดไดแมวา บางครั้ง

69 เปดพัดลมไลยงุ หรือกางมุง ยุงก็ยังกัดได” (โฟกัส 01/102 ผต.9) (3) เปดพัดลม เปนกิจกรรมที่ผูรวมวิจัยทุกหมูบานไดกลาวถึง และเมื่อ นํามาจัดลําดับความสําคัญ พบวามีความสําคัญในระดับมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับกิจกรรมอื่นใน มาตรการเดียวกัน วัตถุประสงคที่เปดพัดลมคือเพื่อไลยุงไมใหกัดบุตรหลานขณะนัง่ ดูโทรทัศน ภายในบานในชวงเวลากลางวัน หรือพลบค่ํา หรือชวงทีเ่ ด็กนอนเวลากลางวัน แตผูรวมวิจยั ใน หมูบานเสี่ยงต่าํ และเสี่ยงปานกลางยังมีความเห็นตรงกันวา ไมใชวิธีทดี่ ีนัก เพราะยังไมสามารถ ปองกันยุงกัดไดดีพอ ทําใหเด็กมีโอกาสถูกยุงกัดและเสี่ยงตอการปวยเปนโรคไขเลือดออกได (โฟกัส 01/102 ผต.9,โฟกัส01/108 ผต.8,โฟกัส01/117 ผต.1,โฟกัส 02/43 ผต.3 ,โฟกัส 02/44 ผต.4 ) (4) ฉีดยา /จุดยากันยุง เปนกิจกรรมที่ผูรวมวิจยั ในหมูบานเสี่ยงสูงหมูบาน เดียวที่ไดกลาวถึง และไดใหขอมูลวาเปนวิธีที่ใชเพื่อปองกันยุงกัดเปนครั้งคราวเฉพาะเวลาที่บุตร หลานนั่งดูโทรทัศนในชวงเวลาพลบค่ําหรือตอนกลางวันเทานั้น (โฟกัส 03/84 ผต.6,โฟกัส 03/ 85 ผต.5 ,โฟกัส 03/88 ผต.3,โฟกัส 03/94 ผต1) (5) พนสารเคมี เปนกิจกรรมที่ผูรวมวิจัยทุกหมูบานไดกลาวถึง และได ใหรายละเอียดวา เปนวิธีที่กระทําเปนครั้งคราวในหมูบานมีการคาดการณวาจะมีความชุกของ ยุงลายมาก ซึง่ มาจากผลการคํานวณหา BI. และ HI. หรือ หมูบานทีม่ ีผูปวยดวยไขเลือดออก หรือ สถานที่ที่เปนแหลงรวมของผูคนจํานวนมาก ไดแก วัด หรือ โรงเรียน ผูทําการพนยุงไดแก อสม. โดยในบางครั้งก็มี จนท.สอ. รวมปฏิบัติดวย การพนสารเคมีมีความถี่ประมาณปละ 2 ครั้ง (โฟกัส 01/67 ผต.4,โฟกัส 01/133 ผต.10, โฟกัส 02/56 ผต.2, โฟกัส 03/103 ผต.3, โฟกัส 03/104 ผต.2) ผลการศึกษาดังขางตนนี้สรุปไดวา ผูรวมวิจัยในทุกหมูบ านไดกลาวถึงวิธีการ ปองกันโรคไขเลือดออกหลายกิจกรรม เมือ่ นํามาจัดลําดับความสําคัญเปนกลุมกิจกรรมแยกตาม มาตรการ พบวา ผูรวมวิจัยไดใหความสําคัญตอกิจกรรมที่อยูในมาตรการควบคุมและกําจัดลูกน้ํา ยุงลายมากกวามาตรการปองกันและกําจัดยุงลาย กิจกรรมที่ผูรวมวิจยั ทุกหมูบานไดกลาวถึง คือ การสํารวจลูกน้ํายุงลาย การเปลี่ยนน้ําในโองน้ําหรืออางน้ําในหองน้ํา การทําลายแหลงเพาะพันธุ ลูกน้ํายุงลาย การเปดพัดลมไลยุง การพนสารเคมีกําจัดยุง เมื่อนํามาจัดลําดับความสําคัญ เปรียบเทียบรายกิจกรรม พบวากิจกรรมที่ผูรวมวิจยั ทุกหมูบานใหความสําคัญมากที่สุด คือ กิจกรรมการเปลี่ยนน้ําในโองน้ําหรืออางน้ําในหองน้ํา 3.3.2 สรุป ผลการรับรูการปองกันโรคไขเลือดออก จากการศึกษาพบวา ผูรวมวิจยั ไดกลาวถึงกิจกรรรมการปองกันโรค ไขเลือดออกมีความหลากหลายและแตกตางกัน นํามาสรุปใหเห็นถึงการรับรูวิธีการปองกันโรค จําแนกไดสองประเภทคือ การรับรูที่เหมือนกัน กับการรับรูที่แตกตางกันสรุปได ดังตารางที่ 4.5

70 ตารางที่ 4.5 สรุปผลการรับรูการปองกันโรคไขเลือดออก

การรับรูที่เหมือนกัน - การรับรูวิธีการปองกัน โรคจัดอยูในระดับดี

การรับรูที่แตกตางกัน หมูบานเสี่ยงต่าํ หมูบานเสี่ยง ปานกลาง -รับรูวาการปองกัน -รับรูวาการปองกัน โรคประสบผลสําเร็จ โรคยังไมประสบ เพราะไดรับความ ผลสําเร็จเนื่องจาก รวมมือดวยดี ขาดความรวมมือ

หมูบานเสี่ยงสูง - รับรูวาการปองกัน โรคไมประสบ ผลสําเร็จเนื่องจาก ปจจัยภายนอก

จากตารางดังกลาวสามารถอธิบายในรายละเอียดไดดังตอไปนี้ 1) การรับรูที่เหมือนกัน ผูรวมวิจยั ทุกหมูบานมีการรับรูที่เหมือนกันวา (1) โรคไขเลือดออกเปนโรคที่สามารถปองกันไดและการปองกันโรค ไขเลือดออกมีกิจกรรมที่หลากหลายและมีความสําคัญแตกตางกัน กลาวคือ จากผลการศึกษาพบวา ผูรวมวิจยั ทุกหมูบานเห็นวา โรคไขเลือดออกเปนโรคที่สามารถปองกันได และไดกลาวถึงกิจกรรม การปองกันโรคไขเลือดออกหลายกิจกรรม เมื่อจัดลําดับความสําคัญทําใหทราบวา ผูรว มวิจัยไดให ความสําคัญในแตละกิจกรรมที่กลาวถึงแตกตางกัน เชน หมูบานเสี่ยงต่าํ และหมูบานเสี่ยงปานกลาง ไดใหความสําคัญกับมาตรการควบคุมและกําจัดลูกน้ํายุงลายมากกวามาตรการปองกันและกําจัด ยุงลาย ในขณะที่ผูรวมวิจัยในหมูบานเสีย่ งสูงไดใหความสําคัญในมาตรการปองกันและกําจัด ยุงลายมากกวาแตมีความแตกตางกันกับมาตรการแรกไมมากนัก (2) การดําเนินกิจกรรมเพือ่ ปองกันโรคไขเลือดออกตองอาศัยความรวมมือ รวมใจ และความพรอมเพรียงกันในการปฏิบัติจากประชาชนทุกคน กลาวคือจากผลการศึกษา พบวา ผูรวมวิจัยรับรูวากิจกรรรมบางอยางที่คิดวาเปนกิจกรรมที่ดีที่สุด แตเมื่อนํามาปฏิบัติแลวหาก ขาดความรวมมือจากประชาชนในหมูบานแลว จะไมสามารถทําใหการปองกันโรคประสบ ผลสําเร็จได เชน การเปลี่ยนน้ําในโองน้ําหรืออางน้ําในหองน้ําเพื่อกําจัดลูกน้ํายุงลายยังไมสามารถ ปองกันการแพรพันธุของยุงลายได เนื่องจากมีประชาชนที่เปนเจาของบานเรือนบางคนไมใหความ รวมมือในการปฏิบัติ จึงทําใหเกิดการแพรพันธุไปสูบานเรือนที่อยูใกลเคียงกันได (3) การดําเนินกิจกรรมเพือ่ ปองกันโรคไขเลือดออก ตองปฏิบัติรวมกัน อยางเปนขั้นตอนและมีความตอเนื่อง กลาวคือ ผลการศึกษาพบวาผูรวมวิจัยรับรูวาการดําเนินการ

71 บางกิจกรรมตองมีการรวมกันปฏิบัติ เพื่อเปนการกระตุน เตือนใหเกิดความรวมมือ และมีการ ดําเนินการที่ตอ เนื่อง เชน การกําจัดลูกน้ํายุงลาย เริ่มตนดวยการสํารวจแหลงเพาะพันธุลูกน้ําโดย อสม. ที่รับผิดชอบละแวกบาน เมื่อพบลูกน้ํายุงลายจะแนะนําใหเจาของบานทํากิจกรรมตาง ๆเพื่อ เปนการจัดลูกน้ํา เชน ลางโอง หรือใสทรายอะเบทลงในโองน้ํา โดยมีความตอเนื่องในการสํารวจ ลูกน้ํายุงลายและลางโองน้ําประมาณสัปดาหละครั้ง สวนการใสทรายอะเบทประมาณ 3 เดือน ตอครั้ง (4) การปองกันโรคบางกิจกรรมมีความจําเปนจะตองมีผูนําในการปฏิบัติ กลาวคือ ผลการศึกษาพบวาผูรวมวิจยั รับรูวา การดําเนินกิจกรรมปองกันโรคบางกิจกรรมตองมี ผูนําในการปฏิบัติเพื่อกระตุน เตือนใหประชาชนตระหนักถึงความสําคัญของกิจกรรมและใหความ รวมมือในการปฏิบัติ เชน การสํารวจลูกน้ํายุงลาย หรือ การทําลายแหลงเพาะพันธุยุงลาย หรือการ ใสทรายอะเบท เปนตน ซึ่งผูนําในการปฏิบัติไดแก อสม. หรือ จนท.สอ. บางกิจกรรมอาจจะตอง อาศัยผูมีความรูเฉพาะ เชน การคํานวณหาคา BI. และ HI. เพื่อวางแผนในการกําจัดยุงลาย หรือการ พนสารเคมีเพือ่ กําจัดยุงลายจําเปนจะตองอาศัยผูมีความชํานาญในการปฏิบัติ เพื่อไมใหเกิดอันตราย ตอสุขภาพ (5) กิจกรรมการปองกันโรคที่สามารถปฏิบัติไดจริงตองมีความสะดวกใน การปฏิบัติ กลาวคือ ผลการศึกษาพบวาผูรวมวิจยั ทุกหมูบานไดใหความสําคัญตอวิธีการเปดพัดลม อยูในระดับตน ๆ และมากกวาวิธีการฉีดยา/จุดยากันยุง ซึ่งแสดงใหเห็นวาผูรว มวิจยั สวนใหญจะ ใชวิธีนี้เพื่อการปองกันไมใหยุงกัดมากกวาการฉีดยา/จุดยากันยุง ถึงแมจะทราบดีวาอาจจะไมไดผล ในการปองกันโรคดีนัก เชน การเปดพัดลมเพื่อไลยุงเวลาที่เด็กนั่งดูโทรทัศนในบานในชวงพลบค่ํา หรือชวงกลางวันในวันหยุดเรียน อาจจะมีเด็กบางคนถูกยุงกัดไดเนื่องจากไมไดนั่งอยูใ นรัศมีที่ แรงลมจากพัดลมพัดมากระทบถึงตัวได แตเนื่องจากวาพัดลมเปนเครือ่ งใชไฟฟาทีม่ ีประจําบานอยู แลวจึงทําใหมคี วามสะดวกที่จะนํามาใชไดทันที ซึ่งแตกตางกับ “ยาจุดกันยุง” หรือ “ยาฉีดยุง” ที่ จะตองไปซื้อหาเพื่อสํารองไวเผื่อใชงาน (6) กิจกรรมการปองกันโรคที่ไดรับความสนใจจากประชาชนจะตองมี ความทันสมัย กลาวคือ ผลการศึกษาพบวาผูรวมวิจยั ในหมูบานเสี่ยงสูงไดกลาวถึงอุปกรณกําจัด ยุงชนิดหนึ่งทีผ่ ูรวมวิจยั เรียกวา “ไมปงปองฆายุง” ซึ่งมีรูปทรงและวิธีใชที่แปลกและแตกตางกับ อุปกรณกําจัดยุงที่พบเห็นโดยทัว่ ไปวา ปจจุบันในหมูบา นนี้ประชาชนสวนใหญไดนิยมใชอุปกรณ ชนิดนี้มากขึ้นทั้งที่ไมเคยไดรับการแนะนําจาก จนท.สอ.มากอน และอาจจะมีความยุง ยากในการใช งานก็ตามแตกท็ ําใหเกิดความเพลิดเพลินในการใชได เชน การที่ใชไมปงปองฆายุงจะตองแกวงไป มาเพื่อใหกระทบกับตัวยุงและช็อตยุงใหตายคลายกับการตีลูกปงปองในการเลนกีฬาปงปอง ซึ่ง

72 แสดงใหเห็นวา ความสะดวกในการปฏิบัติกิจกรรมการปองกันโรคอยางเดียวอาจจะไมพอเพียงใน การตัดสินใจของประชาชนในการเลือกทํากิจกรรมนั้น และอาจจะตองมีความทันสมัยเปนตัวแปร ในการตัดสินใจรวมดวย (7 ) การรับรูสารสนเทศเกี่ยวกับการปองกันโรคของผูรวมวิจยั ทุกหมูบาน จัดอยูใ นระดับดี กลาวคือ เมื่อนําผลการศึกษาถึงประเภทของกิจกรรมในการปองกันโรค ไขเลือดออกทีผ่ ูรวมวิจยั ทั้ง 3 หมูบานรับรู มาเปรียบเทียบกับแนวทางการปองกันโรคที่ไดจากการ ทบทวนวรรณกรรมสรุปไดวา ผูรวมวิจยั ทัง้ สามหมูบานมีการรับรูสารสนเทศเกี่ยวกับการปองกัน โรคใน “ระดับดี” เพราะสามารถระบุกิจกรรมไดอยาง ครบถวนและถูกตอง ถึงแมวาในหมูบาน เสี่ยงต่ําจะระบุวา “การขุดลอกรองระบายน้ํา” เปนกิจกรรมที่ทําเพื่อปองกันโรคไขเลือดออก ซึ่ง เปนผลพวงมาจากการรับรูทผี่ ิดพลาดวา รองระบายน้ํา หรือ หนองน้ํา เปนแหลงเพาะพันธุยุงลายก็ ตาม แตไมไดสงผลทางลบตอการปองกันโรคแตประการใด เพราะวาไดมีการปฏิบัติในกิจกรรม อื่น ๆ ควบคูกนั ไปดวย 2) การรับรูของผูรวมวิจยั ที่แตกตางกัน ผูวิจัยไดนําคําใหสัมภาษณของผูรวม วิจัยในแตละหมูบานที่กลาวถึงวิธีการปองกันโรคมาเปรียบเทียบกับกระบวนการรับรูการเผชิญ ปญหา (coping response) ตามทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อการปองกันโรค (The protection motivation) วิเคราะหไดวา ผูรวมวิจยั แตละหมูบานรับรูวาตนเองเผชิญปญหาในการปองกันโรคที่ตางกัน ใน ดานผลสําเร็จของการปองกันโรคในหมูบา น พบวา มีการรับรูถึงผลสําเร็จในการปองกันโรคที่ แตกตางกันแยกรายหมูบานดังนี้ (1) หมูบานเสี่ยงต่ํา ผูรวมวิจยั หมูบานนี้รับรูวา การดําเนินกิจกรรมเพื่อ ปองกันโรคไขเลือดออกในหมูบานของตนเองนั้นประสบผลสําเร็จ และไดใหขอมูลวาโรค ไขเลือดออกเปนโรคที่สามารถปองกันไดจริงหากมีการรวมมือกันกําจัดยุงลาย (โฟกัส01/3 ผต.4) เพราะวาในรอบ 2 ปที่ผานมาในหมูบานนีไ้ มมีคนปวยดวยโรคนี้ (โฟกัส 01/4 ผต.3) อันเปนผลมา จากการรวมมือรวมใจรณรงคปองกันโรคไขเลือดออกอยางตอเนื่องโดยมี อสม.ในหมูบานเปนแกน นํา มีการรวมกลุมกันออกทําการสํารวจลูกน้ํายุงลายในหมูบานเปนประจํา และนําผลการสํารวจที่ ไดมาคํานวณหาคาความชุกของยุงลาย เพือ่ วางแผนในการปองกันโรคจนไดรับความรวมมือจาก ประชาชนในหมูบานเปนอยางดี และหากมีเจาของบานเรือนคนใดไมยอมใหความรวมมือปฏิบัติ ตามคําแนะนํา อสม.จะรายงานให จนท.สอ.ประจําหมูบ านไดรับทราบ เพื่อจะไดออกเยีย่ มพบปะ ชี้แจงถึงเหตุผลในการทํากิจกรรมดังกลาวจนไดรับความรวมมือดวยดี (2) หมูบานเสี่ยงปานกลาง ผูรวมวิจยั หมูบานนี้รับรูว า การดําเนิน กิจกรรมเพื่อปองกันโรคไขเลือดออกในหมูบานของตนเองยังไมประสบผลสําเร็จ เพราะวามีผูปว ย

73 ดวยโรคไขเลือดออกในหมูบ านนี้ทุกป สาเหตุหลักทีท่ ําใหการปองกันโรคไมประสบผลสําเร็จคือ การขาดความรวมมือจากประชาชนที่เปนเจาของบานเรือนบางคนในหมูบานที่ไมยอมปฏิบัติตาม คําแนะนําในการกําจัดยุงลายของ อสม. เชนไมยอมใสทรายอะเบทลงในโองน้ําที่มีลูกน้ํา จึงทําให เกิดการแพรพนั ธุของยุงลายไปสูบานเรือนที่อยูใกลเคียงกันได ผูรวมวิจัยที่ทําหนาที่ อสม.ไดให ขอมูลเพิ่มเติมวา จากการทีอ่ อกสํารวจลูกน้ํายุงลายจะพบลูกน้ํามากในบานเรือนหลังเดิม แสดงให เห็นวาเจาของไมยอมทําตามคําแนะนําถึงแมวาเจาของบานเรือนบางคนจะมีความรูสูง หรือ รับ ราชการก็ตาม ซึ่งมีสาเหตุมาจากไมมีบุตรหลานที่อยูในวัยที่เสีย่ งตอการเกิดโรคไขเลือดออก หรือไมมีเวลาในการทํากิจกรรม หรือลักษณะนิสัยเฉพาะบุคคลที่ดื้อรั้นและการขาดการรับรู สารสนเทศ (3) หมูบานเสี่ยงสูง ผูรวมวิจัยหมูบานนี้รับรูวา การดําเนินกิจกรรมเพื่อ ปองกันโรคไขเลือดออกในหมูบานของตนเองไมประสบผลสําเร็จ เพราะโรคนี้ยังมีการระบาดใน หมูบานทุกป และยังไมทราบสาเหตุที่แทจริงวาเกิดจากอะไรแมวาจะไดทํากิจกรรมตาง ๆ อยาง เต็มที่แลวก็ตาม ผูวิจัยไดทําการวิเคราะหขอ มูลจากการใหสัมภาษณของผูรวมวิจยั พบวา ผูรวมวิจัย รับรูวาสาเหตุหลักที่ทําใหเกิดโรคไขเลือดออกวาเนื่องมาจากปจจัยภายนอกทีไ่ มสามารถทําการ แกไขได เชน สภาพที่ตั้งของหมูบานที่อยูต ิดกับหนองน้าํ ขนาดใหญจึงทําใหเปนแหลงเพาะพันธุ ของยุงลาย หรือภายในหมูบ านมีรองระบายน้ําทําใหมีนา้ํ ขังในรองน้ําเปนแหลงเพาะพันธุยุงลาย หรือ แบบแปลนการสรางที่อยูอาศัยที่เปลีย่ นแปลงไป เชน มีหองน้ําอยูภายในตัวบานทําใหเปนที่ อยูอาศัยและเพาะพันธุของยุงลาย หรือความเจริญดานเทคโนโลยีทําใหประชาชนมีโทรทัศนรับฟง ขาวสารและความบันเทิงมากขึ้น จนทําใหพฤติกรรมของเด็กที่อยูใ นวัยเรียนเปลี่ยนไปและเสี่ยงตอ การปวยดวยโรคไขเลือดออกมากขึ้น เชน จากเดิมทีเ่ คยวิ่งเลนซุกซนตามทองทุงนาหลังเวลาเลิก เรียนหรือวันหยุดเรียนมาเปนการนั่งรวมกลุมกันดูโทรทัศนภายในบานเรือน จึงทําใหมีโอกาสถูก ยุงกัดไดมากขึน้ ถึงแมวาสวนใหญจะมีการปองกันไมใหถูกยุงกัดโดยการเปดพัดลมไลยุงแลวก็ตาม

4. แหลงสารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก ผูวิจัยขอนําเสนอผลการศึกษาแหลงสารสนเทศในประเด็นประเภทของ แหลงสารสนเทศที่ ประชาชนใหความสําคัญ แหลงสารสนเทศที่ประชาชนตองการ ชองทางในการกระจาย สารสนเทศของแหลงสารสนเทศ และบทบาทของแหลงสารสนเทศในหมูบาน มีรายละเอียด ดังตอไปนี้

74 4.1 ประเภทของแหลงสารสนเทศ ผูวิจัยไดวิเคราะหแหลงสารสนเทศเกี่ยวกับโรค ไขเลือดออกของประชาชนจากการสัมภาษณกลุมแบบโฟกัสของผูรวมวิจัยทั้ง 3 หมูบาน และจาก การสัมภาษณ จนท.สอ. ประจําหมูบานในแตละหมูบาน สรุปผลดังตาราง ตารางที่ 4.6 แหลงสารสนเทศของประชาชนจําแนกประเภทและรายหมูบาน ประเภทแหลง สารสนเทศ 1. ประเภทบุคคล

หมูบานเสี่ยงต่าํ

2. ประเภทสื่อ สิ่งพิมพ

- แผนพับ

- จนท.สอ. อสม. แพทย/พยาบาล ครู เพื่อนบาน ผูใ หญบาน ผูเขารวมประชุม

หมูบานเสี่ยง ปานกลาง - จนท.สอ. อสม. แพทย/พยาบาล ผูใหญบาน

หมูบานเสี่ยงสูง

-

-

- จนท.สอ. อสม. แพทย/พยาบาล ผูใหญบาน เพื่อนบาน

จากตารางที่ 4.6 อธิบายประเภทของ แหลงสารสนเทศของประชาชนทั้ง 3 หมูบาน มี รายละเอียดดังนี้ 1. แหลงสารสนเทศโรคไขเลือดออกที่ผูรวมวิจัยรับรู จําแนกได 2 ประเภทคือ ประเภทบุคคล และประเภทสื่อสิ่งพิมพ แหลงสารสนเทศสวนใหญในทุกหมูบานคือ ประเภท บุคคล ซึ่งประกอบดวยกลุม เจาหนาทีภ่ าครัฐ ไดแก จนท.สอ. แพทย/พยาบาล ครู ผูใหญบาน เจาหนาทีต่ ัวแทนหนวยงานภาครัฐที่เขารวมประชุม และกลุมประชาชนทั่วไป ไดแก อสม. และ เพื่อนบาน และมีเพียงผูรวมวิจัยในหมูบานเสี่ยงต่ําหมูบา นเดียวที่รับรูว ามี “แผนพับ” ซึ่งเปนแหลง สารสนเทศประเภทสื่อสิ่งพิมพในหมูบาน 2. แหลงสารสนเทศประเภทสื่อสิ่งพิมพ นอกเหนือจากแผนพับที่ผูรวมวิจยั ใน หมูบานเสี่ยงต่าํ รับรูวาเปนแหลงสารสนเทศที่มีในหมูบานแลว ผลจากการสัมภาษณ จนท.สอ. ไดรับทราบขอมูลเพิ่มเติมวา ยังมี หนังสือ โปสเตอร ปายผารณรงค ภาพพลิก และเทปเสียง ซึ่ง

75 เปนสื่อประเภทกระจายเสียง ซึ่งสื่อเหลานี้ไดรับการสนับสนุนจากสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด รอยเอ็ด กระจายผานสํานักงานสาธารณสุขอําเภอเพื่อจัดสรรแก จนท.สอ. นําไปเผยแพรให ประชาชนในเขตรับผิดชอบ และสื่อประเภทนี้มีจํานวนนอยจนบางครั้ง จนท.สอ. ตองทําสําเนาเพิม่ เองและคัดเลือกสื่อเพื่อมอบใหแก อสม. ครู หรือ ผูใหญบาน ตามความเหมาะสม เพื่อใหนําไป เผยแพรแกประชาชนในหมูบ านตอไป (สภ.01/52 ผต.1,สภ.02/42 ผต., สภ.03/4 ผต.1) 3. ผลการสัมภาษณกลุมแบบโฟกัส พบวา ผูรวมวิจยั ทุกหมูบานไดกลาวถึงแหลง สารสนเทศประเภทสื่อสารมวลชน ไดแก วิทยุ และโทรทัศนวาเปนแหลงสารสนเทศที่ให สารสนเทศโรคไขเลือดออกแกตนเอง เชนผูรวมวิจยั ในหมูบานเสี่ยงต่าํ ไดกลาวถึงการเผยแพร สารสนเทศโรคไขเลือดออกทางสื่อโทรทัศน (โฟกัส 01/39 ผต.9) แตผูวิจัยตรวจสอบแลวพบวา ไมใชการเผยแพรสารสนโรคไขเลือดออก แตเปนการโฆษณาขายครีมบํารุงเสนผมที่นําภาพของ ยุงลายมาเปนสื่อที่สรางความสนใจเทานัน้ ซึ่งมีขอสังเกตวาหากหนวยงานที่รับผิดชอบการเผยแพร สารสนเทศโรคไขเลือดออกผานทางโทรทัศน จะนําเทคนิคการสรางความสนใจเชนนี้มาปรับปรุง เนื้อหาและวิธกี ารนําเสนอจะสามารถกระตุนความสนใจและการรับรูข องประชาชนไดมากขึ้น โดยเฉพาะกลุม เด็กที่ชอบดูโทรทัศนเปนประจํา และในสวนของสื่อวิทยุที่ผูรวมวิจัยกลาวถึงวา ไดรับรูสารสนเทศโรคไขเลือดออกจากสื่อนี้ แตจากการวิเคราะหขอมูลการสัมภาษณไมพบวาผู รวมวิจยั ไดกลาวถึงสารสนเทศโรคไขเลือดออกที่รับรูจากสื่อวิทยุแตอยางใด ดังนั้นผูวิจัยจึงสรุปวา วิทยุและโทรทัศน ไมใชแหลงสารสนเทศโรคไขเลือดออกที่ประชาชนรับรู 4.2 แหลงสารสนเทศที่ประชาชนใหความสําคัญ ผูวิจยั ไดจัดลําดับความสําคัญของ แหลงสารสนเทศโดยการแจงนับจํานวน “คํา” ที่ระบุไวในสวนที่ผูรวมวิจัยกลาวถึง และนํามาปรับ คาเปนรอยละ พบวา แหลงสารสนเทศที่เกี่ยวกับโรคไขเลือดออกที่ผูรวมวิจัยทั้ง 3 หมูบานให ความสําคัญสวนใหญเปนแหลงสารสนเทศประเภทบุคคล และแหลงสารสนเทศที่ผูรวมวิจยั ทุก หมูบานใหความสําคัญมากที่สุด คือ จนท.สอ. รองลงมาไดแก อสม. นอกจากนั้นพบวา การใหความสําคัญตอแหลงสารสนเทศชนิดตาง ๆ มีความ แตกตางกันในแตละหมูบาน ดังนี้ 4.2.1 หมูบานเสี่ยงต่าํ แหลงสารสนเทศที่ผูรวมวิจยั ใหความสําคัญเรียงลําดับจาก มากสุดไปหานอยสุดไดแก จนท.สอ. (รอยละ 45) อสม. (รอยละ 32) ผูเขารวมประชุมไดแก การ ประชุมรวมระหวางภาครัฐและประชาชนในหมูบาน และการประชุมประจําเดือนของกํานัน/ ผูใหญบาน (รอยละ 6) แพทย/พยาบาล (รอยละ 5) ครู และ แผนพับ (รอยละ 4 เทากัน) ผูใหญบาน และเพื่อนบาน (รอยละ 2 เทากัน)

76

ภาพที่ 4.3 แผนภูมิแสดงรอยละความสําคัญของแหลงสารสนเทศในหมูบานเสี่ยงต่าํ 4.2.2 หมูบานเสี่ยงปานกลาง แหลงสารสนเทศที่ผูรวมวิจยั ใหความสําคัญ เรียงลําดับจากมากไปหานอย ไดแก จนท.สอ.(รอยละ 47) อสม.(รอยละ 44) แพทย /พยาบาล (รอยละ 5) และผูใหญบาน (รอยละ 4)

ภาพที่ 4.4 แผนภูมิแสดงรอยละความสําคัญของแหลงสารสนเทศในหมูบานเสี่ยงปานกลาง

77 4.2.3 หมูบานเสี่ยงสูง แหลงสารสนเทศที่ผูรวมวิจยั ใหความสําคัญเรียงลําดับจาก มากไปหานอย ไดแก จนท.สอ. (รอยละ 46) อสม. (รอยละ 28) แพทย/พยาบาล (รอยละ 18) เพื่อนบาน (รอยละ 6) และผูใ หญบาน (รอยละ 2)

ภาพที่ 4.5 แผนภูมิแสดงรอยละความสําคัญของแหลงสารสนเทศในหมูบานเสี่ยงสูง 4.3 แหลงสารสนเทศที่ประชาชนตองการ จากการสอบถามผูรวมวิจยั ทั้ง 3 หมูบาน เกี่ยวกับแหลงสารสนเทศที่ผูรวมวิจยั แสวงหาเมื่อมีความตองการสารสนเทศเกีย่ วกับโรค ไขเลือดออก พบวาผูรวมวิจยั ทั้ง 3 หมูบานตองการทราบสารสนเทศจาก “จนท.สอ.” มากที่สุด นอกจากนั้นพบวามีแหลงสารสนเทศอื่น ๆ ที่ผูรวมวิจยั แตละหมูบานตองการสารสนเทศจากแหลง ตาง ๆแตกตางกัน ดังนี้ 4.3.1 หมูบานเสี่ยงต่าํ ไดแก จนท.สอ (โฟกัส01/136 ผต.1,โฟกัส01/137 ผต.2, โฟกัส01/138 ผต.3,โฟกัส01/139 ผต.4, โฟกัส01/140 ผต.5, โฟกัส01/141 ผต.6,โฟกัส01/142 ผต.8, โฟกัส01/143 ผต.9,โฟกัส01/144 ผต.10 ) ครู (โฟกัส01/148 ผต.8) แพทย/พยาบาล ประจํา โรงพยาบาล (โฟกัส01/144 ผต.10) 4.3.2 หมูบานเสี่ยงปานกลาง และหมูบานเสี่ยงสูง ไดแก จนท.สอ. (โฟกัส 02/103 ผต.8, โฟกัส 02/104 ผต.9) , (โฟกัส 03/121 ผต.7, โฟกัส 03/123 ผต.4) อสม.(โฟกัส 02/102 ผต.1) , (โฟกัส 03/120 ผต.8) ผูใหญบาน (โฟกัส 02/104 ผต.9) , (โฟกัส 02/104 ผต.9)

78 4.4 ชองทางการกระจายสารสนเทศของแหลงสารสนเทศ ผูวิจัยไดสัมภาษณ จนท.สอ. ประจําหมูบานทุกหมูบา นเพิ่มเติมในประเด็น เกี่ยวกับแหลงสารสนเทศ และไดนําขอมูลมาวิเคราะห สามารถจําแนกชองทางการกระจาย สารสนเทศของแหลงสารสนเทศตาง ๆ ในหมูบานโดยใชสถานที่เปนเกณฑ จําแนกรายหมูบานได ดังนี้ 4.4.1 หมูบานเสี่ยงต่ํา ชองทางการกระจายสารสนเทศของแหลงสารสนเทศใน หมูบานนี้ไดแก 1) สถานีอนามัย หมูบานนี้มีสถานีอนามัยตั้งอยูใ นบริเวณหมูบาน เปน สถานที่ใหบริการรักษาพยาบาลและสงเสริมสุขภาพแกประชาชนในหมูบานและหมูบานขางเคียง แหลงสารสนเทศและเครื่องมือสําหรับกระจายสารสนเทศในสถานีอนามัย มีดังนี้ (1) แหลงสารสนเทศที่มีในสถานีอนามัย ไดแก ก. แหลงสารสนเทศประเภทบุคคล ไดแก จนท.สอ. ซึ่งใน สถานีอนามัยแหงนี้ มีเจาหนาปฏิบัติงานประจําสถานีอนามัย จํานวน 3 คน ประกอบดวย หัวหนาสถานีอนามัย จํานวน 1 คน และ เจาหนาที่ระดับผูปฏิบัติงาน จํานวน 2 คน ข. สื่อสิ่งพิมพและสื่อกระจายเสียง ไดแก โปสเตอร หนังสือ แผนพับ และ เทปเสียง โดยไดรับแจกจากสํานักงานสาธารณสุขอําเภอ (2) เครื่องมือที่ใชในการกระจายสารสนเทศ มีดังนี้ ก. จนท. สอ. เจาหนาทีผ่ ูปฏิบัติงานในสถานีอนามัยนอกจากจะเปน แหลงสารสนเทศแลว ยังทําหนาที่กระจายแหลงสารสนเทศประเภทสือ่ สิ่งพิมพและสื่อกระจาย เสียงใหแกแหลงสารสนเทศอื่น ๆ เชน อสม. ผูใหญบาน ครู และประชาชนผูมารับบริการ (สภ. 01/26 ผต.1) ข. มุมประชาสัมพันธ ภายในอาคารสถานีอนามัยจะมีมุม ประชาสัมพันธ ซึ่งประกอบดวย บอรดประชาสัมพันธ กลองใสแผนพับ และชัน้ วางหนังสือ โดย จนท.สอ. ผูรับผิดชอบจะนําโปสเตอรมาปดที่บอรด จัดวางหนังสือที่ชั้นวางหนังสือ และใส แผนพับในกลองใสแผนพับ เพื่อใหประชาชนที่มารับบริการไดหยิบอานและนํากลับไปบานดวย (สภ.01/52 ผต.1) 2) ศาลากลางบาน เปนสถานที่ประชุมพบปะกันทั้งอยางเปนทางการและ ไมเปนทางการของประชาชนในหมูบาน แหลงสารสนเทศที่มีในศาลากลางบานคือ โปสเตอรที่ให ความรูเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก เครื่องมือในการกระจายสารสนเทศ คือ บอรดประชาสัมพันธ ซึ่ง จนท.สอ จะนําโปสเตอรมาปดที่บอรดแหงนี้เปนครั้งคราว

79 3) โรงเรียน ภายในบริเวณโรงเรียนมีอาคารหองสมุดเปดใหบริการแก ประชาชนทั่วไปและจัดไดวา เปนชองทางในการกระจายสารสนเทศในโรงเรียน โดยที่แหลง สารสนเทศ คือ หนังสือเกีย่ วกับโรคไขเลือดออกที่ จนท.สอ. นํามามอบใหทางโรงเรียนเก็บไวที่ หองสมุดแหงนี้เพื่อใหผูมาใชหองสมุดไดอาน (สภ.01/26 ผต.1) 4) บานผูใหญบาน บริเวณบานของผูใหญบาน มีแหลงสารสนเทศ และ เครื่องมือกระจายสารสนเทศ ดังนี้ (1) แหลงสารสนเทศ ไดแก โปสเตอร เอกสารประชาสัมพันธ เทปเสียง ที่ประชาสัมพันธและใหความรูเกี่ยวกับการปองกันโรคไขเลือดออกที่ จนท.สอ. นํามา มอบให (2) เครื่องมือการกระจายสารสนเทศ ไดแก ก. บอรดประชาสัมพันธ มีไวเพื่อปดประกาศขาวสารทางราชการ เมื่อ จนท. สอ.ไดรับแจกโปสเตอรเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกจะนํามามอบใหผูใหญบา นปดประกาศ ข. หอกระจายขาวประจําหมูบาน มีไวเพื่อประกาศขาวสารตาง ๆ ที่หนวยงานราชการสงไปประชาสัมพันธ โดยมีผูใหญบา นเปนผูทําหนาที่ประกาศ มีการกระจาย ขาวในชวงเชาตั้งแตเวลาประมาณ 05.30 น. -06.00 น. เปนประจําทุกวัน มีการประชาสัมพันธ ขาวสารที่เกี่ยวกับโรคไขเลือดออกตลอดป และในชวงรณรงคปองกันโรค จนท.สอ.จะสงเอกสาร ความรู หรือเทปเสียง ใหผูใหญบานเปดผานหอกระจายขาวเปนบางครั้ง (สภ.01/16 ผต.1, สภ.01/18 ผต1, สภ.01/22 ผต.1) 5) บานประธาน อสม. เปนที่ตั้งศูนยขอมูลดานสาธารณสุขของหมูบา น และ อยูใ นละแวกบานเดียวกันกับบานของผูใหญบาน แหลงสารสนเทศที่มีคือ เอกสารขาวสาร และโปสเตอรที่ใหความรูด านสาธารณสุข รวมทั้งความรูเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกทีไ่ ดรับมาจาก จนท.สอ. โดยมีบอรดประชาสัมพันธสําหรับปดประกาศเปนชองทางในการกระจายสารสนเทศ 6) บานอสม. เปนที่อยูอาศัยของ อสม. ซึ่งเปนแหลงสารสนเทศประเภท บุคคล และบาน อสม. นี้ถือวาเปนชองทางในการกระจายสารสนเทศจาก อสม. เพราะที่ตั้งของบาน อสม. ในหมูบา นนี้มีการกระจายตัวในทุกละแวกบาน และประชาชนในละแวกบานเดียวกันกับ อสม.จะมีความคุนเคยกับ อสม. เปนอยางดี เมื่อมีปญหาการเจ็บปวยจะมาปรึกษากับ อสม. กอนที่ จะไปสถานีอนามัยหรือโรงพยาบาล

80

ภาพที่ 4.6 ชองทางกระจายสารสนเทศในหมูบานเสี่ยงต่าํ 4.4.2 หมูบานเสี่ยงปานกลาง ชองทางในการกระจายสารสนเทศหมูบา นเสี่ยงต่ํา คือ 1) สถานีอนามัย หมูบานนี้มีสถานีอนามัยตั้งอยูใ นหมูบาน แหลงสารสนเทศ ในสถานีอนามัย คือ จนท.สอ. ที่มีจํานวน 3 คน และภาพพลิก ซึ่งจนท.สอ.จะใชภาพพลิกเปนสื่อ สุขศึกษาในการใหความรูเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกแกผูมารับบริการ ( สภ.02/42 ผต.) และมี ชองทางในการกระจายสารสนเทศเชนเดียวกันกับสถานีอนามัยของหมูบานเสี่ยงต่าํ 2) โรงเรียน ภายในบริเวณโรงเรียนมีแหลงสารสนเทศคือ โปสเตอร หรือ เอกสารเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกที่ จนท. สอ. จะนํา มาใหทางโรงเรียนเปนประจํา มีเครื่องมือใน การกระจายสารสนเทศ เชนเดียวกับหมูบานเสี่ยงต่ํา คือ หองสมุดโรงเรียน บอรดประชาสัมพันธ หอกระจายขาวของโรงเรียน แต จนท.สอ.ไมไดใชหอกระจายขาวแหงนี้ในการกระจายสารสนเทศ ไขเลือดออก (สภ.02/12 ผต, สภ.02/22 ผต.) 3) บาน อสม. ที่ตั้งบานเรือนของ อสม. ถึงแมจะกระจุกตัวในบางละแวกบาน แตในภาพรวมของหมูบานแลวมีการกระจายครบทุกละแวกบาน จัดไดวาเปนที่อยูของแหลง สารสนเทศและชองทางกระจายสารสนเทศ เชนเดียวกันกับหมูบานเสี่ยงต่ํา

81 4) ศูนยสาธารณสุขมูลฐานชุมชน เปนแหลงรวมขอมูล ความรูดานสาธารณสุข ในหมูบาน และจําหนายยาสามัญประจําบาน มีแหลงสารสนเทศคือ อสม. ที่ผลัดเปลี่ยนกันมา ปฏิบัติงาน และโปสเตอรที่ไดมาจากสถานีอนามัย มีเครือ่ งมือในการกระจายสารสนเทศ คือ บอรด ประชาสมพันธ 5) รานคากองทุนหมูบาน เปนสถานที่จาํ หนายสินคาประจําหมูบาน มีแหลง สารสนเทศและเครื่องมือกระจายสารสนเทศ ดังนี้ (1) แหลงสารสนเทศ คือ โปสเตอร แผนพับ เอกสาร และเทปเสียงที่ให ความรูเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก (2) เครื่องมือในการกระจายสารสนเทศ คือ ก. บอรดประชาสัมพันธ ซึ่ง สวนใหญ อสม. จะนําโปสเตอรมาปด ประกาศที่นี่ ข. หอกระจายขาวประจําหมูบาน โดยมีผูทําหนาที่กระจายขาวหลายคน เชน ผูใหญบาน อสม. สมาชิกองคการบริหารสวนตําบล ( อบต. ) ทําการกระจายขาวตามภารกิจที่ ตนเองรับผิดชอบ (โฟกัส 02/114 ผต.4,โฟกัส 02/115 ผต.5) สวนในเรือ่ งเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก ผูกระจายขาวคือ อสม. โดยจะรับขาวสารมาจากเจาหนาที่สถานีอนามัย ในรูปของ แผนพับ จดหมายขาว หรือเทปเสียง ความถี่ของการกระจายขาวไมสม่ําเสมอ เปนครั้งคราว (สภ.02 /18 ผต.)

82

ภาพที่ 4.7 ชองทางกระจายสารสนเทศในหมูบานเสี่ยงปานกลาง 4.4.3 หมูบานเสี่ยงสูง ชองทางในการกระจายสารสนเทศในหมูบานนี้คลายกันกับ หมูบานเสี่ยงต่าํ โดยมีชองทางดังนี้ 1) สถานีอนามัย สถานีอนามัยแหงนี้ตั้งอยูในหมูบานเชนเดียวกับสองหมูบาน ขางตน มีแหลงสารสนเทศ คือ จนท.สอ. จํานวน 3 คน และแหลงสารสนเทศประเภทสื่อสิ่งพิมพ คือ ปายผารณรงคที่ จนท.สอ. นําปายผารณรงคแขวนไวที่รั้วดานหนาของสถานีอนามัย และมี เครื่องมือกระจายสารสนเทศ เชนเดียวกันกับทั้งสองหมูบ าน 2) โรงเรียน ในโรงเรียนมีแหลงสารสนเทศคือ แผนพับ โปสเตอร เกี่ยวกับโรค ไขเลือดออกทีค่ รูไดรับแจกมาจาก จนท.สอ. และเครื่องมือในการกระจายสารสนเทศ คือ บอรด ประชาสัมพันธสําหรับปดประกาศ (สภ.03/8 ผต.1) 3) ศาลากลางบาน ในบริเวณศาลากลางบานมีแหลงสารสนเทศ คือ แผนพับ หรือ โปสเตอรที่ประธาน อสม. ไดรับแจกจาก จนท.สอ.ที่เขาไปเยีย่ มหมูบาน จะนํามาปดเพื่อ ประชาสัมพันธที่บอรดประชาสัมพันธ 4) บานประธาน อสม. ในบานประธาน อสม. มีแหลงสารสนเทศ คือ

83 ประธาน อสม. และ หนังสือราชการ จาก จนท.สอ. เพื่อขอความรวมมือใหผูนําชุมชนชวย ประชาสัมพันธ เชน ประกาศกิจกรรมรณรงคปองกันโรคไขเลือดออก และมีเครื่องมือในการ กระจายสารสนเทศ คือ หอกระจายขาวประจําหมูบาน ซึ่งมีการกระจายเสียงเปนครั้งคราวโดยมี ผูนําชุมชนเปนผูประกาศขาว (สภ.03/10 ผต.1, /12ผต.1) 5) บาน อสม. บานเรือนของ อสม. มีลักษณะกระจายตัวตามละแวกบานทั้ง หมูบาน จัดไดวาเปนที่อยูของแหลงสารสนเทศและเครื่องมือการกระจายสารสนเทศ เชนเดียวกัน กับทั้งสองหมูบ าน

ภาพที่ 4.8 ชองทางกระจายสารสนเทศในหมูบานเสี่ยงสูง 4.5 บทบาทของแหลงสารสนเทศในหมูบาน ผูวิจัยขอนําเสนอเฉพาะบทบาทของ จนท.สอ. และ อสม. ซึ่งเปนแหลงสารสนเทศประเภทบุคคลที่ผูรวมวิจัยทุกหมูบานไดให ความสําคัญมากที่สุด และมีขอ มูลประกอบการนําเสนอทีช่ ัดเจน ดังนี้ 4.5.1 บทบาทของ เจาหนาทีส่ ถานีอนามัย (จนท.สอ.) ผลการศึกษาพบวา จนท.สอ. ในสถานีอนามัยของทั้ง 3 หมูบานมีบทบาทที่เหมือนกัน จึงขอนําเสนอในภาพรวมดังนี้

84 1) บทบาททั่วไป จนท.สอ คือ เจาหนาทีส่ าธารณสุขผูปฏิบัติในที่ สถานีอนามัย จําแนกตามตําแหนง ไดแก หัวหนาสถานีอนามัย นักวิชาการสาธารณสุข พยาบาลวิชาชีพ เจาพนักงานทันตาภิบาล และ เจาพนักงานสาธารณสุขชุมชน แตละตําแหนงจะมี หนาที่เฉพาะทีแ่ ตกตางกันและมีหนาทีห่ ลักเดียวกัน คือ ใหการรักษาพยาบาล ใหบริการสงเสริม สุขภาพ ใหบริการปองกันและควบคุมโรค ใหบริการฟน ฟูสมรรถภาพแกผูพิการ ประชาชนใน หมูบานจะคุยเคยกันดีกับ จนท.สอ. และเรียก เจาหนาที่ทกุ คนในสถานีอนามัยวา “หมออนามัย” 2) บทบาทที่ถูกกําหนดในการปองกันโรคไขเลือดออก คณะทํางาน ปองกันและควบคุมโรคอําเภอเสลภูมิ (2546:4) ไดมกี ารกําหนดบทบาทของ จนท.สอ ในการ ดําเนินการเกีย่ วกับโรคไขเลือดออก คือ (1) การใหการรักษาพยาบาล หนาที่ จนท.สอ. คือ จะตองเฝาติดตาม ผูที่ปวยหรือผูท ี่สงสัยวาจะปวยเปนโรคไขเลือดออก และนํามาใหการรักษาพยาบาลที่ถูกตอง โดยเร็วที่สุด (2) การประสานงานกับหนวยงานในทองถิ่น ในการควบคุมโรค การประเมินผลการปองกันและควบคุมโรค 3) บทบาทที่ปฏิบัติในฐานะแหลงสารสนเทศ จากผลการสัมภาษณกลุม แบบโฟกัสของผูรวมวิจยั และสัมภาษณ จนท.สอ.ประจําสถานีอนามัยทั้ง 3 หมูบานพบวา บทบาท หลักของ จนท.สอ.ในฐานะเปนแหลงสารสนเทศโรคไขเลือดออก คือ การเผยแพรความรูเรื่องการ ควบคุมและปองกันโรคไขเลือดออกแกกลุมบุคคลตางๆ ในหมูบาน โดยการใหความรูแกประชาชน ผูมารับบริการที่สถานีอนามัย อสม. ผูใหญบาน ครู สมาชิก อบต. และประชาชนทั่วไป ซึ่งมี วิธีการและเนือ้ หาความรูที่แตกตางกันไป ดังนี้ (1) ใหความรูรายบุคคล แกบุคคลตาง ๆ ดังนี้ ก. ผูมารับบริการที่สถานีอนามัย ไดแก บิดา มารดา หรือ ญาติ ที่พาเด็กที่สงสัยจะปวยเปนโรคไขเลือดออกมารับการรักษาที่สถานีอนามัย โดยไดใหความรู เกี่ยวกับ อาการของโรค วิธีสังเกตอาการ วิธีการรักษาโรคเบื้องตน สาเหตุของการเกิดโรค ไขเลือดออก วิธีการปองกันโรค (สภ.01/47 ผต.1, สภ.02/38 ผต.,สภ.02/40 ผต. สภ.03/40 ผต.2) โดยการอธิบาย หรือ การใชภาพพลิกประกอบการอธิบาย ซึ่งตรงกันกับขอมูลที่ไดจากการ สัมภาษณกลุมแบบโฟกัส “..........อยางตอนที่ลูกสาวผมปวยก็พามาหาหมออนามัย หมอก็ บอกอาการวาตั้งแตเริ่มตนเปนอยางไรบางเพราะบางคนอาจจะไมรู ถาไมจําเปนก็อยากินยา หรือกินยานิดหนอย” (โฟกัส 03/13 ผต.8)

85 “พาลูกไปหาหมออนามัยบอย …หมอพูดใหฟง วาใหคว่ําโอง และ อสม.ไปสํารวจลูกน้ํา” (โฟกัส 02/17ผต.4) ข) เจาของบานเรือนที่ไมใหความรวมมือในการกําจัดลูกน้ํา ยุงลาย เชนในการรณรงคกําจัดลูกน้ํายุงลายในหมูบานของ อสม. โดยมีวิธีการ คือ จนท. สอ. จะ ออกเยีย่ มบานเรือนที่ไมใหความรวมมือหลังจากที่ อสม.ไดแจงรายชื่อใหทราบ โดยการออกไป พบปะพูดคุยใหความรูแก เจาของบานเกี่ยวกับวิธีการปองกันโรคไขเลือดออก รวมทั้งสอบถาม สาเหตุที่เจาของบานไมใหความรวมมือ และใหหาแนวทางรวมกันในการปองกันโรคโดยวิธีอื่น นอกจากวิธีการที่ อสม. แนะนํา (สภ.01/34 ผต.1) (2) ใหความรูรายกลุม แกกลุมบุคคลตาง ๆ ดังนี้ ก. กลุม อสม. วิธีการใหความรูแกกลุม อสม. ของ จนท.สอ. คือ การเรียกประชุมชี้แจงวิธกี ารทํางานในการควบคุมโรคไขเลือดออก เพือ่ ให อสม. เกิดความรู และนํา ความรูที่ไดไปแนะนําประชาชนในละแวกบานที่ตนเองรับผิดชอบ โดยจัดประชุมทีส่ ถานีอนามัย เดือนละ 1 ครัง้ มีเนื้อหาความรูคือ การปรับปรุงสภาพแวดลอมที่อยูอ าศัยใหปลอดยุงลาย วิธีการ กําจัดแหลงเพาะพันธุยุงลาย วิธีการใชทรายอะเบทเพื่อกําจัดลูกน้ํายุงลาย (สภ.03/14 ผต.1, สภ. 01/30ผต.1, สภ.02/34ผต.) และบางครั้ง จนท.สอ. จะลงพื้นที่รวมกับ อสม. เพื่อควบคุมกํากับ ตรวจสอบการปฏิบัติงานของ อสม. และแกไขปญหาในกรณีที่เจาของบานเรือนไมใหความรวมมือ กับ อสม. (สภ.01/34ผต.1, สภ.02/28ผต., สภ.03/16ผต.1, สภ.03/18ผต.1) ข. กลุมผูนําองคกร เชน สมาชิกองคการบริหารสวนตําบล (อบต.) , ผูอํานวยการโรงเรียน โดยการจัดประชุมแนะนําวิธีการดําเนินงานควบคุมโรคไขเลือดออก (สภ.02/70ผต.1) ค. กลุมอื่นๆ เชน ประชาชน ผูใหญบาน ครู โดยการเขารวม ประชุมประจําเดือนในการประชุมระหวางภาครัฐและประชาชน (โฟกัส01/28ผต.4) (3) การกระจายแหลงสารสนเทศประเภทสื่อสิ่งพิมพและสื่อกระจาย เสียง แหลงสารสนเทศประเภทสื่อสิ่งพิมพและสื่อกระจายเสียง ไดแก โปสเตอร แผนพับ เทปเสียง ที่ จนท.สอ. ไดรับจากสํานักงานสาธารณสุขอําเภอมีจํานวนจํากัด จึงทําใหมีการคัดเลือก สื่อเพื่อแจกจายใหกลุมตาง ๆ ที่คาดวาจะเกิดประโยชนจากการใชสื่อแตละชนิดมากที่สุด และมี ความถี่ในการกระจายที่ไมแนนอนขึ้นอยูกบั วาจะไดรับสือ่ เหลานี้ในชวงใด และโดยสวนใหญจะ ไดรับสื่อเหลานี้จากสํานักงานสาธารณสุขอําเภอประมาณปละ 2 ครั้ง โดยครั้งแรกจะไดรับในเดือน มกราคม ซึ่งเปนชวงที่เริ่มมีการรณรงคปองกันโรคไขเลือดออก และครัง้ ที่สองจะไดรบั ในเดือน พฤษภาคม ซึ่งเปนชวงเริ่มฤดูฝนและเริ่มมีผูปวย และมีรายละเอียดดังนี้

86 ก. การกระจายแผนพับ จนท.สอ.จะทําการคัดเลือกสื่อนี้ให อสม. เพื่อนําไปอานและนําความรูที่ไดไปถายทอดใหประชาชนละแวกบานที่รับผิดชอบอีกครั้ง หนึ่ง ข. การกระจายโปสเตอร จนท.สอ.จะทําการคัดเลือกสื่อนี้ใหแก ประธาน อสม. เพื่อนําไปปดประชาสัมพันธที่บอรดประชาสัมพันธที่มีในหมูบาน หรือ ใหแก ครู เพื่อนําไปจัดบอรดใหความรูแกนกั เรียนในโรงเรียน ค. การกระจายหนังสือที่ใหความรูในเรื่องโรคไขเลือดออก จนท.สอ.จะทําการคัดเลือกสื่อนี้ใหแก ครู เพื่อนําไปเก็บไวที่หองสมุดในโรงเรียน เพื่อให ครู นักเรียน อสม. หรือ ประชาชนทั่วไปไดศึกษาหาความรู ง. การกระจายเทปเสียงซึ่งบรรจุบทความ หรือ เพลงหมอลํา ที่ เกี่ยวกับการปองกันโรคไขเลือดออก จนท.สอ.จะทําการกระจายสื่อนีใ้ หแก ผูใหญบาน หรือ อสม. นําไปเปดกระจายเสียงที่หอกระจายขาวภายในหมูบา นเปนครั้งคราว (4) สรุปบทบาทของ จนท. สอ. กลาวโดยสรุปไดวา จนท. สอ. ไดทาํ หนาที่ในฐานะแหลงสารสนเทศ คือ การเผยแพรความรูเกี่ยวกับวิธีการควบคุมและปองกันโรค ไขเลือดออกแกกลุมบุคคลตาง ๆ ในหมูบานโดยสอดแทรกความรูขณะทําปฏิบัติงานตามบทบาทที่ ถูกกําหนดในการการปองกันโรคไขเลือดออกไดอยางครบถวนดวยรูปแบบที่แตกตางกัน เชน ให ความรูรายบุคคลในระหวางที่ใหการรักษาพยาบาลผูปวยโรคไขเลือดออก หรือระหวางการออก เยี่ยมประชาชนเจาของบานเรือนที่ไมใหความรวมมือ การใหความรูรายกลุม เชน การจัดอบรมให ความรูแก สมาชิก อบต. หรือ ผูอํานวยการโรงเรียน เพื่อการประสานงานกับหนวยงานในทองถิ่น หรือ การจัดประชุมใหความรูแก อสม. ที่สถานีอนามัย การกระจายสือ่ สารสนเทศชนิดตาง ๆ ใหแก กลุมคนตาง ๆ ในหมูบ า น เพื่อเปนการพัฒนาความรูใหแกหนวยงานและบุคคลตาง ๆใน หมูบาน ซึ่งสอดคลองกับบทบาทที่คณะทํางานปองกันและควบคุมโรคอําเภอเสลภูมิ (2546:4) กําหนดให จนท.สอ. จะตองใหสุขศึกษาประชาสัมพันธแกประชาชนและพัฒนาองคความรูใหแก หนวยงานและบุคคลตาง ๆดวยเชนกัน 4.5.2 บทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) ผลการศึกษา พบวา อสม. ทัง้ 3 หมูบานมีบทบาทที่เหมือนกัน จึงขอนําเสนอเปนภาพรวมดังนี้ 1) บทบาททั่วไป อสม. คือประชาชนที่สมัครใจชวยเหลืองานดาน สาธารณสุขของ จนท.สอ. มีหนาที่หลักคือ เผยแพรขา วสารสาธารณสุขจาก จนท.สอ. สู ประชาชนในหมูบาน นอกจากนั้นยังเปนผูนําดานสุขภาพในหมูบาน คือ การปฏิบัติตนเปนตัวอยาง ที่ดีและใหคําแนะนํา หรือความรูแกประชาชนทั้งในดานการสงเสริมสุขภาพ การปองกันและการ

87 ควบคุมโรค โดยเฉพาะโรคประจําถิ่นหรือประจําฤดูกาลที่เกิดขึ้นในหมูบานเปนประจําเชน โรค อุจจาระรวง โรคเลปโตสไปโรซีส(Leptospirosis) โรคเอดส และโรคไขเลือดออก เปนตน 2) บทบาทที่กําหนดในการปองกันโรคไขเลือดออก คณะทํางานปองกัน และควบคุมโรคอําเภอเสลภูมิ (2546:7) ไดมีการกําหนดบทบาทของ อสม. ในการปองกันโรค ไขเลือดออก คือ การสงเสริมการใชปลากินลูกน้ํา การสงเสริมภูมิปญญาทองถิ่น การสํารวจความ ชุกลูกน้ํายุงลาย และการดําเนินการควบคุมโรครวมกับเจาหนาที่สถานีอนามัย 3) บทบาทที่ปฏิบัติในฐานะแหลงสารสนเทศ จากการสัมภาษณกลุมแบบ โฟกัสผูรวมวิจัยและสัมภาษณ จนท.สอ. ทัง้ 3 หมูบาน พบวา บทบาทหลักของ อสม. ในฐานะเปน แหลงสารสนเทศไขเลือดออก คือ การถายทอดความรูโรคไขเลือดออกจาก จนท.สอ. สูประชาชน ในละแวกบานที่ อสม.รับผิดชอบ ซึ่งมีวธิ ีการและเนื้อหาความรูดังนี้ (1) การใหความรูแกประชาชนรายบุคคล อสม. เปนผูที่ไดรับการ คัดเลือกจากบุคคลที่ประชาชนในหมูบานใหการยอมรับวา มีมนุษยสัมพันธกับเพื่อนบานในละแวก บานเดียวกันเปนอยางดี และไปมาหาสูพบปะพูดคุยกับเพื่อนบานในละแวกบานเดียวกันเปนประจํา อสม.จึงทําหนาที่นําขาวสารเกี่ยวกับสุขภาพไปบอกแกประชาชนในละแวกบานที่ตนเองรับผิดชอบ หรือขาวสารที่คาดวาจะเปนปญหาดานสาธารณสุข เชน เมื่อคาดวาจะเกิดโรคไขเลือดออกใน หมูบาน อสม.จะออกเยี่ยมเพื่อนบานเพื่อใหคําแนะนําการปฏิบัติการปองกันโรค หรือเฝาระวัง โรค และถาหากมีการพบเห็นผูปวยที่มีอาการที่สงสัยวาจะปวยเปนโรคไขเลือดออก จะให คําแนะนําวิธีการสังเกตอาการ หรือแนะนําใหพาผูปวยไปทําการรักษาที่สถานีอนามัย ก. แหลงสารสนเทศของ อสม. สารสนเทศที่ อสม.นําไปใหความรูแ ก ประชาชนไดมาจากหลายแหลงดวยกัน คือ ก) แหลงสารสนเทศประเภทบุคคล ไดแก จนท.สอ โดยที่ จนท.สอ. จะ เชิญ อสม. มาประชุมที่สถานีอนามัยเปนประจําทุกเดือน เพื่อใหความรูเกี่ยวกับการปองกันโรค เพื่อนําไปถายทอดใหประชาชนรับทราบ และสารสนเทศสวนใหญจะไดมาจากแหลงนี้ ข) แหลงสารสนเทศประเภทสื่อสิ่งพิมพและสื่อกระจายเสียง ไดแก แผนพับ โปสเตอร หนังสือคูมือ ซึ่งจะไดรับเผยแพรจาก จนท.สอ. เพือ่ ให อสม.ไดรบั ฟงหรือ นําไปอาน และนําความรูทไี่ ดไปแนะนําประชาชนในละแวกบานที่รับผิดชอบ ค) ความรูและประสบการณเดิมของ อสม. ไดแกความรูจากระบบ การศึกษา หรือ ประสบการณจากการปฏิบัติหนาที่ของ อสม. จากคําใหสัมภาษณของ จนท.สอ.ดังนี้ “สรุปวาสื่อเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกที่มี ก็เปนพวกแผนพับ” “ใชพวกแผนพับธรรมดา แตที่ อสม.มีความรู ก็เพราะสวนใหญมี

88 พื้นฐานการศึกษาคอนขางดี เชน จบ ปวช. หรือ อยางต่ํา ม.6 พวกนี้จะเปนแกนหลักในการทํางาน” (สภ.01/53 ผถ.,สภ.01/54 ผต.1) ข. สารสนเทศโรคไขเลือดออกที่ อสม.ใหความรูแกประชาชน สรุปได ดังนี้ ก) วิธีการสังเกตอาการของผูปวยที่สงสัยวาจะเปนโรคไขเลือดออก ซึ่ง อสม. จะใหคําแนะนําแกญาติผูปวยในกรณีที่พบวา มีผูปวยดวยอาการไขและสงสัยวาจะปวยเปน โรคไขเลือดออก เพื่อมุงหวังใหนําผูปว ยไปรับการรักษาที่ถูกตองโดยเร็วหากญาติสามารถสังเกต อาการเริ่มแรกของโรคไขเลือดออกได ข) วิธีการปองกันโรค ไดแก การทําลายแหลงเพาะพันธุยุงลาย เชน การเทน้ําในโองน้ําที่มีลูกน้าํ การลางโองน้ําทุก 5 วัน การคว่ําเศษภาชนะที่ไมใชเพือ่ ไมใหมีนา้ํ ขัง เชน กะลามะพราว กระปอง การกําจัดลูกน้ํายุงลาย เชน การใสทรายอะเบทในโองน้ํา การปองกันยุงกัด เชน การแนะนําใหกางมุงนอนในเวลากลางวัน การจัดสภาพบานเรือนเพื่อ ไมใหเปนที่อยูอ าศัยและเพาะพันธุของยุงลาย ( 2) การปฏิบัติเปนตัวอยาง มีกิจกรรมที่ อสม. ดําเนินการดังนี้ ก. การสํารวจลูกน้ํายุงลาย เปนกิจกรรมของกลุม อสม.ที่ปฏิบัติเปน ตัวอยางในการปองกันโรคไขเลือดออก และ อสม.ทั้ง 3 หมูบานไดปฏิบัติเปนประจําทุกเดือน ผูรวมวิจยั หมูบ านเสี่ยงต่ําทีท่ ําหนาที่ อสม. ไดกลาวถึงวัตถุประสงคในการสํารวจลูกน้ํายุงลาย ดังนี้ ก) เพื่อการสื่อสารวิธีการปองกันโรคกับประชาชนในหมูบาน (โฟกัส 01/62 ผต.4) กลาวคือ อสม.ในหมูบ านจะนัดหมายและออกปฏิบัติงานในวันเดียวกันเพื่อ จะเดินสํารวจลูกน้ํายุงลายตามภาชนะที่ขังน้ําในบริเวณบานเรือนของประชาชนที่อยูใ นละแวกบาน เมื่อพบลูกน้ําจะแนะนําใหเจาของบานเรือนกําจัดลูกน้ํา เชน เปลี่ยนน้ําโองน้ํา หรือใสทรายอะเบท โดยบางครั้งก็ทําการกําจัดลูกน้ําใหเอง มีความถี่ในการสํารวจประมาณเดือนละ 1 ครั้ง ซึ่งบางครั้ง จะทํางานรวมกับ จนท.สอ. หรือ รวมกับครู และนักเรียน หากมีการรณรงคในฤดูกาลแพรระบาด ข) เพื่อการวางแผนกําจัดยุงลายในหมูบานโดยใชขอมูลจากคา B.I. และ H.I (โฟกัส 01/64 ผต.4) โดยมีวธิ ีดําเนินการ คือ ระหวางทําการสํารวจจะบันทึกขอมูล ไว และนําขอมูลมาคํานวณ คา B.I. (ดัชนีวัดความชุกของลูกน้ํายุงลาย ) และ H.I. (ดัชนีวัดความชุ ของลูกน้ํายุงลายรายหลังคาเรือน) เพื่อพยากรณปริมาณยุงลายและหากพบวาละแวกบานใดคาดวา จะปริมาณยุงลายมากจะนัดกันไปทําการกําจัดยุงลายตอไป (โฟกัส 01/67 ผต.4,โฟกัส 01/676ผต.3, โฟกัส 01/132 ผต.3)

89 การสํารวจลูกน้ํายุงลายของกลุม อสม. ทําใหผูรวมวิจยั ทุกหมูบานเกิด การรับรูวาเปนวิธีการปองกันโรคไขเลือดออกอีกวิธีหนึง่ และไดใหความสําคัญตอกิจกรรมที่เกิด ตามจากการเดินสํารวจลูกน้ํายุงลาย เปนลําดับตน ๆ เชน การใสทรายอะเบท การเทน้ําในโองน้ํา ที่มีลูกน้ําทิ้ง ซึ่งผูรวมวิจัยทุกหมูบานไดใหความสําคัญตอกิจกรรมนีม้ ากที่สุด ข. การพนสารเคมีกําจัดยุงลาย กิจกรรมนี้เปนการปฏิบัติรวมกันกับ จนท.สอ. เพื่อการควบคุมโรค ซึ่งจะดําเนินการในกรณีที่มีการเกิดโรคขึ้นในหมูบาน ทําใหผูรวม วิจัยทุกหมูบานเกิดการรับรูเหมือนกันวาเปนกิจกรรมในการปองกันโรคไขเลือดออกที่สําคัญ กิจกรรมหนึ่ง 4) สรุปบทบาทของ อสม. จากผลการศึกษาบทบาทของ อสม. ทําใหสรุป ไดวา บทบาทหลักของ อสม. คือเปนตัวแทนในการเผยแพรสารสนเทศที่เกี่ยวกับโรคไขเลือดออก จากแหลงสารสนเทศหลายแหลงลงสูประชาชนในหมูบา นในรูปของการสาธิตและปฏิบัติจริง โดย มี จนท.สอ.คอยใหคําแนะนําและชวยเหลือในกรณีที่มีปญ  หาในการปฏิบัติ แมวาบทบาทที่ อสม. ปฏิบัติจริงในฐานะเปนแหลงสารสนเทศจะไมครบถวนตามบทบาทที่กําหนดในการปองกันโรค ไขเลือดออก เชน การสงเสริมการใชภูมิปญ  ญาทองถิ่นในการกําจัดยุงลาย หรือ การสงเสริมการใช ปลากินลูกน้ํา แตกิจกรรมบางอยาง ที่ อสม.ไดปฏิบัติจริงและมีความตอเนื่องทําใหผรู วมวิจยั ในทุก หมูบานเห็นภาพและเกิดการรับรูวาเปนกิจกรรมที่มีความสําคัญและสามารถปองกันโรค ไขเลือดออกได เมื่อเปรียบเทียบบทบาทของ อสม. กับบทบาทของ จนท.สอ. ในฐานะที่ เปนแหลงสารสนเทศดวยกันพบวามีความแตกตางกัน คือ อสม.จะทําการเผยแพรสารสนเทศแก ประชาชนในรูปแบบการใหความรูรายบุคคลเปนหลัก ในขณะ จนท. สอ. เนนการใหความรูราย กลุมเปนหลัก และจากความแตกตางของบทบาทนี้ประกอบกับสถานภาพของ อสม.ที่เปน ประชาชนดวยกัน จึงทําให อสม.มีสัมพันธภาพที่ดีกับประชาชนในหมูบานมากกวา จนท. สอ. ที่ เปนขาราชการ และการเผยแพรสารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก ของ อสม. จะเนนการปฏิบัติ จริงตามบานเรือนของประชาชน ทําใหเกิดการสื่อสารระหวาง อสม.กับประชาชนทีช่ ัดเจนมากขึ้น ทําใหประชาชนสามารถเห็นได จับตองได ลองทําดูได หรือที่เรียกวาเปนการสาธิตและการสาธิต ยอนกลับ ซึ่งถือวาเปนวิธกี ารที่เปนประโยชนตอประชาชนทําใหประชาชนเกิดการรับรูที่รวดเร็ว ขึ้น ลักษณะเดนของการเผยแพรสารสนเทศของ อสม. นอกจากการปฏิบัติให เห็นจริงแลว คือ ยังมีการรวมกลุมกันปฏิบัติ และมีการปฏิบัติอยางตอเนื่องเปนประจําทุกเดือน ทํา ใหเกิดการกระตุนเตือนใหประชาชนตระหนักถึงความสําคัญใหความรวมมือในปฏิบัติ นอกจากนั้น

90 ยังทําใหสามารถติดตามพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงของประชาชนที่เปนผลมาจากการเผยแพร สารสนเทศของ อสม. ได 4.6 ความสัมพันธระหวางแหลงสารสนเทศในหมูบาน จากการศึกษาผูวิจัยได จัดลําดับชั้นโดยใชหลักเกณฑการเขาถึงแหลงสารสนเทศของประชาชนกลุมปาหมาย และ วิเคราะหความสัมพันธระหวางแหลงสารสนเทศในหมูบา นทั้ง 3 หมูบาน ดังนี้ 1) แหลงสารสนเทศระดับปฐมภูมิ หมายถึง แหลงสารสนเทศที่มีอยูใกลกับ ประชาชนกลุม เปาหมาย และกลุมเปาหมายสามารถเขาถึงไดอยางสะดวกเนื่องจากอยูภายในบริเวณ หมูบาน ไดแก แหลงสารสนเทศประเภทสื่อสิ่งพิมพ เชน โปสเตอร แผนพับ หนังสือคูมือ หรือ เอกสารตาง ๆที่ใหความรูเกีย่ วกับโรคไขเลือดออก และแหลงสารสนเทศประเภทบุคคล ไดแก ประชาชนทั่วไปในหมูบาน ผูใหญบาน สมาชิกองคการบริหารสวนตําบล (อบต.) และ อสม. แตผูที่มีบทบาทที่ชัดเจนที่สดุ คือ อสม. ซึ่งมีบทบาทหลักในฐานะเปนแหลงสารสนเทศ คือ การ ถายทอดความรูจาก จนท.สอ.สูประชาชนในละแวกบานที่ตนเองรับผิดชอบ ซึ่งจัดไดวาเปน ชองทางกระจายสารสนเทศสูประชาชนที่มีกระบวนการจัดการสารสนเทศ และมีการจัดรูปแบบ วิธีการนําเสนอสารสนเทศแกประชาชนใหมโดยมี จนท.สอ. คอยใหคาํ แนะนําและใหการชวยเหลือ แกไขปญหาทีเ่ กิดขึ้นในบางครั้ง กระบวนการจัดการความรูของ อสม. คือการนําความรูที่ไดจากแหลง สารสนเทศหลายแหลง ซึ่งไดแก จนท.สอ. สื่อสิ่งพิมพ ประสบการณ และความรูที่ไดจากระบบ การศึกษา มาผสมผสานกันและจัดรูปแบบการนําเสนอใหมที่เปนการทาง คือ กิจกรรมการสํารวจ ลูกน้ํายุงลาย และที่ไมเปนทางการ คือ การพบปะพูดคุยกับเพื่อนบานในละแวกบานหรือการเยี่ยม เยือนผูปวยที่สงสัยวาจะปวยเปนโรคไขเลือดออก 2) แหลงสารสนเทศระดับทุติยภูมิ หมายถึง แหลงสารสนเทศที่อยูห างไกลจาก ประชาชนกลุม เปาหมาย และเมื่อกลุมเปาหมายมีความตองการสารสนเทศจากแหลงดังกลาว จะตองเดินทางไปยังสถานทีท่ ี่ทํางานของบุคคลเหลานั้น ซึ่งไดแก ครู แพทย/พยาบาลใน โรงพยาบาลที่เขารับการรักษาพยาบาล และ จนท.สอ. ซึ่งมีบทบาทหลักในฐานะเปนแหลง สารสนเทศ คือ การพัฒนาความรูเรื่องการควบคุมโรคและปองกันโรคไขเลือดออก แก กลุมบุคคล ในหมูบาน เชน อสม. อบต. ประชาชนทีม่ ารับบริการที่สถานีอนามัย และประชาชนในหมูบาน บางคน เชน ผูไ มยอมใหความรวมมือในการปองกันโรค โดยสวนใหญแลว จนท.สอ จะเปนผูสง สารสนเทศในรูปแบบตาง ๆ สูประชาชนในหมูบานผาน อสม. สรุปไดวา แหลงสารสนเทศประเภทบุคคล ทั้ง 2 ระดับมีเปาหมายเดียวกัน

91 คือ การใหสารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกแกประชาชนในหมูบา น และมีความสัมพันธ ระหวางกันดังแผนภูมนิ ี้ .

ภาพที่ 4.9 แผนภูมิความสัมพันธระหวางแหลงสารสนเทศของประชาชนในหมูบาน จากแผนภูมิดังกลาวขางตนอธิบายไดวา แหลงสารสนเทศโรคไขเลือดออกทั้งใน ระดับปฐมภูมแิ ละระดับทุตยิ ภูมิตางมีความสัมพันธกัน โดยความสัมพันธแบงไดเปน 2 ประเภทคือ 1) ความสัมพันธอยางเปนทางการ ซึ่งหมายถึง กิจกรรมที่แหลงสารสนเทศไดปฏิบัติตามบทบาท หลักไดรับมอบหมาย และ 2) ความสัมพันธอยางไมเปนทางการ หมายถึง กิจกรรมที่แหลง สารสนเทศไดปฏิบัติเพิ่มจากบทบาทหลัก หรือ กิจกรรมที่ทําโดยไมไดถูกกําหนด เชนการที่กลุม ประชาชนที่เคยพาบุตรหลานเขารับการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาล หรือสถานีอนามัย ไดบอก กลาวถึงอาการปวยที่บุตรหลานตนเองเปนใหแกเพื่อนบานที่สอบถามฟง เปนตน เมื่อวิเคราะหความสัมพันธในแผนภูมิพบสิ่งที่นาสังเกตวา แหลงสารสนเทศทุก ระดับในหมูบา นตางมีความสัมพันธกันอยางเปนทางการเพื่อสงผานสารสนเทศโรคไขเลือดออก ใหแกกนั โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนําไปเผยแพรใหประชาชนกลุมเปาหมายไดรับทราบ แตเมื่อ

92 ตรวจสอบการเชื่อมโยงความสัมพันธจากแหลงสารสนเทศในหมูบานสูประชาชนกลุมเปาหมาย พบวา มีเพียง อสม.เทานั้นทีม่ ีความสัมพันธกับกลุมประชาชนทั่วไปอยางเปนทางการ ซึ่งแสดงให เห็นวา มีเพียง อสม. เทานั้นที่ทําการเผยแพรสารสนเทศใหแกประชาชนในหมูบาน นอกจากนั้น พบวา สวนการเชื่อมโยงความสัมพันธระหวาง ครู สมาชิก อบต. และผูใหญบาน กับประชาชน ทั่วไปทั้งอยางเปนทางการและไมเปนทางการยังไมเกิดขึน้ แตอยางใด ซึ่งแสดงวา จนท.สอ. ยัง ไมไดรับความรวมมือจากกลุมบุคคลเหลานี้ในการเผยแพรสารสนเทศโรคไขเลือดออกสูประชาชน ในหมูบาน

บทที่ 5

สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ การศึกษาวิจยั เรื่อง “การรับรูสารสนเทศโรคไขเลือดออกของประชาชนในอําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด” สามารถสรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และใหขอเสนอแนะไดดังนี้

1. สรุปผลการวิจัย 1.1 วัตถุประสงคของการวิจัย การวิจยั นีใ้ ชรูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ มี วัตถุประสงคดังนี้ 1.1.1 ศึกษาการรับรูสารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกของประชาชน ในดาน ปจจัยเสีย่ งตอการเกิดโรค ความรุนแรงของโรค และวิธีการปองกันโรค 1.1.2 ศึกษาแหลงสารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกของประชาชน 1.2 วิธีดําเนินการวิจัย กลุมประชากรที่ใชศึกษา คือ ประชาชนหัวหนาครัวเรือน หรือ ผูมีหนาที่ดูแลความเปนอยูของสมาชิกในครัวเรือน ที่พักอาศัยอยูในเขตอําเภอเสลภูมิติดตอกัน มาไมนอยกวา 1 ป และเจาหนาที่สถานีอนามัยที่ปฏิบัตงิ านในสถานีอนามัยในเขตอําเภอเสลภูมิ โดยมีกลุมตัวอยาง หรือ “ผูรวมวิจยั ” คือ ประชาชนที่อาศัยในหมูบานที่ทําการแบงกลุมหมูบาน โดยใช อัตราปวย การระบาดของโรค และคาดัชนีวัดความชุกลูกน้ํายุงลายรายหลังคาเรือน (H.I.) เปนเกณฑ จําแนกได 3 หมูบ าน คือ หมูบา นเสี่ยงต่ํา หมูบานเสี่ยงปานกลาง และหมูบานเสี่ยงสูง จํานวนหมูบานละ 8- 9 คน รวม 26 คน และ เจาหนาที่สถานีอนามัย (จนท.สอ.) ในหมูบานดังกลาว แหงละ 1 คน รวม 3 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณรายบุคคลและแบบสัมภาษณกลุม แบบโฟกัส วิธดี ําเนินการวิจยั คือ การสัมภาษณผูรวมวิจยั ในหมูบานโดยใชวิธีการสัมภาษณกลุม แบบโฟกัส และสัมภาษณผูรวมวิจยั ในสถานีอนามัยโดยใชวิธีการสัมภาษณรายบุคคล มีการ วิเคราะหขอมูลโดยใชวิธีการวิเคราะหเนื้อหาและการแจกแจงความถี่ และใชสถิติคา รอยละ เพื่อ จัดลําดับความสําคัญของผลการวิจยั 1.3 สรุปผลการวิจัย จากการศึกษาวิจัยเรื่อง “การรับรูสารสนเทศโรคไขเลือดออกของ ประชาชนในอําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด” สรุปผลการวิจัยในดานการรับรูสารสนเทศเกี่ยวกับ โรคไขเลือดออกของประชาชน และแหลงสารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกไดดงั นี้

94 1.3.1 การรับรูสารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกของประชาชน ประกอบดวย การรับรูความรุนแรงของโรค การรับรูปจจัยเสี่ยงตอการปวย และ การรับรูการปองกันโรค มี รายละเอียดทีส่ รุปไดดังนี้ 1) การรับรูความรุนแรงของโรค ผูรวมวิจยั ทุกหมูบานมีการรับรูที่ เหมือนกันวา โรคไขเลือดออกเปนโรคที่มีอาการรุนแรงมากจนถึงขั้นทําใหผูปวยเสียชีวิตไดหาก ไดรับการรักษาพยาบาลที่ลา ชา แตมีระดับความไวในการรับรูความรุนแรงที่ตางกัน คือ ผูรวมวิจัย ในหมูบานเสี่ยงต่ําสามารถสังเกตการเปลี่ยนแปลงอาการของโรคที่ไดอยางรวดเร็ว ในขณะที่ผูรว ม วิจัยในหมูบานเสี่ยงปานกลางและหมูบานเสี่ยงสูงไมสามารถสังเกตอาการความรุนแรงในระยะ เริ่มตนไดจนผูป วยมีอาการทรุดหนักจึงจะพาไปรับการรักษาซึ่งเสี่ยงตอการเสียชีวิตได 2) การรับรูความเสี่ยงตอการปวยเปนโรคไขเลือดออก ผูรวมวิจยั ทุก หมูบานมีการรับรูที่เหมือนกันวา ทุกคนเสี่ยงตอการปวยเปนโรคไขเลือดออก แตมคี วามเสี่ยง แตกตางกัน ปจจัยเสีย่ งที่ทําใหปวย คือ การที่ถูกยุงลายกัดในสถานที่ตาง ๆ ทั้งบริเวณภายใน บานเรือนของตนเอง บริเวณรอบนอกบานเรือน เชน ในสวนหลังบาน และในบริเวณโรงเรียน และปจจัยเสี่ยงตอการปวยเปนโรคไขเลือดออกมากที่สดุ คือ การที่ถูกยุงกัดตอนที่นงั่ ดูโทรทัศน ภายในบานเรือนของตนเอง แตผูรวมวิจัยในหมูบานเสี่ยงปานกลางยังขาดความรูเรื่องพฤติกรรม การหากินของยุงลาย และผูร วมวิจยั ในหมูบ านเสี่ยงสูงยังขาดความรูเรือ่ งแหลงเพาะพันธุของ ยุงลาย 3) การรับรูการปองกันโรคไขเลือดออก การรับรูการปองกันโรคไขเลือดออกของ ผูรวมวิจยั ทุกหมูบานจัดไดวาอยูใ นระดับดี สรุปดังนี้ (1) โรคไขเลือดออกเปนโรคที่สามารถปองกันได และการปองกันโรค ไขเลือดออกมีกิจกรรมที่หลากหลายและมีความสําคัญที่แตกตางกัน (2) การดําเนินกิจกรรมเพื่อปองกันโรคไขเลือดออกตองอาศัยความรวมมือ รวมใจกันและความพรอมเพรียงกันในการปฏิบัติจากประชาชนทุกคน และตองปฏิบัติรวมกันอยาง เปนขั้นตอนและมีความตอเนื่อง (3) การปองโรคบางกิจกรรมมีความจําเปนที่จะตองมีผนู ําในการปฏิบัติ และ กิจกรรมการปองกันโรคที่สามารถปฏิบัติไดจริงตองมีความสะดวกในการปฏิบัติ และความทันสมัย สิ่งที่ผูรวมวิจัยแตละหมูบานมีการรับรูที่แตกตางกันคือ การรับรูถึง ผลสําเร็จในการปองกันโรคในหมูบาน กลาวคือ ผูรวมวิจยั ในหมูบานเสีย่ งต่ํามีความคิดเห็นวา การปองกันโรคไขเลือดออกในหมูบานของตนเองประสบผลสําเร็จ ในขณะที่ผูรว มวิจัยในหมูบาน เสี่ยงปานกลางเห็นวายังไมประสบผลสําเร็จมากนักเนื่องจากยังขาดความรวมมือจากประชาชนบาง

95 กลุม และผูรวมวิจยั ในหมูบา นเสี่ยงต่ําเห็นวาการปองกันโรคไขเลือดออกไมประสบผลสําเร็จ มี สาเหตุมาจากปจจัยภายนอกที่ไมสามารถแกไขได เชน สภาพแวดลอมของหมูบาน หรือ ความเจริญ ดานเทคโนโลยีการสื่อสารทําใหพฤติกรรมของเด็กจากที่เคยวิ่งเลนซุกซนตามทุงนามาเปนนั่ง รวมกลุมดูโทรทัศนภายในบานทําใหมีโอกาสถูกยุงลายกัดมากขึ้น 1.3.2 แหลงสารสนเทศโรคไขเลือดออกของประชาชน สรุปประเด็นที่ เกี่ยวของกับแหลงสารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกของประชาชน ในเรื่องตาง ๆ ไดดังนี้ 1 ) ประเภทของแหลงสารสนเทศ แหลงสารสนเทศของผูรวมวิจยั ในทุกหมูบาน จําแนกไดสองประเภท คือ แหลงสารสนเทศประเภทสือ่ สิ่งพิมพ และแหลงสารสนเทศประเภท บุคคล ซึ่งสวนใหญจะเปนแหลงสารสนเทศประเภทบุคคลประกอบดวย เจาหนาทีต่ ัวแทนภาครัฐ ไดแก จนท.สอ. แพทย/พยาบาล ครู ผูใหญบาน เจาหนาที่ตัวแทนภาครัฐที่เขารวมประชุม และ ประชาชนทั่วไป ไดแก อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) และเพื่อนบาน แหลงสารสนเทศประเภทสือ่ สิ่งพิมพและประเภทสื่อกระจายเสียง ไดแก แผนพับ โปสเตอร หนังสือ เทปเสียง ภาพพลิก ปายผารณรงค มีจํานวนนอย จนท.สอ.จะตองทํา สําเนาเพิ่ม และเลือกแจกจายใหบุคคลบางกลุม เชน อสม. หรือ ครู เพื่อใหนําไปอานและนําความรูที่ ไดไปเผยแพรแกประชาชนตออีกครั้งหนึง่ 2 ) แหลงสารสนเทศที่ประชาชนใหความสําคัญ แหลงสารสนเทศที่ผูรวมวิจยั ในทุกหมูบานไดใหความสําคัญมากที่สุด คือ จนท.สอ. รองลงมาไดแก อสม. 3 ) แหลงสารสนเทศที่ประชาชนตองการ ผูรวมวิจยั ในทุกหมูบานมีความ ตองการที่จะแสวงหาสารสนเทศจาก จนท.สอ. มากที่สุด แตในลําดับรองลงมามีความแตกตางกัน คือ หมูบานเสีย่ งต่ํา คือ ครู แพทยหรือพยาบาลใน รพ. ตามลําดับ หมูบานเสี่ยงปานกลางและ เสี่ยงสูง คือ อสม. และผูใหญบาน ตามลําดับ 1.3.3 ชองทางการกระจายสารสนเทศของแหลงสารสนเทศ ชองทางการกระจาย สารสนเทศของแหลงสารสนเทศจําแนกโดยใชประเภทของสถานที่เปนเกณฑที่เหมือนกันทุก หมูบาน คือ สถานีอนามัย โรงเรียน บาน อสม. และเหมือนกันเฉพาะในหมูบานเสี่ยงต่ําและ เสี่ยงสูง คือ ศาลากลางบาน และบานประธาน อสม. สวนที่เพิ่มเติมในหมูบานเสี่ยงปานกลาง ไดแก ศูนยสาธารณสุขมูลฐานชุมชน และ หมูบานเสี่ยงต่ํา คือบานผูใหญบาน 1.3.4 บทบาทของแหลงสารสนเทศประจําหมูบาน บทบาทของแหลงสารสนเทศที่ นําเสนอในงานวิจยั นี้ไดแก บทบาทของ จนท.สอ. และ บทบาทของ อสม. ดังนี้ 1) บทบาทของ จนท.สอ. บทบาทที่ปฏิบัติในฐานะแหลงสารสนเทศ คือ การ เผยแพรความรูเรื่องการควบคุมโรคไขเลือดออกแก กลุมบุคคลตาง ๆ ดังนี้

96 (1) การใหความรูรายบุคคล แกผูมารับบริการที่สถานีอนามัยในเรื่องสาเหตุ อาการ วิธีการรักษาโรคเบื้องตน วิธีการปองกันโรค และประชาชนเจาของบานเรือนที่ไมใหความ รวมมือในการกําจัดลูกน้ํายุงลายในเรื่องวิธีการปองกันโรคไขเลือดออกเพื่อหาแนวทางรวมกันใน การปองกันโรค (2) การใหความรูรายกลุมแกกลุมบุคคลตาง ๆ เชน ใหความรูแกกลุม อสม. โดยการประชุมประจําเดือนที่สถานีอนามัยเพื่อใหความรูในเรื่อง การปรับปรุงสภาพแวดลอมที่อยู อาศัยปลอดยุงลาย วิธีการกําจัดลูกน้ํายุงลาย วิธีการใชทรายอะเบท ใหความรูแกกลุม ผูนําองคกร เชน สมาชิกองคการบริหารสวนตําบล (อบต.) ผูอํานวยการโรงเรียน โดยการจัดประชุมแนะนําวิธี ดําเนินงานควบคุมโรคไขเลือดออก ใหความรูแกกลุมทั่วไป เชน ประชาชนทั่วไป ผูใหญบาน ครู ในระหวางประชุมประจําเดือนรวมกันระหวางภาครัฐและประชาชน (3) การกระจายแหลงสารสนเทศประเภทสื่อสิ่งพิมพและสื่อกระจายเสียง โดยการทําการคัดเลือกและกระจายสื่อ ใหแก อสม. ครู ผูใหญบาน ประธาน อสม. ตามความ เหมาะสมเพื่อนําไปเผยแพรสูประชาชน โดยสรุปแลว จนท.สอ. ไดนาํ กิจกรรมตามบทบาทในฐานะแหลงสารสนเทศเขา ไปสอดแทรกในกิจกรรมทีป่ ฏิบัติตามบทบาทตาง ๆ ดวยรูปแบบที่แตกตางกันเพื่อใหประชาชนมี ความรูและการปฏิบัติที่ถูกตองในการปองกันโรค และเพื่อใหเกิดการประสานงานกับหนวยงาน ทองถิ่นในการปองกันและควบคุมโรค และการพัฒนาความรูเกีย่ วกับโรคไขเลือดออกแก หนวยงานและบุคคลตาง ๆ ในหมูบาน เปนตน 2) บทบาทของ อสม. บทบาทที่ปฏิบัติในฐานะแหลงสารสนเทศ คือ การถายทอด ความรูโรคไขเลือดออก จาก จนท. สอ.สูประชาชนในละแวกบานที่ อสม.รับผิดชอบ ซึ่งมีเนื้อหา ความรูและวิธการที่แตกตางกันดังนี้ (1) การใหความรูแกประชาชนรายบุคคล โดยการออกเยีย่ มเพื่อนบานเพื่อให คําแนะนําการปฏิบัติการปองกันโรคหรือการเฝาระวังโรค และหากพบเห็นผูปวยทีส่ งสัยวาจะปวย เปนโรคไขเลือดออกจะใหคําแนะนําวิธีการสังเกตอาการ หรือแนะนําใหพาผูปวยไปทําการรักษาที่ สถานีอนามัย โดย อสม. ไดรับความรูมาจาก จนท.สอ. แผนพับ โปสเตอร หนังสือคูมือที่ไดรับการ เผยแพรจาก จนท.สอ. รวมทั้งจากความรูแ ละประสบการณเดิมของ อสม (2) การปฏิบตั ิตนเปนตัวอยาง โดยมีกิจกรรม คือ การสํารวจลูกน้ํายุงลายซึ่ง อสม.ทุกหมูบา นไดปฏิบัติเปนประจําทุกเดือน ในระหวางการสํารวจ อสม.จะทําการใส ทรายอะเบท หรือ ลางโองน้ําที่มีลูกน้ํายุงลายจนทําใหประชาชนเกิดการรับรูและใหความสําคัญตอ

97 กิจกรรมดังกลาว และการพนสารเคมีกําจัดยุงลาย ที่ อสม.รวมกับ จนท.สอ. ดําเนินการเพื่อเปน การควบคุมโรคในกรณีทมี่ ีการเกิดโรคขึ้นในหมูบาน โดยสรุป อสม.ไดเนนการปฏิบัติใหเห็นจริง ทําใหประชาชนสามารถเห็นได จับตองได ลองทําตามได ที่เรียกวาการสาธิตและการสาธิตยอนกลับซึ่งถือวาเปนประโยชนตอ ประชาชนทําใหเกิดการรับรูที่รวดเร็วขึน้ ลักษณะเดนของ อสม.คือ มีการรวมกลุมปฏิบัติอยาง ตอเนื่องจนทําใหประชาชนสวนใหญใหความรวมมือปฏิบัติ และการปฏิบัติอยางตอเนื่องทําให สามารถติดตามพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงของประชาชนที่เปนผลมาจากการเผยแพรสารสนเทศของ อสม.ได 1.3.5 ความสัมพันธระหวางแหลงสารสนเทศในหมูบาน จากการศึกษาไดจัดลําดับชัน้ ของแหลงสารสนเทศของประชาชนในหมูบ าน ได 2 ระดับ คือ 1) แหลงสารสนเทศระดับปฐมภูมิ ไดแก แหลงสารสนเทศประเภทสื่อสิ่งพิมพ และสื่อกระจายเสียง และแหลงสารสนเทศประเภทบุคคลที่อาศัยอยูในหมูบาน คือ ผูใหญบาน ครู สมาชิก อบต. ประชาชนทั่วไป และ อสม. โดยเฉพาะ อสม. จะมีการจัดการความรูโดยนํา สารสนเทศที่ไดจากแหลงตาง ๆมาผสมผสานกันและจัดรูปแบบการนําเสนอใหม 2) แหลงสารสนเทศระดับทุติยภูมิ คือ แพทย/พยาบาลประจําโรงพยาบาล จนท.สอ. และ ครู หากประชาชนตองการสารสนเทศจากแหลงนีจ้ ะตองเดินทางไปยังสถานที่ ทํางานของแหลงสารสนเทศ ความสัมพันธระหวางแหลงสารสนเทศระดับตาง ๆ คือ แหลงสารสนเทศ ระดับทุติยภูมิ เชน จนท. สอ. จะเปนผูสงสารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกที่อยูใ นรูปแบบตาง ๆ สูประชาชนในหมูบานโดยผาน อสม. ซึ่งเปนแหลงสารสนเทศระดับปฐมภูมิ เพื่อนําไปเผยแพรสู ประชาชนตอไป และความสัมพันธนี้เปนความสัมพันธที่เปนทางการ เนื่องจาก อสม.มีหนาที่หลัก ที่จะตองเผยแพรขาวสารดานสุขภาพจาก จนท.สอ. สูประชาชนในหมูบ าน บางครั้ง อสม.จะมีการ สงสารยอนกลับแก จนท.สอ. ในรูปแบบรายงานคาดัชนีวดั ความชุกลูกน้ํายุงลาย (BI.) และ คา HI. ที่ไดจากการสํารวจลูกน้ํายุงลายในหมูบ านเพื่อเปนการบอกถึงผลสําเร็จของการใหความรูแก ประชาชนในหมูบาน

98

2. อภิปรายผล การวิจยั ครั้งนี้เปนการศึกษาเพื่อทราบถึงการรับรูสารสนเทศและแหลงสารสนเทศ เกี่ยวกับโรคไขเลือดออกของประชาชนใน 3 หมูบาน คือ หมูบานเสี่ยงต่ํา หมูบานเสี่ยงปานกลาง และหมูบานเสี่ยงสูง โดยใชวธิ ีดําเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บขอมูลโดยการสัมภาษณกลุมแบบ โฟกัสในกลุมตัวอยางที่เรียกวา “ผูรวมวิจัย” ที่ทําการคัดเลือกแบบเจาะจงในทั้งสามหมูบานและ สัมภาษณ จนท.สอ.ที่รับผิดชอบหมูบานดังกลาวแบบเจาะลึกรายบุคคล ในการวิจัยครัง้ นี้มีขอจํากัด คือ ไมสามารถจําแนกผลของการรับรูสารสนเทศเกี่ยวกับ โรคไขเลือดออกตามลักษณะเฉพาะของผูร วมวิจยั ที่มีความแตกตางกันในตําแหนงทางสังคม ซึ่ง ประกอบดวย อสม.หรือผูใหญบาน และประชาชนที่มีจํานวนใกลเคียงกันได ทั้งนี้เนือ่ งมาจาก ขอกําหนดของผูวิจัยที่ไดใหความหมายของประชาชนซึ่งเปนประชากรในการศึกษาวาหมายถึง ประชาชนที่อาศัยอยูในอําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอนเอ็ด ทุกคนไมวาจะมีความแตกตางกันในดาน ตําแหนงทางสังคมหรือไม และวัตถุประสงคของการวิจัยที่ตองการทราบถึงสภาพการณของการ รับรูสารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกของประชาชนในภาพรวมอยางลึกซึ้ง โดยไมไดคํานึงถึง ตัวแปรในดานตําแหนงทางสังคมของผูรวมวิจัยทีแ่ ตกตางกันแตอยางใด ดังนั้นผลการวิจัยในครั้ง นี้จึงถือวาเปนการรับรูสารสนเทศเกีย่ วกับโรคเลือดออกของประชาชนไมวาจะมีความแตกตางกัน ในตําแหนงทางสังคมหรือไม ผลการวิจัยสามารถนํามาอภิปรายผล ใน 2 ประเด็นหลักคือ แหลงสารสนเทศที่ ประชาชนใหความสําคัญและตองการใชมากที่สุด และเครือขายกระจายสารสนเทศที่มีประสิทธิผล ดังนี้ 2.1. แหลงสารสนเทศที่ประชาชนใหความสําคัญและตองการใชมากที่สุด มี รายละเอียดดังนี้ 2.1.1 แหลงสารสนเทศที่ประชาชนใหความสําคัญ ผลการวิจัยพบวา ผูรวมวิจยั ไดใหความสําคัญตอแหลงสารสนเทศประเภทบุคคลไดแก จนท.สอ. อสม. ครู ผูใหญบาน และ เพื่อนบานมากกวาแหลงสารสนเทศประเภทสื่อสิ่งพิมพและสื่อกระจายเสียง แสดงใหเห็นวาแหลง สารสนเทศประเภทบุคคลสามารถสื่อสารใหผูรวมวิจัยเกิดการรับรูไดอยางมีประสิทธิภาพมากกวา และจากผลการศึกษาของ อเนกพล เกื้อมา และคณะ (2547:68) ไดพบวา ถึงแมวากลุม ผูเขารวม โครงการ 30 บาทรักษาทุกโรคในเขตชุมชนหนองหอย เทศบาลนครเชียงใหมจะไดรบั สารสนเทศ ในการดํารงชีวิตประจําวันจากสื่อโทรทัศนมากกวาสื่ออื่น ๆ แตเมื่อมีความตองการขอมูลสุขภาพ จะเลือกใชวิธพี ูดคุย ซักถามความรูดานสุขภาพที่ตองการจากบุคคลเทานั้น เพราะเห็นวาเปน

99 ชองทางที่จะทําใหไดขอมูลตรงกับความตองการมากกวา ซึ่งเปนการยืนยันไดวาแหลงสารสนเทศ ประเภทบุคคลมีประสิทธิภาพในการสื่อสารมากกวาแหลงสารสนเทศประเภทสื่อสิ่งพิมพและสื่อ กระจายเสียง สาเหตุอาจจะเปนเพราะวาแหลงสารสนเทศประเภทบุคคลใชรูปแบบการสื่อสารที่ เขาถึงประชาชนโดยตรง เชน อสม. เดินสํารวจลูกน้ํายุงลายตามละแวกบานเปนประจํา หรือ จนท.สอ. เดินพบปะใหความรูแกประชาชนในหมูบานเปนครั้งคราว จึงทําใหประชาชนเกิดการรับรู มากกวาสื่ออื่น ๆ ดังนั้นควรจะใชแหลงสารสนเทศประเภทบุคคลเปนแกนหลักในการเผยแพร ความรูเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก แตควรจะตองมีการฝกอบรมเพิ่มทักษะแกผูที่จะทําการเผยแพรใน ดานวิธีการใหความรูดานสุขภาพแกประชาชนกอน ดังเชนในประเทศอินเดียไดทําการฝกอบรม แพทยฝกหัด หรือ ผูทําหนาที่ใหความรูด านสุขภาพของรัฐใหมีความรูแ ละทักษะในการใหความรู ดานสุขภาพกอนที่จะใหทําหนาที่เปนผูใ หความรูดานสุขภาพแกประชาชนในชุมชน (Sharma 2005) ถึงแมวาผูรวมวิจัยสวนใหญจะใหความสําคัญกับแหลงสารสนเทศประเภทบุคคล แตผลการวิจยั ก็ไดพบวายังมี อสม. ในหมูบ านเสี่ยงต่ําทีไ่ ดใหความสําคัญกับ แผนพับ ซึ่งเปนแหลง สารสนเทศประเภทสื่อสิ่งพิมพ ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาแหลงสารสนเทศที่กลุมผูปวยเอดส และผูติดเชื้อเอชไอวี (HIV/AIDS) ชื่นชอบและนําไปปฏิบัติ ของ โฮแกน และพาลเมอร (Hogan and Palmer 2005) ที่พบวา ถึงแมวา กลุมเปาหมายสวนใหญจะใหความสําคัญกับแหลง สารสนเทศบุคคลเชน แพทย หรือ ผูใหคําปรึกษาแกผูติดเชื้อ มากเปนลําดับแรก แตยังมี กลุมเปาหมายบางกลุมที่ใหความสําคัญแก นิตยสาร ซึ่งเปนสื่อสิ่งพิมพมากเปนลําดับแรก เชนเดียวกัน สวนสาเหตุที่ อสม. หมูบานเสี่ยงต่ําไดใหความสําคัญแกสื่อสิ่งพิมพประเภทแผนพับ อาจจะมาจากการมีโอกาสเขาถึงสื่อประเภทนี้มากกวาบุคคลอื่น เพราะผลการศึกษาพบวา จนท.สอ เลือกที่จะแจกจายแผนพับซึ่งมีจํานวนนอยใหเฉพาะ อสม.กอน เพื่อตองการใหนําไปอานและนํา ความรูที่ไดไปเผยแพรสูประชาชนตออีกครั้ง และจากการที่ จนท.สอ. เลือกที่จะให อสม.ไดอาน สื่อแผนพับมากกวาทีจ่ ะแจกจายใหประชาชนทั่วไปดวยเหตุผลขางตนแลว อาจจะเปนเพราะวา จนท.สอ. เห็นวา อสม.มีความสนใจและความสามารถในการเขาถึงสารสนเทศในสือ่ แผนพับ มากกวาประชาชนทั่วไป เพราะแผนพับเปนสื่อที่ตองใชความสามารถในการเขาถึงสารสนเทศ มากกวาสื่อบุคคล เนื่องจากตองใชความสามารถในการอาน การตีความหมาย ซึ่งตองใชความรู และประสบการณ ที่มีอยูเดิมจึงจะสามารถแปลความหมายไดถูกตองตรงกับความตองการของผูที่ จัดทําสื่อ จากผลการวิจยั พบวา อสม. ในหมูบานเสี่ยงต่ําไดรับความรูโรคไขเลือดออกจาก จนท.สอ.เปนประจําทุกเดือน และมีประสบการณในการออกสํารวจลูกน้ํายุงลายในหมูบาน ประกอบกับสวนใหญจบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนตน จึงนาที่จะมีมีความสนใจและ

100 ความสามารถในการเขาถึงสารสนเทศในสือ่ แผนพับมากกวาประชาชนทั่วไปในหมูบา น ซึ่งมีผล การศึกษาของ โฮแกน และพาลเมอร (Hogan and Palmer 2005) สนับสนุนวาระดับการศึกษามีผล ตอความสนใจในประเภทของสื่อที่แตกตางกัน คือ กลุมทีม่ ีระดับการศึกษาต่ํากวาระดับชั้นมัธยม จะใหความสําคัญสื่อวีดิทัศนเปนลําดับแรก และเมื่อกลุมที่มีระดับการศึกษาสูงขึ้นจะให ความสําคัญตอสื่อวีดิทัศนนอ ยลงแตจะใหความสําคัญกับสื่อสิ่งพิมพมากขึ้น 2.1.2 แหลงสารสนเทศที่ประชาชนตองการใชมากที่สุด ผลการวิจัยพบวา ผูรวม วิจัยทุกหมูบานมีความตองการสารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกเพิ่มเติมจาก จนท.สอ. มากที่สุด ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของ ปรีชา อุปโยคินและคณะ (2548:บทคัดยอ) ที่พบวากลุมเปาหมาย เมื่อมีการเจ็บปวยหรือมีปญหาดานสุขภาพ กลุมตัวอยางสวนใหญไดเลือกปรึกษา แพทย พยาบาล และเจาหนาทีส่ าธารณสุข สาเหตุที่ผูรวมวิจัยตองการแสวงหาความรูเพิ่มเติมจาก จนท.สอ. มากกวา บุคคลประเภทอื่น ๆ อาจจะเปนเพราะวา จนท.สอ. มีบทบาทในการปองกันโรคไขเลือดออกที่ โดดเดนในชุมชนมากกวาบุคคลอื่น ๆ เพราะเปนเจาหนาที่ของรัฐที่มีหนาที่ดูแลสุขภาพของ ประชาชนในพื้นที่โดยตรง และมีความรูค วามเชี่ยวชาญเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกมากกวาบุคคล กลุมอื่น อีกทัง้ เปนผูที่ทํางานอยูในชุมชน ประชาชนสามารถที่จะเขาถึงและใชบริการไดสะดวก และเปนทีพ่ ึ่งของประชาชนในยามเจ็บปวยได แต จนท.สอ.มีขอจํากัดที่ไมสามารถกระจาย สารสนเทศแกประชาชนไดอยางทั่วถึง เพราะวา จนท.สอ. ในแตและพื้นที่มีจํานวนนอยและตอง ใชเวลาสวนใหญใหบริการแกประชาชนในเชิงตั้งรับที่สถานีอนามัย จึงทําใหผูที่มีโอกาสเขาถึง สวนใหญจะมีเฉพาะผูที่มารับบริการดานสุขภาพที่สถานีอนามัยเทานัน้ ดังนั้น จนท. สอ. ควร จะตองเพิ่มบทบาทในการกระจายสารสนเทศแกประชาชนในเชิงรุกมากขึ้น โดยใชกลยุทธเพื่อให การกระจายสารสนเทศสูประชาชนกลุมเปาหมายไดอยางรวดเร็วและทั่วถึง เชน การขยายเครือขาย การมีสวนรวมเดิมเฉพาะ จนท.สอ.กับ อสม. เปนใหประชาชนทุกภาคสวนไดมีสว นรวมในการ กระจายสารสนเทศ เชน การอาศัยเครือขายของสถานีวทิ ยุชุมชนที่มีการกระจายเสียงครอบคลุม เกือบทุกหมูบา น การพัฒนาความรวมมือในการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกกับองคการ ปกครองสวนทองถิ่น เชน เทศบาล หรือ อบต. หรือการจัดอบรมเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการกระจาย สารสนเทศของ อสม. เพื่อใหการกระจายสนเทศสูประชาชนมีประสิทธิภาพมากขึน้ แหลงสารสนเทศที่ประชาชนตองการมากที่สุดอาจจะไมใชเปนแหลงสารสนเทศ ที่เปนประโยชนมากที่สุดเสมอไป ดังเชน จากผลการศึกษาของ แอนเคม (Ankem 2006) ที่ศึกษา การใชแหลงสารสนเทศของผูปวยโรคมะเร็งพบวา แหลงสารสนเทศที่ผูปวยใชมากทีส่ ุด 3 ลําดับ แรก ไดแก ผูทาํ หนาที่ใหการดูแลรักษาพยาบาล เชน แพทย เอกสารแนะนําใหความรู และสมาชิก ในครอบครัวหรือเพื่อน แตผลการศึกษาถึงแหลงสารสนเทศที่เปนประโยชนตอผูปวยมากที่สุดกลับ

101 พบวา เอกสารหรือหนังสือทีใ่ หความรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งเปนแหลงสารสนเทศที่เปนประโยชนมาก ที่สุด และมากกวา แพทย ผูทําการรักษาซึง่ เปนแหลงสารสนเทศที่ผูปวยใชมากที่สุดดวย แตการ วิจัยของผูว ิจัยในครั้งนี้ไมไดถามผูรวมวิจัยถึงแหลงสารสนเทศที่ใชประโยชนมากที่สดุ จึงไมมี ผลการวิจัยมาเปรียบเทียบได และควรจะทําการศึกษาถึงประเด็นนี้ในโอกาสตอไป อยางไรก็ตาม การใหสารสนเทศแกประชาชนของผูใหบริการสุขภาพ ควรจะคํานึงถึงผลการศึกษาของ แอนเคม ดวย และเมื่อไดใหคําแนะนําตาง ๆแกผรู ับบริการแลวควรจะตองแจกจาย เอกสาร แผนพับ หรือ คูมือประกอบคําแนะนําควบคูไปดวย เพราะจะทําใหผูรบั บริการสามารถนําขอมูลไปใชปฏิบัติได อยางทันความตองการหากไมสามารถจดจําคําแนะนําของผูใหบริการไดทั้งหมด 2.2 เครือขายการกระจายสารสนเทศที่มีประสิทธิผล มีรายละเอียดดังนี้ 2.2.1 รูปแบบของการกระจายสารสนเทศในหมูบาน ผลการวิจัยพบวา รูปแบบ การกระจายสารสนเทศโรคไขเลือดออกในหมูบาน เริ่มตนจาก จนท.สอ. สูประชาชนโดยผานกลุม บุคคลในพื้นทีไ่ ดแก อสม. ครู อบต. ผูนําชุมชน และจากผลการศึกษาของ โฮลมส และคณะ (Holmes et al 2006) ก็พบวา ในประเทศแคนาดาไดใชรปู แบบอาสาสมัครในชุมชนเปนแกนหลัก ในการเผยแพรสารสนเทศดานสุขภาพเชนเดียวกัน แตมคี วามแตกตางกันคือ ในประเทศแคนาดามี การเตรียมความพรอมของใหกับชุมชนในดานตาง ๆ กอนที่จะใหอาสาสมัครลงปฏิบัติงานในพื้นที่ จริง ไดแก การฝกอบรม การเตรียมโครงสรางการสื่อสาร การเตรียมความพรอมในการใหการ สนับสนุนการทํางานของอาสาสมัคร และการเตรียมความพรอมของทรัพยากร จากผลการศึกษาถึงความสัมพันธของแหลงสารสนเทศในหมูบานพบวา มีเพียง จนท.สอ. และ อสม. เทานั้นที่ทํางานรวมกันเพื่อกระจายสารสนเทศสูประชาชน สวนกลุม บุคคลอื่น เชน ครู อบต. และผูนําชุมชนยังไมพบบทบาทดังกลาวที่ชดั เจนนัก ซึ่งแสดงใหเห็นวา ยัง จนท.สอ. ยังไมสามารถนํานโยบายของรัฐที่เนนการมีสวนรวมไปสูก ารปฏิบัติไดอยางจริงจัง ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาของ กลุยา เบียประดิษฐ (2544 :บทคัดยอ) ทั้งนี้อาจจะเนื่องมาจาก ขาดการเตรียมโครงสรางการกระจายสารสนเทศในหมูบา นที่ดีพอ เชน ขาดการจัดตั้งเปนเครือขาย การกระจายสารสนเทศสุขภาพในหมูบานทีป่ ระกอบดวยสมาชิกที่หลากหลายแตมีวตั ถุประสงค เดียวกัน รวมกันกําหนดบทบาทในการกระจายสารสนเทศใหเหมาะสมกับความรูความสามารถ ของแตสมาชิกแตละบุคคล มีระบบการจัดหาและดูแลสมาชิกใหคงอยูใ นเครือขายฯ มีการจัด ฝกอบรมใหความรูและวิธีการกระจายสารสนเทศใหแกสมาชิกอยางสม่ําเสมอ รวมทั้งภาครัฐ จะตองใหการสนับสนุนทรัพยากรในการดําเนินงานอยางพอเพียง เชน คูมือการปฏิบัติงาน แผนพับ โปสเตอร สื่อสุขศึกษา และเงินงบประมาณ ผลจากการขาดการเตรียมโครงสรางการกระจาย สารสนเทศนี้ จึงทําใหมเี ปนเพียง จนท. สอ. เทานั้นที่เปนแกนหลักในการกระจายสารสนเทศ และ

102 ทําไดเพียงการจัดประชุมใหความรูของแกตัวแทนหนวยงานตาง ๆในหมูบานเชน ครู อบต. ผนําชุมชน เพือ่ ขอความรวมมือในการกระจายสารสนเทศแกประชาชนในหมูบานเทานั้น จึงทํา กลุมบุคคลเหลานี้ไมเกิดความตระหนักวาเปนหนาที่ทจี่ ะตองทํารวมกัน เพราะเขาใจวาเปนหนาที่ ของ จนท.สอ. และ อสม.โดยตรง ดังนัน้ การสรางรูปแบบการกระจายสารสนเทศในหมูบานที่มี ประสิทธิผล จึงมีความจําเปนที่จะตองสรางเครือขายการกระจายสารสนเทศสุขภาพในหมูบานให เกิดขึ้นใหไดกอ น รวมทั้งมีการสนับสนุนทรัพยากรในการดําเนินการจากภาครัฐอยางพอเพียง เครือขายการกระจายสารสนเทศสุขภาพอาจจะไมจําเปนตองสรางขึ้นใหมทั้งหมด แตอาจจะเปนการรวมตัวกันของเครือขายที่มีอยูเดิม เชน การรวมกันระหวาง จนท.สอ. กับ เครือขาย อสม. หรือกับ ชมรมครูและผูปกครองของโรงเรียน หรือกับ คณะกรรมการหมูบาน หรือ กับชมรมผูสูงอายุในหมูบาน หรือกับ สมาชิกองคการบริหารสวนตําบล (อบต.) หรือกับ แกนนํา สุขภาพครอบครัว โดยที่สมาชิกของเครือขายเหลานี้มีความตองการทีต่ รงกันเพื่อจะทําการปองกัน โรคไขเลือดออกไมใหเกิดขึน้ กับบุตรหลานของตนทั้งในหมูบานหรือในโรงเรียน และเมื่อมีการ รวมกันเปนเครือขายแลวจําเปนตองมีการกําหนดบทบาทหนาที่ระหวางสมาชิกในเครือขายใหมี ความเหมาะสมและสอดคลองกัน เชน กําหนดให จนท.สอ.ซึ่งมีความรูในเรื่องโรคไขเลือดออกมี บทบาทในดานฝกอบรมใหความรูแกสมาชิกของแตละเครือขาย หรือกําหนดใหครูในโรงเรียนมี บทบาทในดานจัดทําหลักสูตรการเรียนการสอนเกี่ยวกับการปองกันไขเลือดออกในแกนักเรียน โรงเรียน ผลการวิจัยพบวาการดําเนินการปองกันโรคไขเลือดออกในโรงเรียนยังไมไดผลดี นักเพราะวายังมียุงลายชุกชุมในโรงเรียน เนื่องมาจากครูยังไมใสใจในการปองกันโรคไขเลือดออก ในโรงเรียน ซึ่งแสดงใหเห็นวาการเผยแพรสารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกจาก จนท.สอ. ผาน ครูยังไมประสบผลสําเร็จ และสอดคลองกับการประเมินผลโครงการอนามัยโรงเรียนในประเทศ อินเดีย ของ ปราเดช (Pradesh 2006) ที่พบวา การใหความรวมมือของครูในการใชเครื่องมือการ ตรวจคัดกรองปญหาสุขภาพเบื้องตนหลังจากที่ครูผานการอบรมการใชเครื่องมือจากเจาหนาที่ สาธารณสุขมาแลวยังไมดีนกั เชนเดียวกัน ทั้งนี้อาจมีสาเหตุมาจาก จนท.สอ ไมมีความรูและ ประสบการณในกิจกรรมดานการเรียนการสอน หรือ การฝกอบรม จึงไมสามารถถายทอดความรู ไดตามความตองการของครู ดังนั้นในสวนการฝกอบรมหรือการถายทอดความรูใหแกครูใน โรงเรียนควรจะมีการประสานความรวมมือกับหนวยงานที่รับผิดชอบโรงเรียนเปนผูด ําเนินการ และ จนท.สอ. ควรจะมีบทบาทเฉพาะในการจัดหาเอกสาร คูมือที่เกี่ยวกับความรูโรคและการ ปองกันโรคไขเลือดออก เพื่อใหครูไดศกึ ษาคนควาและดําเนินการฝกอบรมกันเองเพราะจะทําให สามารถถายทอดความรูไดตรงกับความตองการของครูผูเขารับการอบรมได

103 บทบาทหลักของเครือขายกระจายสารสนเทศสุขภาพในหมูบานที่ควรจะเปน คือ การกระจายสารสนเทศสุขภาพอยางมีเปาหมาย โดยจะตองดําเนินการจัดทําแผนการกระจาย สารสนเทศดานสุขภาพอยางเหมาะสมกับสภาวะสุขภาพของประชาชนในหมูบาน ซึ่งจะตองทราบ ถึงสภาวะสุขภาพของชุมชนวามีการเจ็บปวยดวยโรคใดบาง สถานการณของโรคมีแนวโนมเปน อยางไร และพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนที่ไมพึงประสงคที่อาจจะเปนสาเหตุใหเกิดการ ระบาดของโรคมีอะไรบาง ทั้งนี้สมาชิกของเครือขายทุกคนจะตองมีบทบาทรวมกันในการเผาระวัง โรคที่คาดวาจะเปนปญหาตอสุขภาพ และมีการบันทึกและจัดเก็บขอมูลดานสุขภาพอยางเปนระบบ เพื่อนํามาวิเคราะหและเปนแนวทางในการจัดทําแผนฯไดอยางเหมาะสม ในการนําเสนอขอมูล สุขภาพใหประชาชนไดรับทราบนั้น วนิดา วิระกุล และคณะ (2547: 241) ไดเสนอแนะประเด็น ของขอมูลขาวสารและความรูดานสุขภาพที่สมาชิกเครือขายควรนําเสนอ สรุปไดวา ควรจะตอง นําเสนอขอมูลใหรอบดาน อาทิเชน ขนาดของปญหา เหตุผลของความจําเปน วิธีดําเนินการ และ หนวยงานทีใ่ หการสนับสนุนในแกไขปญหา เปนตน 2.2.2 บทบาทการกระจายสารสนเทศของบุคคลในเครือขาย ผลการวิจยั พบวา บทบาทในการกระจายสารสนเทศของบุคคลตาง ๆในหมูบานมีจดุ เดนและปญหาในการกระจาย สารสนเทศที่แตกตางกันดังนี้ 1) บทบาทของ จนท.สอ. ผลการวิจัยพบวา จนท.สอ.ที่รับผิดชอบหมูบานเสี่ยง ต่ํามีบทบาทในการสงเสริมการปฏิบัติงานของ อสม.ที่เปนรูปธรรมมากกวาหมูบานอืน่ ๆ เชน รวมเดินสํารวจลูกน้ํายุงลาย ฝกสอนให อสม.ทําการวิเคราะหคา BI. จากขอมูลการสํารวจลูกน้ํา ยุงลายในละแวกบาน และนําขอมูลมาวางแผนการรณรงคในครั้งตอไป การจัดระบบรายงานผล การปฏิบัติงานของ อสม. และรวมแกไขปญหาการทํางานของ อสม. การใหความรูแก อสม.อยาง ตอเนื่อง การเผยแพรเอกสาร แผนพับ เพือ่ ให อสม.นําไปศึกษาและแปลความรูที่ไดจากการอาน เปนสารสนเทศไปเผยแพรสปู ระชาชนในละแวกบานทีร่ ับผิดชอบ จึงทําใหการทํางานของ อสม.ในการปองกันโรคไขเลือดออกมีความเขมแข็ง สงผลใหการปองกันโรคไขเลือดออก ประสบผลสําเร็จดวยดี สอดคลองกับผลการวิจยั ของ ประจวบ แหลมหลัก (2547: บทคัดยอ) ที่ทํา การทดลองให จนท.สอ. เปนผูใหการผูสนับสนุนกระบวนการเรียนรูของ อสม ในการคัดกรองกลุม เสี่ยงตอโรคความดันโลหิตสูง จนทําให อสม.สามารถคัดกรองกลุมเสี่ยงในเขตรับผิดชอบไดสูง กวากอนดําเนินการ ซึ่งแสดงใหเห็นวา จนท.สอ. เปนแรงสนับสนุนที่สําคัญในการผลักดันการ ทํางานของ อสม. ดังนั้น จนท.สอ. ควรจะตองมีบทบาทในการสงเสริมกระบวนการเรียนรูของ อสม.อยางใกลชิด ใหการสนับสนุนความรูและทรัพยากรในการทํางานอยางเพียงพอเพื่อให อสม. ไดทําการเผยแพรสารสนเทศแกประชาชนในหมูบานไดอยางมีประสิทธิภาพ

104 ผลการวิจัยยังพบวา บทบาทในการเผยแพรสารสนเทศของ จนท.สอ. มีเพียงการ ความรูเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกแกกลุมตาง ๆ เทานั้น และไมพอเพียงที่ทําใหประชาชนเกิดการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการปองกันโรคได ซึ่งสอดคลองกับผลการวิเคราะหการใหสุขศึกษาใน ประเทศอินเดีย ของ ซารมา (Sharma :2005) ที่พบวา จุดออนในการใหสุขศึกษาประการหนึ่ง คือ การมุงเนนการใหความรูตามตําราเพียงอยางเดียว และไมสามารถทําผูรับเกิดการเปลีย่ นแปลง พฤติกรรมได ดังนั้นการดําเนินการเผยแพรความรูเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก ของ จนท.สอ. แก ประชาชนในชุมชน ควรจะตองการนําทฤษฎีที่ใชในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เชน ทฤษฏี แบบจําลองความเชื่อดานสุขภาพ (Health Belief Model) หรือ ทฤษฎีแรงจูงใจในการปองกันโรค (The Protection Motivation) รวมกับกระบวนการกลุม หรือ การใชแรงสนับสนุนทางสังคม หรือ การมีสวนรวมและการเรียนรูแ บบสรางพลัง (Empowerment) มาประยุกตใชเพื่อกําหนดโปรแกรม การใหสุขศึกษาในเรื่องโรคไขเลือดออกแกประชาชน ซึ่งจากผลการวิจัยของ ศิวรา เธียระวิบูลย (2541) สุภัทรา สมบัติ (2543) และ ดวงผา วานิชรักษ (2544) ตางพบวา การประยุกตใชทฤษฎี ดังกลาวขางตนมาจัดเปนโปรแกรมการใหสุขศึกษาในเรือ่ งการปองกันโรคไขเลือดออกแก ประชาชน มีประสิทธิผลทําใหประชาชนเกิดการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมการปองกันโรค ไขเลือดออกได 2) บทบาทของ อสม. ผลการวิจัยพบวา ผูรวมวิจยั แตละหมูบานรับรูถ ึง ความสําเร็จของการปองกันโรคในหมูบานที่แตกตางกัน คือ ผูรวมวิจัยในหมูบานเสี่ยงปานกลาง และเสี่ยงสูงเห็นวาการปองกันโรคยังไมประสบผลสําเร็จ เนื่องจากยังมีผูปวยและมีการระบาดของ โรคเปนประจําทุกป แตผูรว มวิจัยในหมูบ านเสี่ยงต่ําเห็นวาการปองกันโรคในหมูบา นประสบ ความสําเร็จดวยดี เพราะในรอบ 2 ปที่ผานมาไมมีคนปวยเปนโรคไขเลือดออก และประชาชน รวมมือกันปองกันโรคดวยดี เนื่องจาก อสม. มีบทบาทในการเผยแพรสารสนเทศที่ชัดเจน เชนการ รวมกลุมกันออกสํารวจลูกน้าํ ยุงลาย เพื่อสือ่ สารใหประชาชนในละแวกบานรับรูถึงกิจกรรมและ รวมมือกันทําการปองกันโรคเปนประจําทุกเดือน และมีการนําขอมูลคา B.Iและคา H.I มาใช วางแผนเพื่อออกกระตุน เตือนประชาชนในละแวกบานที่คาดวาจะมียงุ ชุกชุมใหทํากิจกรรมเพื่อ ปองกันโรคอยางตอเนื่อง หากพบปญหาในการทํางานจะแจงให จนท.สอ. ทราบเพื่อหาแนวทาง แกไข แสดงใหเห็นวา อสม. มีบทบาทเปนแรงสนับสนุนใหประชาชนในหมูบานใหความรวมมือ ในการปองกันโรคไขเลือดออกดวยดี ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาของ ธีระศักดิ์ มักคุนและคณะ (2543:บทคัดยอ) ที่ทําการทดลองให อสม. เปนแรงสนับสนุนการปองกันโรคของแกนนําสุขภาพ ครอบครัว เชน กําหนดให อสม.กระตุนเตือนแกนนํา ฯ โดยใหความรูแ ละคําแนะนําในการปองกัน โรคเปนประจํา พบวา มีความสัมพันธกับการปฏิบัติงานในการปองกันโรคไขเลือดออกและ

105 โรคอุจจาระรวงของแกนนําสุขภาพครอบครัวเชนเดียวกัน ในการที่ อสม. จะมีบทบาทเปนแรง สนับสนุนประชาชนไดดี จะตองปรับเปลี่ยนบทบาทการเผยแพรสารสนเทศจากเปนผูใหคําแนะนํา หรือ จากเปนผูสาธิตกิจกรรมการปองกันโรคมาเปนผูกระตุนเตือนและชวยเหลือใหประชาชนมี การรับรูและมีการปฏิบัติอยางจริงจังและตอเนื่อง โดยมี จนท.สอ. เปนผูใหการสงเสริมการ ปฏิบัติงานของ อสม. อยางใกลชิด

3. ขอเสนอแนะ การวิจยั ครั้งนี้มีขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช และขอเสนอแนะในการวิจัย ครั้งตอไป ดังนี้ 3.1 ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช ดังนี้ 3.1.1 จากผลการวิจยั พบวา ประชาชนสวนใหญรับรูสารสนเทศเกี่ยวกับโรค ไขเลือดออกจากแหลงสารสนเทศประเภทสื่อบุคคล และใหความสําคัญกับ จนท.สอ มากที่สุด รองลงมาคือ อสม. ดังนั้นจึงควรจะพัฒนาประสิทธิภาพการเผยแพรสารสนเทศใหกบั จนท.สอ. และ อสม. เพือ่ ใหสามารถทําการเผยแพรสารสนเทศสูประชาชนไดอยางมีประสิทธิผลมากขึ้น ดังนี้ 1) ควรจะจัดอบรมฟนฟูใหความรูเกีย่ วกับการปองกันและควบคุมโรค ไขเลือดออกใหกับ จนท.สอ. เปนประจําทุกป เพื่อเพิ่มพูนความรูและทักษะในการบริหารจัดการ ดานตาง ๆ ในการปฏิบัติงานในการควบคุมและปองกันโรคไขเลือดออก เชน ทักษะในการจัด โปรแกรมการใหสุขศึกษาแกประชาชนในหมูบานโดยเนนการปรับเปลี่ยนความคิด ความเชื่อ เกี่ยวกับโรคไขเลือดออกที่ถูกตอง และปลูกจิตสํานึกในการปองกันโรคใหเปนหนาที่ของ ประชาชนที่จะตองปฏิบัติอยางสม่ําเสมอ หรือเพิ่มพูนทักษะในการประเมินผลการใหสุขศึกษา หรือ ทักษะในการจัดการทรัพยากรในการปองกันโรคไขเลือดออก เปนตน 2) ปรับเปลี่ยนบทบาทการทํางานของ จนท.สอ.ในการใหสุขศึกษาแก ประชาชน จากเดิมที่มุงเนนเพียงการจัดประชุมใหความรูแ กกลุมตาง ๆ มาเปนผูสนับสนุนให บุคคลในชุมชน เชน ผูใหญบาน อสม. และประชาชนไดมีสวนรวมในการวางแผนใหสุขศึกษา ดําเนินการใหสุขศึกษา และประเมินผลการใหสุขศึกษาไดเอง โดยใชเทคนิคการกระบวนการการ วางแผนแบบมีสวนรวม หรือ AIC ซึ่งมีขั้นตอนแรก คือ ขั้นตอนการสรางความรูเพื่อใหคนใน ชุมชนไดรับรูถ ึงสภาพการณของโรคไขเลือดออกในชุมชน และกําหนดวิสัยทัศนในการปองกัน โรคไขเลือดออก ขั้นตอนทีส่ อง คือ ขั้นตอนการสรางแนวทางในการพัฒนา ซึ่งเปนขั้นตอนที่จะ

106 ชวยใหประชาชนในชุมชนกําหนดกิจกรรมเพื่อดําเนินการ ซึ่ง จนท.สอ.จะตองเปนผูใหการ ชวยเหลือใหมกี ารนําทฤษฏีแบบจําลองความเชื่อดานสุขภาพ (Health Belief Model) หรือ ทฤษฎี แรงจูงใจในการปองกันโรค(The Protection Motivation) รวมกับเทคนิค กระบวนการกลุม หรือ การใชแรงสนับสนุนทางสังคม หรือ การมีสวนรวมและการเรียนรูแบบสรางพลัง (Empowerment) มาประยุกตใชเพื่อกําหนดโปรแกรมการใหสุขศึกษาในเรือ่ งโรคไขเลือดออกแกประชาชนในชุมชน และขั้นตอนสุดทายคือ ขั้นตอนการสรางแนวทางปฏิบัติเพื่อใหเกิดการนําแผนกิจกรรมมาปฏิบัติ โดยชุมชน ซึ่ง จนท.สอ จะตองสงเสริมใหมีการจัดตั้งกลุม แกนนํารับผิดชอบในชุมชนและใหมีการ ประเมินผลโดยชุมชน 3) จนท.สอ. ควรจะตองเปนผูสนับสนุนใหการทํางานของ อสม.ในการ ปองกันโรคไขเลือดออก และใหถายทอดความรูเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกสูประชาชนไดอยางมี ประสิทธิภาพ โดยการมีสวนรวมในการสนับสนุนในกระบวนการเรียนรูของ อสม.ในขั้นตอน ตาง ๆ ซึ่งไดแก การเตรียมความพรอม การปฐมนิเทศ การระบุปญหาที่แทจริง การคนหาสาเหตุ ของปญหา การคนหาและตัดสินทางเลือกในการแกปญหา การจัดทําแผนปฏิบัติ การดําเนินการ ตามแผน และการนําเสนอผลการปฏิบัติงาน ซึ่งจากการทดลองดําเนินการของ ประจวบ แหลม หลัก (2547:บทคัดยอ) พบวาสงผลให อสม.มีการทํางานที่ดีขึ้น 4) ควรจะตองมีการจัดตั้งเครือขายการกระจายสารสนเทศใหครอบคลุมถึง ระดับหมูบาน เพื่อใหสามารถกระจายสารสนเทศลงสูประชาชนไดอยางทั่วถึง ซึ่งควรจะตองมี หนวยงานทีเ่ กีย่ วของ และการกําหนดบทบาทในการเปนสมาชิกเครือขายกระจายสารสนเทศ ดังนี้ - สํานักงานสาธารณสุขอําเภอเสลภูมิ และโรงพยาบาลเสลภูมิ ควร จะตองจัดหาทรัพยากรตาง ๆ ใหเพียงพอในการดําเนินการใหสุขศึกษาในชุมชน และควรจะตอง สนับสนุนการจัดกิจกรรมรณรงคในการปองกันโรคไขเลือดออกเพื่อสรางการรับรูและความ ตระหนักตอการปองกันโรคแกประชาชนทั้งในระดับอําเภอและระดับตําบล หรือ หมูบานที่เปน พื้นที่เสี่ยงตอการระบาดของโรคไขเลือดออกอยางนอยปละหนึ่งครั้ง โดยสงเสริมใหมีการสราง เครือขายและการสื่อสารเครือขายในชุมชน และใหมีการรณรงคสูชุมชนเพื่อใหเกิดการปฏิบัติอยาง ตอเนื่องหลังจากสิ้นสุดการรณรงค โดยใหชุมชนเปนศูนยกลางในการรณรงคตอเนื่อง - จนท สอ. จะดําเนินการแสวงหาความรวมมือจาก ครู หรือ สมาชิก อบต. ในการถายทอดความรูใ นการปองกันโรคไขเลือดออกจากบุคคลเหลานี้ ใหมกี ารเชื่อมโยงสู ประชาชนในหมูบานไดอยางทั่วถึงนอกเหนือจากการถายทอดความรูผ าน อสม. เพียงอยางเดียว ซึ่ง การแสวงหาความรวมมือสามารถดําเนินการไดหลายรูปแบบ เชน การแสวงหาความรวมมือจาก ครูในโรงเรียน อาจจะรวมกับผูบริหารโรงเรียนนําใชรูปแบบโรงเรียนสงเสริมสุขภาพมาพัฒนาเปน

107 รูปแบบโรงเรียนสงเสริมสุขภาพเพื่อการปองกันโรคและควบคุมโรคไขเลือดออก มาใชใน โรงเรียนที่อยูในพื้นที่ที่มีปญหาเกีย่ วกับโรคไขเลือดออก โดยนําองคประกอบของโรงเรียนสงเสริม สุขภาพทั้ง 5 องคประกอบมาดําเนินการ ไดแก การกําหนดเปนนโยบายโรงเรียน การบริหาร จัดการในโรงเรียน การจัดสิ่งแวดลอมในโรงเรียนที่เอื้อตอสุขภาพ (ลดการเสี่ยงตอการปวยเปนโรค ไขเลือดออก) จัดใหมีโครงการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกระหวางโรงเรียนและชุมชน และการดําเนินการใหสุขศึกษาในโรงเรียน ซึ่งกิจกรรมขางตนนี้จะทําใหเกิดการเชื่อมโยง สารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก จาก จนท.สอ. ผานครู ลงสูประชาชนในหมูบานได - อบต. โดย สมาชิก อบต. หรือ คณะกรรมการบริหาร อบต. ควรจะบรรจุ โครงการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกในแผนงานประจําป ของ อบต. เนื่องจากเปนหนาที่ ของ องคการบริหารสวนตําบลที่จะตองดําเนินการปองกันโรคและระงับโรคติดตอ ตามมาตรา 67 (2) ของ พ.ร.บ.สภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 และแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3 พ.ศ.2542) และจะตองจัดระบบบริการสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล ตามที่กําหนดตาม พ.ร.บ.กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองทองถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 ขอ 19 โดยในสวนการแสวงหาความรวมมือ อบต. ในการดําเนินงาน สุขศึกษาเพื่อปองกันโรคไขเลือดออกในหมูบาน สามารถทําไดโดย จนท.สอ. ควรจะตองผลักดัน ซึ่งมีแนวทางในการผลักดันคือ การจัดอบรมสมาชิก อบต. หรือ คณะกรรมการบริหาร อบต. ใน พื้นที่ที่มีปญหาเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก โดยประยุกตทฤษฎีแรงจูงในในการปองกันโรครวม เทคนิคการกระบวนการการวางแผนแบบมีสวนรวม หรือ AIC เพื่อให ผูเขาอบรมสามารถประเมิน ถึงอันตรายของโรคไขเลือดออกและประเมินการเผชิญปญหาเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกได และ จัดทําแผนการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกในหมูบานเสนอบรรจุในแผนงานประจําปของ อบต.ตอไป นอกจากนั้น จนท.สอ.ควรจะนําเสนอขอมูลจํานวนผูปว ยเปนโรคไขเลือดออกในพื้นที่ ให สมาชิก อบต.ไดรับทราบเปนประจํา เพื่อเปนการกระตุนเตือนในเกิดความตระหนักถึง ความสําคัญของปญหาและพิจารณาอนุมตั ิบรรจุในแผนงานประจําปตามที่เสนอ 3.1.2 จากผลการวิจยั พบวาประชาชนในบางหมูบานยังมีการรับรูพฤติกรรมของ ยุงลาย แหลงเพาะพันธุของยุงลาย ตลอดจนวิธีการปองกันยุงกัดที่ไมถกู ตอง ดังนัน้ ควรจะตองมี การปรับปรุงเนื้อหาการใหความรูเกีย่ วกับโรคไขเลือดออกแกประชาชนใหม โดยเนนหนักการให ความรูเกี่ยวกับยุงลายซึ่งเปนพาหะนําโรคในเรื่อง ประเภทและรูปรางลักษณะของยุงลาย วงจรชีวิต และชีวนิสัยของยุงลาย แหลงเพาะพันธุของยุงลาย และการใหความรูในการปองกันและกําจัด ยุงลายควรจะเนนหนักในวิธกี ารปองกันยุงกัดที่มีประสิทธิภาพมากกวาการเปดพัดลมไลยุงที่ ประชาชนสวนใหญมักจะใชไลยุงใหบุตรหลานขณะนั่งดูโทรทัศน เชน การสารเคมีกาํ จัดยุง หรือ

108 สารไลยุง ที่มีความปลอดภัยตอคน สัตวเลี้ยงและสิ่งแวดลอม หรือ การใชอุปกรณกําจัดยุง เชน “ไม ปงปองฆายุง” ที่ประชาชนบางกลุมใหความนิยมใชอยูกอ นแลวเพราะไมมีกลิ่นเหม็นเหมือนกับยา ฉีดกันยุงและมีราคาไมแพงเกินไป 3.1.3 จากผลการวิจยั พบวา ประชาชนสวนใหญไมไดใหความสนใจในสื่อ ประเภทสิ่งพิมพและสื่อกระจายเสียง ทั้งทีม่ ีการกระจายสื่อเหลานี้ไปตามชองทางตาง ๆ ที่มีอยูใน หมูบานแลว ดังนั้นควรจะตองปรับปรุงการจัดทําสื่อ หรือปรับปรุงชองทางการกระจายสื่อใหม เชน การจัดทําสื่อประเภทสิ่งพิมพ ซึ่งไดแก เอกสารแผนพับ โปสเตอร ควรจะตองคํานึงถึงการใช ภาษาที่งายในการอาน และการทําความเขาใจเหมาะสมกับกลุมเปาหมาย และไมเปนภาษาราชการ เกินไป มีการใชภาพประกอบที่สื่อสารเขาใจงายโดยไมตองใชคําบรรยายประกอบ หากเปนสื่อ กระจายเสียงควรจะใชภาษาทองถิ่น ในการพัฒนาสื่อสิ่งพิมพหรือสื่อกระจายเสียงจะตองทํา รวมกันหลายฝายที่มีความรูค วามเชี่ยวชาญที่ตางกัน เชน ผูประกอบวิชาชีพสาธารณสุข นักภาษาศาสตร นักการศึกษา เปนตน และควรเปดโอกาสใหตัวแทนกลุมเปาหมายรวมกําหนด เนื้อหาเพื่อไมใหขัดตอความความเชื่อ หรือวัฒนธรรมของกลุมเปาหมาย สวนการกระจายสื่อ ประเภทแผนพับ ควรจะใหมีปริมาณที่เหมาะสมกับกลุม เปาหมาย หากเปนโปสเตอร หรือปาย ประกาศ ควรจะติดตั้งในพืน้ ที่สญ ั จรของชุมชน หากเปนสื่อกระจายเสียงควรจะเพิม่ ชองทางจาก เดิมใช หอกระจายขาว เปนวิทยุชุมชน เพราะในปจจุบันเปนชองทางที่ประชาชนในทองถิ่นให ความสนใจเปนอยางมาก 3.2 ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป 3.2.1 ควรศึกษาเปรียบเทียบถึงสภาพการณการรับรูสารสนเทศเกี่ยวกับโรค ไขเลือดออกในกลุมบุคคลตาง ๆในชุมชน เชน อสม. สมาชิก อบต. ครู ผูนําหมูบาน ผูปกครอง เด็กที่ปว ยเปนโรคไขเลือดออก และประชาชนทั่วไป ในเรื่องของแบบแผนความเชื่อดานสุขภาพ เชน การรับรูความรุนแรงของโรค การรับรูโอกาสเสี่ยงตอการเกิดโรค และความคาดหวังตอ ประสิทธิผลในการสนองตอบในการปองกันโรค วามีความแตกตางกันหรือไมอยางไร 3.2.2 ควรศึกษาโดยใชแบบการวิจยั เชน การวิจัยกึ่งทดลองเพื่อเปรียบเทียบการมี สวนรวมในการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกขององคการบริหารสวนตําบลในพื้นที่ที่มี ปญหาเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก โดยประยุกตใชทฤษฎีแรงจูงในในการปองกันโรครวมเทคนิคการ กระบวนการการวางแผนแบบมีสวนรวม หรือ AIC ในการกําหนดกิจกรรมดําเนินการ 3.2.3 ควรทําการศึกษาเพื่อพัฒนารูปแบบเครือขายในการกระจายสารสนเทศ เกี่ยวกับโรคไขเลือดออกลงสูชุมชนที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล 3.2.4 ควรศึกษาถึงบทบาทหนาที่และนโยบายประจําปขององคกรตาง ๆที่แหลง

109 สารสนเทศบุคคลสังกัด เชน สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ โรงเรียน องคการบริหารสวนตําบล โดยการศึกษาเอกสารและสัมภาษณเชิงลึกผูบริหารองคกร วามีสวนสนับสนุน หรือเปนปญหา อุปสรรคตอบทบาทในการกระจายสารสนเทศเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกของบุคลากรในสังกัด อยางไรบาง

บรรณานุกรม

111

บรรณานุกรม กองสุขศึกษา (2542) แนวคิด ทฤษฎี และการนําไปใชในการดําเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติ กรรมสุขภาพ กรุงเทพมหานคร กุลยา เบียประดิษฐ (2544) “การศึกษาแนวทางในการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกดวยวิธี การมีสวนรวมของประชาชนในพื้นทีเ่ สี่ยงสูง” วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหา บัณฑิต(วัฒนธรรมศึกษา) มหาวิทยาลัยมหิดล (ออนไลน) สาระสังเขป คนคืนวันที่ 9 พฤศจิกายน 2549 จาก htp://thesis.tiac.or.th/ จันทิมา เขียวแกว (2545) “การวิจยั เชิงคุณภาพทางสารสนเทศศาสตร” ใน ประมวลสาระชุด วิชาการวิจัยทางสารสนเทศศาสตร หนวยที่ 5 หนา 260-335 นนทบุรี มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปศาสตร ดวงผกา วานิชรักษ (2544) “รูปแบบการมีสวนรวมของชุมชนในการปองกันและควบคุมโรค ไขเลือดออกในเขตอําเภอปากพลี จังหวัดนครนายก” วิทยานิพนธปริญญาวิทยา ศาสตรมหาบัณฑิต (สุขศึกษา) มหาวิทยาลัยมหิดล (ออนไลน) สาระสังเขป คนคืน วันที่ 17 พฤศจิกายน 2549 จาก htp://thesis.tiac.or.th/ ถาวร พิเนตร (2547, 13 กรกฎาคม ) หัวหนาสถานีอนามัย สัมภาษณโดย เจริญ นิลสุ สถานีอนามัยบานหัวคู ตําบลบึงเกลือ อําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด ธีระศักดิ์ มักคุน และคนอืน่ ๆ (2543) “ผลการจัดกิจกรรมสุขศึกษารวมกันกับการใชแรง สนับสนุนทางสังคมจากอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน ตอความรูพฤติกรรม ของแกนนําสุขภาพประจําครอบครัวในการปองกันโรคไขเลือดออกและอุจจาระรวง จังหวัดตรัง” สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) กระทรวงสาธารณสุข นารี โพธิจักร (2547, 10 กรกฎาคม ) เจาพนักงานสาธารณสุขชุมชน สัมภาษณโดย เจริญ นิลสุ สถานีอนามัยบานผักกาดหญา ตําบลนาเลิง อําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด ประจวบ แหลมหลัก (2547) “การพัฒนากระบวนการเรียนรูทางการศึกษานอกระบบโรงเรียนโดย ใชแนวคิดการเรียนรูจากการปฏิบัติเพื่อสงเสริมการปฏิบัติงานของอาสาสมัคร สาธารณสุขประจําหมูบาน” วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขา การศึกษานอกระบบโรงเรียน บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (ออนไลน) สาระสังเขป คนคืนวันที่ 15 พฤษภาคม 2549 จาก http://thailis-ac.car.chula.ac.th /CU_DC/Thesis/

112 ปรีชา อุปโยคิน และคนอืน่ ๆ (2548) “โครงการวิจัยเรื่อง การรับรูและการเขาถึงสื่อสาธารณสุข ในจังหวัดเชียงราย” สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุข (สวรส.) กระทรวงสาธารณสุข พีรภัทร บุญชมพู (2547, 11 กรกฎาคม ) เจาพนักงานสาธารณสุขชุมชน สัมภาษณโดย เจริญ นิลสุ สถานีอนามัยบานโนนสนาม ตําบลเมืองไพร อําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด เพ็ญศรี สุโรจน (2537) “การวิเคราะหตน ทุนรักษาโรคไขเลือดออก : กรณีศึกษาโรงพยาบาล เด็ก” วิทยานิพนธปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษศาสตร (เศรษฐศาสตร) บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (ออนไลน) สาระสังเขป คนคืนวันที่ 27 กันยายน 2546 จาก htp://thesis.tiac.or.th/ วาสนา จันทรสวาง และคนอื่น ๆ (2548) “รายงานวิจัย เรื่อง กระบวนการสื่อสารการรณรงคดาน สุขภาพ” สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุข (สวรส.) กระทรวงสาธารณสุข วนิดา วิระกุล และคนอื่น ๆ (2547) “การประเมินผลศักยภาพและความเขมแข็งของชุมชนในการ บริหารจัดการระบบสุขภาพของประชาชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” ศูนยฝกอบรม และพัฒนาสุขภาพภาคประชาชน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กระทรวงสาธารณสุข วัลลา ตันตโยทัย (2543) “ทฤษฎีที่ใชในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ” ใน สมจิต หนุน เจริญกรุง วัลลา ตันตโยทัย และรวมพร คงกําเนิด บรรณาธิการ การสงเสริมสุขภาพ แนวคิด ทฤษฎี และการปฏิบัติการพยาบาล หนา 29-46 กรุงเทพมหานคร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ศิวรา เธียระวิบูลย (2541) “การประยุกตทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อปองกันโรครวมกับแรงสนับสนุน ทางสังคมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมปองกันโรคไขเลือดออกของกลุมแมบาน อําเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี” วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สุขศึกษา และพฤติกรรมศาสตร) มหาวิทยาลัยมหิดล (ออนไลน) สาระสังเขป คนคืนวันที่ 9 พฤศจิกายน 2549 จาก htp://thesis.tiac.or.th/ ศูนยควบคุมโรคอําเภอเสลภูมิ (2546) “รายงานการเฝาระวังทางระบาดวิทยา ประจําเดือน ธันวาคม 2546” (จุลสาร) สํานักงานระบาดวิทยา (2545) “รายงานการเฝาระวังโรคประจําเดือน ปที่ 33 ฉบับที่ 12 ธันวาคม 2545” (จุลสาร) สีวิกา แสงธาราทิพย (2545 ก) “ระบาดวิทยาของโรคไขเลือดออก” ใน โรคไขเลือดออก ฉบับ ประเกียรณก หนา 1-6 กรุงเทพมหานคร สํานักงานควบคุมโรคติดตอ กระทรวงสาธารณสุข (2545 ข) “การควบคุมและกําจัดลูกน้ํายุงลาย” ใน โรคไขเลือดออก ฉบับ

113 ประเกียรณก หนา 35-58 กรุงเทพมหานคร สํานักงานควบคุมโรคติดตอ กระทรวง สาธารณสุข (2545 ค) “การปองกันและกําจัดยุงลาย” ใน โรคไขเลือดออก ฉบับ ประเกียรณก หนา 59-66 กรุงเทพมหานคร สํานักงานควบคุมโรคติดตอ กระทรวงสาธารณสุข (2545 ง) “การสํารวจยุงลายพาหะนําโรคไขเลือดออก” ใน โรคไขเลือดออกฉบับ ประเกียรณก หนา 67-87 กรุงเทพมหานคร สํานักงานควบคุมโรคติดตอ กระทรวงสาธารณสุข สุจิตรา นิมมานนิตย (2545 ก) “การติดเชื้อและปจจัยเสีย่ ง” ใน โรคไขเลือดออก ฉบับ ประเกียรณก หนา 9-11 กรุงเทพมหานคร สํานักงานควบคุมโรคติดตอ กระทรวงสาธารณสุข (2545 ข) “การดูแลรักษาผูปว ย” ใน โรคไขเลือดออก ฉบับประเกียรณก หนา 18-20 กรุงเทพมหานคร สํานักงานควบคุมโรคติดตอ กระทรวงสาธารณสุข สุภัทรา สมบัติ (2543) “ประสิทธิผลของการประยุกตทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อการปองกันโรครวมกับ กับกระบวนการกลุมตอพฤติกรรมการปองกันโรคไขเลือดออกของอาสาสมัคร สารณสุขประจําหมูบาน ตําบลกุฏโงง อําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี” วิทยานิพนธ ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พยาบาลสาธารณสุข) มหาวิทยาลัยมหิดล (ออนไลน) สาระสังเขป คนคืนวันที่ 17 พฤศจิกายน 2549 จาก htp://thesis.tiac.or.th/ อเนกพล เกื้อมา และคนอืน่ ๆ (2547) “โครงการศึกษาความตองการดานสารสนเทศของ ประชาชน ในการสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรคภายใตระบบประกันสุขภาพถวน หนา” สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุข (สวรส.) กระทรวงสาธารณสุข Ankem, Kalyani. (2006). “Use of Information Source by Cancer Patients : Results of a Systematic Review of the Research Literature.” Retrieved August 5, 2006, from http://informationr/ir/11- 3/paper/254.html. Holmes, Peggy. and others. (2006). “The Newfoundland and Labrador Heart Health Program Dissemination Story: The Formation and Functioning of Effective Coalitions.” Retrieved May 29, 2006, from http://www.infoet.st-johns.nf.ca/nhhp/docs/ disseminationStory.html. Hogan, T.P. & Palmer, C.L. (2005). Information Preferences and Practices among People Living with HIV/AIDS: Results from a Nationwide Survey. Journal of the Medical Library Association (JMLA), 93(4), October 2005, pp. 431-439. Retrieved August 5, 2006

114 from http://www.pubmedcentral.nih.gov/picrender.fcgi?artid=1250318 &blobtype=pdf Krueger, Richard A. Casey, Mary Anne. (2000). “Focus Group: A Practical Guide For Applied Research.” Thousand Oaks, California : Sage Publications. Morgan, David L. (1998) “The Focus Group Guidebook: Focus Group Kit 1.” Thousand Oaks, California: Sage Publications. Pradesh, Andra. (2006). “The Aandhra Pradesh School Health Project (APSHP).” Retrieved May 29, 2006, from http://www.schoolsandhealth.org/case%20histories /Andhra%20pradesh.htm. Sharma, Manoj. (2005). “Health Education In India: A strengths, Weakness, Opportunities, and Threats (SWOT) Analysis” The International Electronic Journal of Health Education, 2005; 8: 81- 86. 81.. Retrieved May 29, 2006, from http://www.aahperd.org/iejhe/2005/sharma.pdf

ภาคผนวก

116

ภาคผนวก ก แบบฟอรมเก็บขอมูลผูรวมวิจัยและกรอบคําถามการทํากลุมแบบโฟกัส

117

แบบฟอรมเก็บขอมูลผูเขารวมวิจัย และกรอบคําถามการทํากลุมแบบโฟกัส สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูรวมวิจัย 1. ชื่อ-สกุล ผูใหสัมภาษณ (ระบุคํานําหนา) ..................................................................... อายุ............ ป ระดับการศึกษาขั้นสูงสุด .............................................................................. 2. ที่อยูปจจุบัน ………………………………………………………………………………. ระยะเวลาที่อยูอาศัยโดยประมาณ.................................. ป (ตองไมนอยกวา 1 ป ) 3. สถานภาพในครัวเรือน ( ) หัวหนาครัวเรือน ( ) คูสมรสหัวหนาครัวเรือน ( ) อื่น ๆ ระบุ ................................................... 4 จํานวนสมาชิกในครัวเรือนที่มีอายุต่ํากวา 14 ป ( ) มี จํานวน .........คน ( ) ไมมี 5. จํานวนสมาชิกที่เคยปวยดวยโรคไขเลือดออก ( ) มี จํานวน……….คน ระบุปท ี่ ปวย............................................. ( ) ไมมี 6. ปจจุบันนี้เปนหรือเคยเปนในตําแหนงตาง ๆเหลานี้หรือไม (กํานัน ผูใหญบาน ประธาน หมูบาน ครู/อาจารย อาสาสมัครสาธารณสุข สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล พระสงฆ / ผูนําทาง ศาสนาอื่น ๆ แพทยประจําตําบล ผูทรงคุณวุฒิประจําหมูบาน และอาสาสมัครของหนวยงานของ ราชการ) 6.1 ( ) เปน ระบุตําแหนง ......................................................................... ระยะเวลาดํารง ตําแหนง ถึงปจจุบัน .................... ป 6.2 ( ) เคยเปน ระบุตําแหนง....................................................................... ระยะเวลาที่ดํารง ตําแหนง ระหวาง ป พ.ศ. ............................................ ถึง ป พ.ศ. ....................................................... 6.3 ในรอบ 1 ปที่ผานมาเคยเขารับการอบรมความรูเรื่องโรคไขเลือดออก หรือไม ( ) เคย จํานวน ..........วัน หนวยราชการที่จัด (ระบุ)..................................................... ( ) ไมเคย 6.4 ( ) ไมเคยเปน

118

สวนที่ 2 กรอบคําถามสําหรับการทํากลุมแบบโฟกัส 1. ทานเคยไดยินไดฟงเรื่องราวเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก มาแลว ไมวาจะจากที่ใด ๆ ก็ตาม ทานรูมาวาอยางไรบาง จากแหลงใดบาง 2. ทานคิดวา โรคไขเลือดออก เปนโรคที่มีอาการรุนแรง หรือไม และถาเห็นวามีอาการ รุนแรง จะอยูในระดับใด เชน รุนแรงนอย ปานกลาง มาก และเพราะอะไรจึงคิดเชนนั้น 3. ทานคิดวาบุคคลในครอบครัวของทาน มีความเสี่ยงที่จะปวยเปนโรคไขเลือดออก หรือไม และอะไรที่ทานคิดวา นาจะทําใหคนในครอบครัวทานเสี่ยงตอการปวยเปน โรคไขเลือดออก 4. ทาน หรือ ชุมชนของทานไดมีการปองกันโรคไขเลือดออกอยางไรบาง 5. หากทานมีความสนใจที่จะอยากรูเรื่องราวเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกเพิ่มเติม ทานคิดวา ทานจะหาความรูจากใคร หรือแหลงใดบาง

119

ภาคผนวก ข แบบสัมภาษณแบบเจาะลึกรายบุคคล

120

แบบสัมภาษณแบบเจาะลึกรายบุคคล ชื่อสถานีอนามัย............................................ประเภท หมูบานรับผิดชอบ ( )เสี่ยงต่ํา ( ) ปานกลาง ( ) สูง 1. ขอมูลทั่วไป 1.1 ชื่อ-สกุล........................................................อายุ...............ป 1.2 ตําแหนง....................................... 1.3 ประสบการทํางาน..............ป 1.4 ระดับการศึกษา.................................................................. 2. กรอบคําถาม 2.1 ขอมูลทั่วไปของหมูบานรับผิดชอบ ( ประชากร ระยะทาง จํานวนหลังคาเรือน ระดับ การศึกษาของประชาชน ระดับรายไดประชาชน อาชีพหลัก อาชีพรอง) ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... 2.2 กิจกรรมที่ดําเนินการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก ( การใหความรู การปองกัน การ ติดตาม ควบคุมกํากับ การควบคุมโรค การประสานงานกับหนวยงานอื่น ๆ) .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 2.3 สื่อสุขศึกษาและการกระจายสารสนเทศ (ประเภทของสือ่ เครื่องมือกระจายสารสนเทศ วิธีการกระจายสารสนเทศ การไดรับการสนับสนุน ) ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................... 2.4 ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออก ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................. ผูสัมภาษณ............................................................. วัน/เดือน/ป ที่สัมภาษณ...................................

121

ภาคผนวก ค แบบฟอรมการวิเคราะหเนื้อหาจากการทํากลุมแบบโฟกัส

122

แบบฟอรมวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) จากการทํากลุมแบบโฟกัส KWIC (Key-Word-In-Context) .................................................................................. กลุมหมูบาน.......................................................................................................... 1 คํา.................. ผูตอบ รายละเอียดคําตอบ สรุปความถี่ของคํา..........................ครั้ง 2. คํา.................. ผูตอบ รายละเอียดคําตอบ ตัวอยาง KWIC: แหลงสารสนเทศ (ประเภทแหลงสารสนเทศ (บุคคล , สื่อสารมวลชน,สื่อสิ่งพิมพ),ความสําคัญของ แหลง , บทบาทของแหลงสารสนเทศ , สนเทศที่ไดจากแหลง (รูปแบบที่ไดรับ,เนื้อหา,ความถี่ในการไดรับ) ,ประสิทธิภาพในการใหสารสนเทศจําแนกตามแหลง,แหลงที่ประชาชนแสวงหา) กลุมที่ 1 หมูบานที่ไมมีผูปวยเปนโรคไขเลือดออก ในรอบ 1 ปที่ผานมา (หมูบานเสี่ยงต่ํา)

1. “หมออนามัย” 6. ผต.1: “วิทยุ ก็พูด โทรทัศน ก็พูด และ ทาง อนามัย ก็แนะนําใหฟงวา ปองกันอยางไร ทานก็บอกวา ใหทาง อสม.(อาสาสมัครสาธารณสุข) ไปแนะนํายุงลาย (ควบคุมยุงลาย)และเตรียมลูกน้ํา (กําจัดลูกน้ํา) และเอา ทรายอะเบทไปใสให แนะนําลูกบานใหลางโองและใสทรายอะเบท และเมื่อครบสามเดือนแลว พวก อสม. เรา ก็เอาไปใสใหใหม แนะวิธีการลางโอง แนะนําเวลานอนเวลากลางวันก็ใหกางมุง เพราะยุงลายหากินเวลากลางวัน” 7. ผต.2: “ไดยินจากทางวิทยุ และคุณหมออนามัย ทานก็แนะนํา เพราะเปน อสม. (ผูตอบ ทําหนาที่เปน อสม.) ทานบอกใหไปกําจัดลูกน้ํา โดยใหไปบอกประชาชนในละแวกบานที่ตนเองรับผิดชอบ ใหทําความสะอาดอาง น้ําทุกวันศุกร เพื่อจะไดไมมีลูกน้ํา และยุงจะเกิดไมได (ไมมยี ุงเกิดขึ้น) นอกจากพวกที่อยูในปา ใหคว่ําภาชนะ ที่มีน้ําขัง” ....................................... “หมออนามัย : ความถี่ 12 ครั้ง

123

ภาคผนวก ง ตัวอยางการสัมภาษณกลุมแบบโฟกัส

124

ตัวอยางการสัมภาษณกลุม แบบโฟกัส แบบฟอรม โฟกัส 01 กลุมที่ 1 หมูบานที่ไมมีผูปวยเปนโรคไขเลือดออก ในรอบ 1 ปที่ผานมา (หมูบานเสีย่ งต่าํ ) สถานที่ สถานีอนามัยบานผัดกาดหญา ตําบลนาเลิง อําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด จํานวนผูเขารวมการสัมภาษณ 9 คน ประกอบดวย อาสาสมัครสาธารณสุข และผูนําหมูบาน และ ประชาชนทั่วไป คํายอ 1. ผถ. หมายถึง ผูถาม (ผูดําเนินรายการ) 2. ผต. หมายถึง ผูตอบ (ผูเขารวมกลุมสัมภาษณ) แบงยอยปน ผต.1 – ผต.10 หมายถึง ผูตอบ คนที่ 1 ถึง ผูตอบคนที่ 10 กติกาในการประชุม ใชเกมส “ของขวัญมหัศจรรย” ถาใครจะพูดจะตองจับและบีบที่หอของขวัญกอน และถาจะใหใครพูด ก็สงหอของขวัญใหคนนั้น เริ่มตน : ผูดําเนินรายการ กลาวแนะนําตัว แจงวัตถุประสงคในการสัมภาษณ และกติกาในการพูด และ ใหผูเขารวมสัมภาษณกลาวแนะนําตัวทีละคน เพื่อสรางความคุนเคย และ ซักซอมการตอบโดยเริ่มจาก คําถามแรก 1.ผถ. (ผูถาม:ผูดําเนินรายการ) : “คิดวาโรคไขเลือดออกปองกันไดหรือไม” 2. ผต. ( ผูตอบ) : ผูเขารวมการสัมภาษณทกุ คนตอบวา สามารถปองกันได และมีกลาวเสริม ดังนี้ 3. ผต.4 “ปองกันได ถารวมกันกําจัดลูกน้ํายุงลาย” 4. ผต.3 : “ได ดูจากในรอบ 2 ปที่ผานมา หมูบานนี้ไมมผี ูปวย” 5. ผถ.: “สรุปวาทุกคน มีความเห็นตรงกันวาโรคไขเลือดออก สามารถปองกันได คําถามตอไป คือ อยาก ถามวา สวนใหญเคยไดยินไดฟง เรื่องไขเลือดออก มาจากที่ไหนบาง ” 6. ผต.1: “วิทยุ ก็พูด โทรทัศน ก็พูด และ ทาง อนามัย ก็แนะนําใหฟง วา ปองกันอยางไร ทานก็บอกวา ใหทาง อสม.(อาสาสมัครสาธารณสุข) ไปแนะนํายุงลาย (ควบคุมยุงลาย)และเตรียมลูกน้ํา (กําจัดลูกน้ํา) และเอาทรายอะเบทไปใสให แนะนําลูกบานใหลางโองและใสทรายอะเบท และเมื่อครบสามเดือนแลว

125 พวก อสม. เราก็เอาไปใสใหใหม แนะวิธีการลางโอง แนะนําเวลานอนเวลากลางวันก็ใหกางมุง เพราะ ยุงลายหากินเวลากลางวัน” 7. ผต.2: “ไดยนิ จากทางวิทยุ และคุณหมออนามัย ทานก็แนะนํา เพราะเปน อสม. (ผูต อบ ทําหนาที่เปน อสม.) ทานบอกใหไปกําจัดลูกน้ํา โดยใหไปบอกประชาชนในละแวกบานที่ตนเองรับผิดชอบ ใหทํา ความสะอาดอางน้ําทุกวันศุกร เพื่อจะไดไมมีลูกน้ํา และยุงจะเกิดไมได (ไมมียงุ เกิดขึน้ ) นอกจากพวกที่ อยูในปา ใหคว่ําภาชนะที่มนี ้ําขัง” 8. ผต3: “จากขาวสารทางโทรทัศน ทางวิทยุ ทางแผนพับ” 9 ผถ: “สรุปไดวาอยางไร เทาที่จําได” 10. ผต.3: “ในนาม อสม. (ในฐานะที่ผตู อบ ทําหนาที่เปน อสม.) แนะนําชาวบานในละแวกบานที่ รับผิดชอบ ใหรณรงคทุกวันศุกร ทําความสะอาดโอง ทุกวันศุกรของเดือนใหสํารวจละแวกบานของ ตนเองรับผิดชอบ มันถึงจะอยูได (ไมมียงุ ลาย) ใสทรายอะเบทใหในโองน้ําของชาวบาน ถามีลกู น้ําก็ แนะนําคว่ําโองทิ้ง และแนะนําวิธีกําจัด” 11. ผต4: “จากโทรทัศน วิทยุ และจากสถานีอนามัย คุณหมอทาน บอกให ไปสํารวจละแวกบานที่ ตนเองรับผิดชอบทุกวันศุกร เอาทรายลง (ใสทรายอะเบทในโองน้าํ ) และนําชาวบานใหลางโอง ทําความ สะอาดบานเรือน” 12 . ผถ. : “เอาละ และขอถามคุณ..(ผต.5) ใหม วา ระหวางที่คุณหมออนามัย และ อสม. ใครเปนคนพูด ถึงโรคไขเลือดออก บอยที่สุด เทาที่เคยไดยนิ มา” 13. ผต.5: “คุณหมออนามัย” 14. ผถ. “สวนใหญ คุณหมออนามัย เนนย้ําเรื่องใหน ครับ” 15. ผต.5: “สวนใหญกเ็ นนย้าํ เรื่องไขเลือดออก เรื่องยุงลาย” 16. ผถ.: “หมออนามัย บอกให อสม. ไปทํา หรือ ให อสม. ไปบอกความรูแกชาวบาน” 17. ผต.5 “ ไปปฏิบัติดวย และ ไปบอกชาวบานดวย” 18. ผถ. “คุณหมออนามัยพาทํา หรือวา ฝากให อสม.ไปพาชาวบานทํา” 19. ผต.5“ ทําดวยกัน” 20. ผถ. : “ขอถามพี่..(ผต6) ซึ่งจากขอมูล พี่.... จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ถือวาสูงสุดกวาทุกคน อยากจะถามวา ไดความรูเรือ่ งไขเลือดออก จากที่ไหนบาง และเอาไปใชประโยชนอยางไรบาง” 21. ผต.6 : “รูมาจากตอนเรียน ชั้นประถม”

126 22. ผถ. : “และในตอนปจจุบันนี้ ไดยนิ มาจากไหนบาง ที่หมูบานของเรามีหอกระจายขาวมัย้ ครับ และ เคยไดยินเรื่องไขเลือดออกทางหอกระจายขาว บางมั้ยครับ” 23. ผต.6 : “ไดยินบาง และทางหมออนามัยทานก็ประชาสัมพันธทางหอกระจายขาวดวย” 24. ผถ. : “ ใครเปนคนพูดทางหอกระจายขาว” 25. ผต6 : “สวนมากเปนผูใหญบาน” 26. ผถ.: “ผูใหญบาน พูดเรื่องไขเลือดออก บอยมั้ย เดือนหนึ่ง กี่ครั้ง” 27. ผต6.: “ก็นาน ๆ ที” 28. ผต.4: “สวนมากจะจากการประชุม มีการประชุมรวมกันที่โรงเรียนระหวางผูใ หญบานทั้งสอง หมูบาน ครู และเจาหนาที่จากอนามัย มีขา วสารอะไรก็จะพูดกัน ชาวบานที่รวมประชุมก็จะไดรไู ดฟง วา มีอะไรเกิดขึ้นบาง” 29. ผต.4: “สวนมากก็ไดยนิ จาก อสม. ดวยกันนี้ละ” 30. ผถ.: “ถามไปที่ พี่..(ผต.8)วาไดยินเรื่องไขเลือดออก จากที่ไหนบาง บอยเทาไหร” 31. ผต8: “จากทางอําเภอก็ไดยิน เวลาเขาประชุม จาก อสม.” 32. ผถ.: “จากที่อื่น มีมั้ยครับ” 33. ผต.8: “ถาที่มีคนมาก ๆ ก็มีการพูดคุยสูกันฟง” 34. ผถ.: “ถามไปที่คุณ…(ผต.9) ครับ คําถามเดียวกันครับ แตเปนที่ที่เราไดยิน และไดฟงดวย” 35. ผต.9: “จากสื่อโทรทัศน จากทางสถานีอนามัย สาธารณสุข และจากการประชุม ใหญของชาวบาน รวมกันที่โรงเรียน ทานก็แนะนําใหชาวบานรวมกันกําจัดลูกน้ํา อาทิตยหนึ่งก็ใหคว่ําโอง นอนก็ใหกาง มุง” 36. ผถ. : “ไปที่คุณพี่.... ครับ” 37. ผต.10 : “จากขาวสารตาง ๆ จากทางสถานีอนามัย จากทางสถานีวิทยุและโทรทัศน แผนพับ” 38. ผถ. : “ตามที่พูด ๆ กัน แหลงขาวจะไดจากโทรทัศนเปนอันดับหนึ่ง ที่เห็นในโทรทัศนเปนภาพ โฆษณาอะไรบางครับ 39. ผต.9: “ภาพโฆษณาที่กดั หัวลาน ขนาดปดหัวเหลือแตหัวลานไวยุงมันยังกัดได” หมายเหตุ : ตรวจสอบแลวเปนการโฆษณาขายครีมบํารุงเสนผมสําหรับผูชาย แตใชภาพยุงลายกัดที่ บริเวณศรีษะที่ไมมีเสนผมของคน สรุปวา มีภาพยุงลายตัวหนึง่ และมีคําพูดวา ยุงลายเปนสาเหตุของ โรคไขเลือดออก แลวตอมามีภาพยุงตัวนัน้ พยายามจะกัดผูช ายคนหนึง่ ซึ่งนอนคลุมผาหมเพื่อปองกัน

127 ไมใหยุงลายกัด แตยงั เหลือบริเวณ ศีรษะ ซึ่งไมมีเสนผม เปน หยอม ๆ ยุงจึงไปกัดบริเวณ นั้นได และมี คําพูดโฆษณาวาใหไปหาซื้อครีมบํารุงเสนผมมาใช เพื่อใหมีเสนผมดก ขึ้น ยุงจะไดไมกัด 40. ผถ.: “เห็นแลวก็เกิดความสนุกสนาน เลยทําใหจําได อันดับสอง คือ วิทยุ อยากทราบวาฟงสถานี ไหนบาง เอ็ฟเอ็ม หรือ เอเอ็ม และรายการใดบาง” 41. ผต.2: เอ็ฟเอ็มก็ฟง เอเอ็ม ก็ฟง” 42. ผต.4 : “รายการรวมดวยชวยกัน” 43. ผต.2: “รายการสาธารณสุขพบประชาชน ที่เอา อสม. มาพูดใหฟง ตอนเชา ๆ ของสถานีกรมประมง รอยเอ็ด ที่บอกวา จังหวัดรอยเอ็ด มีอําเภอใดบางที่มีผูปวยดวยโรคไขเลือดออกแลว กีค่ น” 44. ผถ.: “อันดับที่สาม ไดยินมาจากไหน ครับ” 45. ผต.4 : “จากสถานีอนามัย ใหขาวสารไปบอก อสม. แจงละแวกบานที่รับผิดชอบ” 46. ผถ. : “แตแปลกที่ไมมีใครพูดถึงหอกระจายขาว” 47. ผต.4:“พูดคะ กอนที่จะประชุมหอกระจายขาวก็ออกกอน (แจงใหขาวสารในการประชุมใหทราบ กอนทางหอกระจายขาว)” 48. ผต.2 และ คนอื่น ๆ พูดพรอมกัน : “หอกระจายขาว นาน ๆทีจะประกาศ ทางหมออนามัยก็เอาเทป ไปเปด” 49. ผถ.: “เปนลักษณะประกาศเรียกคน แทนการตี กอรอ (ตีเกราะเพื่อเรียกคนประชุมในสมัยกอน) ใน สมัยกอน มากกวา เพราะไมมีการดําเนินการใหความรูทางหอกระจายขาว” 50. เสียงจากผูเขารวมประชุมตอบพรอมกัน : “ใช” 51. ผถ.: “ไมใชอะไรหรอก ผมเคยมีประสบการณ ตอนที่ผมเคยดูแลการใชหอกระจายขาวในหมูบาน ไดไปสํารวจหอกระจายขาวตามหมูบานตาง ๆ สวนใหญ หอกระจายขาวจะตั้งที่บา นผูใหญบาน บาง หมูบาน เมียผูใ หญบานบอกวา หอกระจายขาวทําใหเปลืองไฟ ไมเปดให ไมมีกุญแจก็ไมไดเปด ไมรูวา ที่ หมูบานของเราเปนอยางนี้มยั้ ” 52. ผต.3: “ก็คงจะเปลืองไฟที่บอก นั้นละ” 53. เสียงจากที่ประชุม : “ไมหรอก บางครัง้ ผูใหญบานก็ไมอยู จึงไมคอยจะไดเปด” 54. ผต.4: “เคยขอมาลงที่ สถานีอนามัย(ขอหอกระจายขาว) ให อสม. รับผิดชอบ เผื่อวามีขาวสารอะไร ก็ให อสม.ผลัดเวรกันไปพูด ก็ไมได ผูใหญบานบอกวา ไมมีงบให” 55. ผถ. : “ที่ผูใหญบานไดมา ไดมาในงบอะไรครับ”

128 56. ผต.3 + ผต.4 : “งบ สส.” 57 ผถ. : “เปนของหมูบานใชมั้ย” 58. ที่ประชุมตอบ : “ใช” 59. ผถ. : “แลวที่จะขอหอกระจายขาวมาติดตั้งเปนของกลุม อสม. เปนไปได หรือไม” 60. ผต.3 : “คงจะไมได แตทุกวันนี้ สวนใหญก็มแี ต พวก อสม.นี่แหละที่ไปพูดหอกระจายขาว แตก็มี คนฟงบาง ไมฟงบาง” 61. ผต.4 : “สู อสม.ไปบอกตอแกประชาชนเองในละแวกบานไมได จะดีกวา ” 62. ที่ประชุม : “ พวกเ อสม. จะสื่อสารโดยตรงกับชาวบานในละแวกบานเลย อาทิตยหนึ่ง พวก อสม. ก็จะชวยกันกําจัดในละแวกบาน และแตละเดือนทุกวันที่ 19 จะมีการสุมตรวจ เปลี่ยนละแวกบาน กันตรวจ” 63. ผถ. : “ใครพาทําครับ” 64. ผต.4 : “หมออนามัย และพวก อสม. ก็จะแบงกันออกตรวจ” 65. ผถ. : “มีเฉพาะ อสม. หรือ มีโรงเรียน (ครูและนักเรียน)ออกมารวมดวยมัย้ ครับ” 66. ผต.3 : “ไมคะ มีแตพวก อสม.นี่แหละ ที่ออกไปพนยุง ไปคว่ําโอง ไปสํารวจ” 67. ผต.4 : “โรงเรียนก็มีบางแตเปนการออกรณรงครวมกัน อสม. ไปสํารวจแลว ก็เอามาคํานวณคา บีไอ (BI) , เอชไอ(HI) วา ละแวกบานใด มีคามาก ก็จะนัดวันกันไปพนยา(พนสารเคมีกาํ จัดยุงลาย)” 68. ผถ. : “ที่วา คํานวณคา บีไอ , เอชไอ อสม.ทุกคน ทําเปนใชมั้ย” 69. ผต.4 : “ไมคะ บางคน เขามาเปน อสม. ใหม ก็ทําไมเปน” 70 ผต.3 + ผต.2 : “คนที่ทําไมเปน ก็สํารวจเฉย ๆ แลวเอาใหนอง..ผต.4 คํานวณให” 71. ผถ. : “มีประมาณกี่คนทีท่ ําเปน” 72 ผต.4 : “ อสม. หมูบานนีม้ ีทั้งหมด 12 คน ทําเปน ประมาณ 6-7 คน” 73 ผถ: “ก็สรุปวา ขอแตกตางระหวาง หมออนามัย กับ อสม. คือ อสม. จะเนนการปฏิบตั ิ โดยมี เจาหนาที่วางแผน บริหารจัดการให และ อสม. เองก็มีการชวยเหลือกัน ก็ถือวาสุดยอด ขอตอไปอยากจะ ทราบวา โรคไขเลือดออก มีความรุนแรง เพียง ใด จากขอมูล ผูเขารวมประชุม คนหนึ่งที่เคยปวยเปน โรคไขเลือดออก คือ นองแชมป อยากจะถามนอง แชมปวา ตอนนัน้ มีอาการอยางไร” หมายเหตุ : นองแชมป เปนผูเขารวมประชุมที่ไมเขาเกณฑกลุมเปาหมาย” 74 แชมป : “จําไมไดครับ”

129 75. ผต.4 (ตอบแทน) : “ตอนนองแชมป ปวยตอนแรก นึกวาเปนไขธรรมดา ไปหาหมอ หมอวินจิ ฉัย ไมได และปลอยใหปว ยเปนอาทิตย และพาไปหาหมอ ……ที่คลินิค ในเมืองรอยเอ็ด จนหมอ…ดาวา ปลอยใหปว ยนาน จึงสงเขาโรงพยาบาล” 76 ผถ. : “แลวทานอื่น ๆ เคยมีคนในครัวเรือนปวยเปนไขเลือดออกมั้ยครับ ….. (ไมม)ี …คิดวา ไขเลือดออกทําใหถึงตายไดมั้ย … ( ที่ประชุมตอบ: “ตายได”) ….คิดวาตายเพราะอะไร” 77. ผต.1.: “เพราะผูปกครองเด็กไมคอยไดสนใจ ไมดูอาการเด็กวา ไขเปนอยางไร บางที่ก็วาเปน ธรรมดา บางทีก็ตัวรอน บางทีก็ตัวเย็น เลยนึกวาหายแลว ทําใหไปหาหมอชา” 78. ผต.9: “ไปหาหมอก็มแี ตบอกวาเปนไขเฉย ๆ เลยทําใหสงรักษาชา เอายาไปใหกนิ ก็ไมไดดูอาการ ของเด็ก” 79. ผต10. : “ไปหาหมออนามัยก็บอกเพียงวาดูอาการไปกอน .. และผูใหญก็ไมสังเกตดูอาการของเด็ก วาเปนอยางไร ถาคนที่เคยอบรมอยางพวกเรา (อสม.) ก็จะสังเกตวาอาการไดวา เชน ถามี อาการไขจะ เดี๋ยวเปน เดีย๋ วหาย และมีอาการอาเจียนดวย ก็จะไดรีบนําสงหมอ.. ก็เลยไดไปพูดแนะนําชาวบานใน การสังเกตอาการ เชน ถามผูป กครองเด็กดูวาเด็กมีอาการไขเปนอยางไร มีอาเจียน มัย้ ถามีก็ไดแนะนํา ใหรีบพาไปหาหมออนามัย เพื่อหมออนามัยจะไดรีบสง โรงพยาบาล ” 80. ผต.4 : “สวนมากเด็ก จะอยูกับ ปู กับ ยา ไมไดอยูกับพอ-แม , ปู- ยา ซึ่งแกเฒาแลวก็ไมรูจกั สาเหตุใด ๆ (ไมมีความรูเ กี่ยวกับโรคไขเลือดออก)” 81. ผต10 : “สวนมาก (อสม.) ก็จะไปถามอาการเอาเอง วา ลูกหลานเปนอยางไรบาง ถารูวาเปนมากก็ จะไดรีบใหคําแนะนํา” 82. ผถ : “สรุปวา อาการเลือดออกจะมีอาการไขนํามากอน ในตัว อสม. หลาย ๆ ทานก็จะแยกเปนไขเด็ก กับ ไขผูใหญ .. ไขเด็ก..อสม. ตามไปเยีย่ มเลยใชมั้ย…..(ผต.10: “ใช”) ...เมื่อกี้นี้ก็ไดยินบางทานพูดวา บางคนก็ไมสนใจ นิ่งนอนใจ ในที่นี้หมายความวาปลอยใหมีอาการไขนานเทาไร” 83.ผต.4 : “บางครั้งก็เปนอาทิตย (สัปดาห)” 84. ผต.1 : “ บางทีพอแมอาจจะเผลอลืม เพราะเด็กบางคนเปนไขกย็ ังวิง่ เลน ก็นึกวาหายแลว” 85. ผต.4 : “บางครั้งใหกินยาลดไขก็หาย ก็ไปวิ่งเลน” 86. ผถ. : “แสดงวาเด็กที่เปนไขจะไมคอยมีอาการซึม ยังไมซึม แตจะมีอาการไขมากอน” 87. ผต.10 : “จา.. ถาเด็กมันซวง (ไขลด) ก็จะไปวิ่งเลน เวลามันเปนมามันก็มานอน”

130 88. ผต.4 : “ทุกวันนี้ เวลาพบเด็ก เปนไขก็พยายามถามอยูเสมอวา อาเจียนบอยมัย้ เพราะกลัวจะเปน ไขเลือดออก” 89.ผต.10 : “ทุกวันนี้ก็ดีขนึ้ เวลาเด็กไปรักษาที่โรงพยาบาล หมอก็จะตรวจดูกอนวาเปนไขเลือดออกมั้ย โดยใชสายยางรัดแขนดู และใหคําแนะนําใหสังเกตดูอาการ และบอกวาถาไมหายก็ใหพามาใหม” 90. ผถ. : “ประเด็นที่อยากจะรูเพิ่มเติมคือ อาการไขมีไขสูงและไขต่ํา ประเด็นนี้ อสม.อยาง เรา ๆ นี้ พอจะแยกไดมั้ยวา ไขสงู นี้เปนอยางไร มีวิธีวัดหรือดูอยางไร ถึงเรียกวาไขสงู เพื่อจะไดบอกผูปกครอง เด็ก ไดถูกวาควรจะพาไปหาหมอ” 91. ผต.10 + ผต.1 + ผต.4 : “ตัวรอน เช็ดตัวไมลด คลําคลีงดูตัวเห็นวาตัวรอนมาก (เอามือวัดไข)บางคน ก็มีอาการชัก เด็ก บางคนเราก็ไมรูวาเปนไข ก็ใหไปโรงเรียน พอสาย ๆหนอย เด็กนอนตื่นขึ้นมา ก็มี อาการตัวรอนมาก และ ชักก็มี ตอนแรกก็ไมรูวาเด็กเปนไขเลือดออก แตตรวจดูประวัติแลววาเคยเปน” ( สรุปวา : ไขสูงลอยเฉียบพลัน บางคนจะมีอาการชักรวมดวย) 92. ผต.3 : “เดี๋ยวนี้ ไขเลือดออก ไมเปนแตในเด็ก ผูใหญก็เปนได” 93. ผถ. : “ครับ ทุกวันนี้เชื้อมันกลายพันธุได” 94. ผต.4 : “เหมือนกับที่พดู วา กอนนั้นยุงมันออกหากินเปนเวลา เฉพาะตอนเชา ถึง เที่ยง มันก็ไปนอน แตเดีย๋ วนี้ มันออกหากิน บายสามโมง จนถึง หาโมง บางตัวหากินจนถึงกลางคืนก็ไมนอน” 95. ผถ. : “คําถามตอไปครับ ทุกทานคิดวา คนที่อาศัยอยูในครัวเรือนของทาน ใครบางมีโอกาสปวยเปน ไขเลือดออก มากที่สุด เริ่มตนที่พี่.... อยากจะใหบอกวา ในครัวเรือน มี่กี่คน และใครมีโอกาส ปวยเปน ไขเลือดออก มากที่สุด” 96. ผต.10. : “ลูกสองคน อายุ 8 ป และ 12 ป มีโอกาสเสี่ยงมากกวา” 97 ผถ. : “ลูก สองคน ใครมีโอกาส เสี่ยงมากกวา กัน” 98. ผต.10. :คนอายุ 8 ป เพราะยังเล็ก ดูแลตนเองยังไมได บางครั้งไมรูวา ยุงกัดดวยซ้าํ ” 99. ผถ. “ตอไป คุณพี่..ผต.9” 100. ผต.9 : “ที่บานอยูดว ยกันสี่คน มีแตผูใหญ” 101. ผถ. : “คิดวา ผูใหญมีโอกาสเสี่ยงตอการปวย เปนไขเลือดออก มั้ย” 102. ผต.9. : “เสี่ยง คะ เพราะบางครั้งเราก็ไมสามารถปองกันยุงกัด ได แมวา บางครั้ง เปดพัดลมไลยุง หรือกางมุง ยุงก็ยังกัดได” 103. ผถ. : “คุณพี่..ผต.8 ครับ ที่บานอยูกนั กี่คนครับ”

131 104. ผต.8 : “ อยูกัน 5 คน” 105. ผถ. : “ตามขอมูล มีเด็กอายุ 7 ป และ 5 ป ที่บานดวย คิดวา เด็กสองคนนี้ใครมีโอกาสเสี่ยงตอการ ปวยเปนโรคไขเลือดออก มากกวากัน” 106. ผต.8. : “คนอายุ 5 ป เพราะเด็กมันดื้อ วิ่งเลนซุกซนที่อื่น ๆ และเขาปาบอย” 107. ผถ. : “เด็กนอนกลางวันมั้ย เวลานอนดูแลเด็กอยางไร กางมุงใหมั้ย” 108. ผต.8. : “นอน เปนบางวัน เวลานอนก็เปดพัดลมไลยุงให” 109. ผต.5. : “ที่บานอยูกนั 7 คน คนที่คดิ วาเสี่ยงกวาใครในบาน คือ ลูกคนสุดทอง เพราะยังเด็ก และ ดื้อ เขาไปในปา บอย” 110. ผถ. : “ผมสงสัยวา ที่วา เด็กเขาปา นี่ ไปทําอะไร ครับ” 111. ผต.5 : “เขาไปยิงกะปอมบาง ไปเก็บมะมวงบาง อะไรทํานองนี”้ 112. ผต.4 : “คนที่เสี่ยงที่สุดในบาน คือ ลูกอายุ 5 ป เพราะชอบไปวิ่งเลนซอนหากันในปามอนบอย” 113. ผต.3 : “อยูบานดวยกัน สี่คน หลานอายุ 7 ป เสีย่ งที่สุด แต ผูใ หญก็เสีย่ ง เหมือนกัน เพราะเขาไป เก็บใบมอนในสวนบอย บางครั้งยุงกัดก็ไมรูตัว” 114. ผต.2. : “ที่บานอยูดว ยกันสามคน ลูกก็เขาโรงเรียนมัธยมแลว แตเวลาวันเสาร-อาทิตย ก็ชอบหมก ตัวอยูใ นบาน ก็มีโอกาสเสี่ยงเหมือนกัน” 115. ผถ. : “คิดวาตอนทีเ่ ด็กอยูที่โรงเรียน มีโอกาสเสี่ยงตอการปวย มัย้ ” 116. ผต.2 : “ไมนาจะเสีย่ ง เพราะเด็กเดินเรียน” 117. ผต.1 : “ที่บานอยูดว ยกันเจ็ด คน คิดวาคนที่เสี่ยงทีส่ ุด คือลูกชายคนเล็ก เพราะวา ชวงปดเทอม เด็ก จะนอนดูโทรทัศนทั้งวัน แตก็เปดพัดลมไลยุง” 118. ผถ. : “ที่พูดมาสวนใหญ จะเห็นวาเด็กมีโอกาสเสี่ยงตอการปวย เมื่อตอนอยูที่บาน อยากจะทราบ ความคิดเห็นของคนที่มีลูกเรียนที่โรงเรียนประถมในหมูบาน ของเราวาตอนเด็กอยูทโี่ รงเรียน มีโอกาส เสี่ยงตอการปวยมั้ย” 119 ผต.10 : “คิดวาที่โรงเรียนก็มีโอกาสเสี่ยงเหมือนกัน เพราะในโรงเรียนไมคอยจะสนใจเรื่องน้ําขัง ทําใหเกิดยุงลายได ไมสนใจจะคว่ําโองน้ําที่มีลูกน้ํา และอีกอยางหนึ่ง หองเรียนก็มีแตหองทึบ ๆ ยิง่ เด็ก ชั้นอนุบาล ครูก็ไมไดสนใจดูแล คิดวาในหองเรียนก็มยี ุง เพราะบางครั้งไปที่โรงเรียนก็เห็นมียุงตาม หองเรียน” 120. ผถ. : “ที่โรงเรียนมีการปองกันยุงกัดเด็กอยางไร มีมุงลวดมั้ย”

132 121. ผต.10 : “ก็เปดพัดลมไลยุง แตไมมีมงุ ลวด เปดหนาตาง เพดานหองก็สูง เปดพัดลมติดเพดานก็ไล ยุงไมคอยจะได อีกอยางเด็กก็นอน ในหองก็มีมุมมีซอก เยอะ ยุงก็อาศัยตามซอกตูบาง” 122. ผถ. : “คนอื่น ๆ ที่มลี ูกเขาเรียนประถม มีประเด็นอื่น ๆ เกีย่ วกับความเสี่ยงในโรงเรียนมัย้ ครับ …………..เหมือน ๆ กัน นะครับ” 123. ผต.4 : “หองอนุบาล หลังหองน้ํา หองเก็บโตะ หองครัว ก็มียงุ เยอะ โดยเฉพาะหองอนุบาลจะมี บานหลังนอยในหอง ใหเด็กเขาไปเลน ก็จะมียุงหลบอยูตามชองตาง ๆในบานนอย ” 124. ผถ. : “ตามที่ฟง ๆ จับใจความไดวา ที่หองเรียนมีมุมมีซอกเยอะ นี่หมายถึง หองรกรุงรัง ทําใหมี ซอกมุม หรือ แปลนหองเปนอยางนั้น” 125. ผต.4 : “เกิดจากความรกรุงรัง” 126. ผต.10 : “การจัดหอง การเก็บสิ่งของไมเปนระเบียบ การจัดเก็บโตะเกาอี้ไมเปนระเบียบ ทําใหมีมุม มีซอกเยอะ” 127. ผต.3 : “ตามที่สังเกตดู หองเรียน บริเวณพืน้ หองจะสะอาด แตตามใตลิ้นชักโตะเรียนทีใ่ ชเก็บ หนังสือเรียน จะมียุงหลบอยูในซอกหนังสือที่อยูใตลิ้นชักโตะมาก” 128. ผถ. : “เห็นวามีการประชุมรวมกันระหวาง เจาหนาที่โรงเรียน อสม. และโรงเรียน ไมไดมีการ แนะนําใหกําจัดยุงเหรอครับ” 129. ผต.3 : “แนะนํา และโรงเรียนก็ทําบาง เวลา หมออนามัย และ อสม.ไปพาทํา” 130. ผต.10 : “ครูพานักเรียนออกรณรงค ในหมูบาน แตที่โรงเรียนไมคอยสนใจ จะทํา” 131. ผถ. “ มีประเด็นหนึ่งที่นาสนใจ คือโอกาสเสี่ยง ในวัด เพราะที่ไปพบเห็นหลายวัด พบวา พระ ใน วัดมักจะไมกลา ฆายุง เลยอยากจะทราบวาจะชวยกันแกไข ไดอยางไร” 132. ผต.3 : “พวก อสม. ก็พากันไปรณรงค กําจัดลูกน้าํ ยุงลาย ที่วดั ทุกวันศุกร และ สํารวจลูกน้าํ ยุงลาย เดือนละครั้ง” 133. ผต.10 : “ยุงที่วัดก็เยอะ แตไมมีคนกําจัด ตามหอง ตาง ๆในกุฏิพระ ก็มาก แตเวลาพวกเราไปกําจัด ทานก็ใหเขาไปทํา เอาทรายอะเบทไปใสในโองน้ํา ให ไปพนยา ทานก็ใหไปพน นาน ๆ ที ครั้งหนึ่ง” 134. ผต.3 : “กุฏิพระ ในวัดจะเปนแบบสมัยเกา ทําใหทบึ ติดมุงลวดไมได เลยทําใหมียุงเยอะ อีกอยาง พระ – เณร ก็ไมกางมุงนอน พระก็จะปกกลดนอน ทําใหยุงเขาไปหลบในกลดได อีกอยาง ในวัด ก็มีปา หญามาก”

133 135. ผถ. : “ตามที่ทุกทานเลามานี่ คือสิง่ ที่ทุกทานไดรบั รูเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก ไมวา ความรุนแรง หรือ สามารถบอกไดวาที่ใด นาจะเปนที่เสี่ยงตอการเปนไขเลือดออก และใครบางที่เสี่ยงตอการเปน ไขเลือดออก ทีนี้ถาพวกเราอยากจะไดความรูใหม ๆ เกี่ยวกับโรคไขเลือดออก อยางเชน เทาที่ผมเรียนมา ทราบวา ในตัวยุงไมมีเชื้อไขเลือดออก เวนแตวา คนใดคนหนึ่งปวยเปนไขเลือดออก และเมื่อยุงตัวใดไป กัดผูปว ย ถึงจะมีเชื้อไขเลือดออก ในตัว และไปกัดคนอืน่ ๆ ถึงจะปลอยเชื้อไปยังคนอื่น ๆ ซึ่งความรู เหลา นี้ ถาทานอยากจะไดเพิ่มเติม อยากจะทราบวา จะมีวิธีการหาความรูเหลานั้น โดยวิธีใด หรือ ไป ถามใคร และอยากรูเรื่องใดบาง ” 136. ผต.1 : “อยากจะรูกับ หัวหนาฝายสาธารณสุข (หมออนามัย)” 137. ผต.2: “ถา (หมออนามัย) รูวามีใคร(ในหมูบาน) เปนไขเลือดออก ก็อยากจะใหแจงใหพวกเราทันที 138 ผต.3 : “เหมือนกัน ถาหมออนามัยรูว าใครปวยก็อยากจะใหรีบบอก อสม. เพื่อที่จะไปชวยกําจัดยุง” 139. ผต.4: “อยากจะให (หมออนามัย) แจงขาว ไปยังโรงเรียน กอน เพราะอยูก ับเด็ก ตอมาก็คือ ผูใหญบาน เพือ่ จะไดประกาศทางหอกระจายขาว ใหลูกบานไดรับทราบ” 140. ผต.5: “เหมือนกัน” 141. ผต.6 : “ ก็คลาย ๆ กัน แตพวกที่ใหขอ มูลที่แนนอน ที่สุด คือ หมออนามัย และทุกคนควรจะรูเพื่อ จะไดปองกันตนเอง” 142. ผต.8 : “อยากรูโดยตรงกับคุณหมอ (หมออนามัย) นอกนั้นก็จากทางโรงเรียน ทางหอกระจายขาว ในหมูบาน” 143. ผต.9 : “ทาง อนามัย และเมื่อมีขาวการปวย หมอก็จะแจงตอ อสม. เพื่อจะได กําจัด” 144. ผต.10 : “อยากจะใหทาง โรงพยาบาล หรือ อนามัย แจงขาวการปวย แก ทางหมูบาน หรือ ทาง โรงเรียน เพื่อจะได ประสานกันหาทางแกไข ตอไป” 145. ผถ. : “ จากประเด็นนี้ทําใหรูวา แหลงความรูไขเลือดออก ที่อยากรูและนาเชือ่ ถือที่สุด คือ หมอ อนามัย” ผูดาํ เนินรายการ ไดพดู คุยใหความรูเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก และอื่น ๆ และ กลาวขอบคุณ ผูเขารวม ประชุม ปดการประชุม

134

ภาคผนวก จ ตัวอยางการสัมภาษณแบบเจาะลึกรายบุคคล

135

ตัวอยางการสัมภาษณแบบเจาะลึกรายบุคคล แบบฟอรม สภ 01 หมูบานเสี่ยงต่าํ ( ผต.1 = เจาหนาที่สถานีอนามัย ผูปฏิบัติงาน , ผถ = ผูทําการสัมภาษณ (ผูว ิจยั ) 1.ผถ.: ขอทราบขอมูลทั่วไปของหมูบานและระยะทางหางจากอําเภอ 2.ผต. :หลังคารือน 104 หลัง ประชากร 695 คน หางจากอําเภอ ประมาณ 7 กิโลเมตร 3.ผถ : สวนใหญประชาชนทําอาชีพอะไร 4.ผต. : ทํานา 5.ผถ: นอกฤดูทํานาทําอะไร 6.ผต. : ที่นี่ทํานาปละ 2 ครั้ง นอกจากทํานา จะปลูกหมอนเลี้ยงไหม ปลูกผัก 7.ผถ :ประชาชนที่นี่ประกอบอาชีพขาราชการมากใหม 8.ผต.: มีบางแตไปรับราชการที่อื่น เชาไป เย็นกลับ 9.ผถ: วัยแรงงานทํางานที่นี่ หรือที่อื่น 10.ผต.: สวนใหญทํางานตางจังหวัด พวกทีไ่ ปสวนใหญจะจบปริญญาตรี ไปทํางานออฟฟต หรือไป เปนขาราชการตางถิ่น 11.ผถ.:การศึกษาสวนใหญจะอยูในระดับใด 12.ผต.: จบชั้น ม.3 ที่นี่ บางสวนก็จะไปเรียนตอที่อื่น จนจบปริญญาตรี ก็จะไปทํางาน สํานักงาน หรือ ไปเปนขาราชการที่อื่น 13.ผถ : ที่นี่มหี อกระจายขาวกี่แหง 14.ผต: 3 แหง มีที่วัด บานผูใ หญบาน โรงเรียน 15.ผถ. : ทั้ง 3 แหงมีตารางการกระจายเสียงเปนประจําหรือไม 16. ผต. : มีเฉพาะที่บานผูใหญบาน 17 ผถ.: กระจายเสียงชวงใหน 18. ผต. : ประมาณ ตี 5 ครึ่ง ถึง 6 โมงเชา ถาเปดเชากวานี้จะรบกวนพระเวลาทําวัด 19. ผถ. : เนื้อหาที่กระจายเสียงสวนใหญเปนอะไร

136 20. ผต. : ประกาศขาวของสวนราชการตาง ๆที่สงไปให หรือบางครั้งก็เปดเทปที่สงไปให ในสวนของ สถานีอนามัย จะสงประกาศ หรือ เทปใหไปเปด ในชวงรณรงคเรื่องตางๆ 21. ผถ. : แลวเรื่องไขเลือดออก ไดใหกระจายเสียงชวงใด 22. ผต. : โรคไขเลือดออกจะใหประชาสัมพันธตลอดป แตถาเปนโรคเลปโต จะประชาสัมพันธชวง หนาฝน 23. ผถ: มีที่ปดโปสเตอรที่ไหนบาง 24. ผต. ที่บานผูใหญบานและโรงเรียน 25 ผถ.: แลวโปสเตอรโรคไขเลือดออกที่แจกใหสวนใหญจะนําไปปดที่ไหน 26. ผต. ที่ศูนยขอมูลบานประธาน อสม. บานผูใหญบาน และที่โรงเรียน โดยเฉพาะโรงเรียนจะมาเอา โปสเตอรบอย ไปจัดบอรดทีโ่ รงเรียน และที่โรงเรียนก็มหี องสมุดตางหาก เปดใหชาวบานไปใชได เวลาไดหนังสือเกี่ยวกับโรคไขเลือดออก ก็จะเอาไปไวที่หองสมุด ใหคนไดอาน บางทีก็เปนตําราเรียนที่ เกี่ยวกับไขเลือดออก 27.ผถ. : ในสวนของเจาหนาที่ในสถานีอนามัย ในเรื่องการปองกันโรคไขเลือดออก ทําอะไรบางทีเ่ ปน หลัก 28. ผต.: .ใหความรู 29. ผถ. : ใหอยางไร 30. ผต.: .ใหความรูแก อสม. และทีมผูนําในหมูบานกอน เมื่อเขามีความรูแลวจึงใหไปพูดคุยกับ ประชาชนในละแวกบาน 31. ผถ. : ที่ไดสัมภาษณ อสม. ทราบวา หมออนามัยไดออกใหความรูรวมกับ อสม. ดวย อยากทราบวา ออกไปชวงใด มีเหตุการณผิดปกติอะไร หรือวาเปนแผนปกติประจําเดือนที่ตองออกไป 32. ผต.: เปนแผนปกติที่ตองออกไปประจําเดือน เชนการรณรงคกําจัดลูกน้ําของ อสม. ประจําเดือน 33. ผถ. : ออกไปทุกเดือนมั้ย 34. ผต. : ทุกเดือน เพราะตามที่ให อสม. สํารวจและกําจัดลูกน้ําประจําเดือน อสม.จะบันทึกหมายเหตุวา มีบานหลังใดบางที่ไมใหความรวมมือ เมื่อรูแลว เจาหนาที่สถานีอนามัยจะลงพืน้ ที่ในบานที่ไมใหความ รวมมือ ไปใหความรู ไปสอบถามถึงสาเหตุที่ไมใหความรวมมือ และสอบถามวิธีที่เขาเห็นวาจะปองกัน ไมใหมยี ุงในบานเขาได ใหเขารับรองวาจะไมใหมียุงเกิดขึ้นถาไมใหความรวมมือตามวิธีที่ อสม. แนะนําหรือทําให

137 35.ผต.: โดยสรุป ในชวงตนเดือนจะให อสม.ไปดําเนินการสํารวจกอน และสงแบบสํารวจไมเกิน วันที่ 5 หลังจากเรารูวามีบานหลังใดที่ทํายาก ก็จะลงพื้นที่เฉพาะหลังที่ทํายาก สวนที่ทํางายก็ปลอยใหเปน หนาที่ของ อสม. 36. ผถ. : ชวงที่ อสม. และเจาหนาที่อนามัย ออกไป สํารวจ ไปใสทรายอะเบท เจาของบานอยูหรือไม 37. ผต. : อยู เพราะ เมื่อพวกเราใสทรายอะเบทแลว ก็จะใหเจาของบานเซ็นชื่อรับทราบดวย วาไดใสทรายอะเบทใหแลวในโองใบไหนบาง เพราะวา เมื่อปที่ผานมามีปญหาวา เมื่อเราใส ทรายอะเบทใหแลว พอเรากลับมาเจาของบานก็เอาทรายอะเบททีใ่ สใหทิ้ง เวลามีปญ  หาขึ้นมาก็บอกวา ไมไดรับทรายอะเบท เราจึงแกปญหาโดยทําทะเบียนคุม และใหเจาของบานเซ็นชื่อรับทรายอะเบท 38. ผถ.: เวลาใสทรายอะเบทใหชาวบาน ไดบอกคุณสมบัติและวิธีการใช หรือ อายุการใชงานหรือไม 39. ผต. : บอก เราบอกวาทรายอะเบททีใ่ สใหจะหมดอายุวันใด เวลาลางโองถายังไมถึงวันหมดอายุ อยาพึ่งทิ้ง และถาถึงวันหมดอายุพวกเราจะมาเปลี่ยนใหใหม 40. ผถ. : ชาวบานมีการตอตานหรือไม เวลาเราไปใสทรายอะเบทให 41. ผต. ก็มีปญหาบาง สวนใหญจะเปนโองแดงใหญที่เก็บน้ําไวกนิ ชาวบานจะไมยอมใหใส ทรายอะเบท ก็เลยแกปญหาโดยบอกวาถาไมใหใสทราย ชาวบานจะตองหาฝาโอง หรือ ผามุงมาปดให มิดชิดอยาใหยงุ ไปไขใสได ถายังไมมีฝาปด พวกราก็จําเปนจะตองใสทรายอะเบทให พอเดือนตอมาถา พบวายังไมมีฝาปดโอง พวกเราก็ใสทรายอะเบทให 42. ผต. : มาตรการตอมาถาไมยอม เราก็สง ให ผูใหญบานดําเนินการปรับ ถาหลังคาเรือนใดตรวจพบวา มีลูกน้ํา ผูใหญบานก็จะปรับเงินหลังละ 5 บาท 46. ผถ.: เวลามีผูปวยที่เปนไข สงสัยวาจะปวยเปนไขเลือดออก มาตรวจที่สถานีอนามัย สวนใหญแลว ไดใหคําแนะนําอะไรบาง 47. ผต.: อธิบายเรื่องอาการใหฟง กอนอืน่ เราก็เจาะเลือดวัดฮีมาโตคริต เปนไกดลายนกอน หลังจากนั้น ก็ทําการรักษาตามอาการ … และอธิบายเรือ่ งสาเหตุใหฟง ถาไมเชื่อก็ใหไปดูรอบๆบริเวณบานวามียุง มากมั้ย 48. ผถ.: ตามที่ไปสัมภาษณชาวบานทั้ง 3 หมูบาน ชาวบานก็ทราบดีวา โรคไขเลือดออกเกิดจากอะไร และ ชาวบานก็ทําการปองกันตามที่หมออนามัยแนะนํา แตก็สงสัยวาทําไมมันถึงมียุง ..พวกเขาบอกวา ยุงมันอยูใ นรองระบายน้ํา ..ทานเห็นวาจริงมั้ย ผมวาตามหลักการที่เรียนมายุงลายมันจะไมอยูในน้ําครํา 49. ผต. : อยู…  ปจจุบันนี้นา้ํ สกปรกยุงลายก็อยู ไมธรรมดา ตามที่เห็นน้ําขุน ๆ ไมนามียุง มันก็ยงั มี

138 50. ผต. : มีจริง ๆ ไปดูมาแลว น้ําในทอน้ําทิ้ง ยังมียุง 51. ผถ.: แลวไดรับเอกสาร แผนพับเกีย่ วกับโรคไขเลือดออก จาก สสอ. (สํานักงานสาธาณสุขอําเภอ) มากมั้ย 52. ผต.: ก็ไมมาก ..และไดไปทําสําเนาเพิม่ ไดมาก็แจก อสม. บางแตตองใหไดครบทุกคน และทีเ่ หลือก็ แจกใหคนไขบาง จะเอาเอกสารที่ไดมาไปวางที่มุมประชาสัมพันธดา นหนา ใหคนไขหยิบอานและถือ กลับบานดวย… 53. ผถ. : สรุปวา สื่อเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกที่มี ก็เปนพวกแผนพับ 54. ผต. : ใชพวกแผนพับธรรมดา แตที่ อสม.มีความรู ก็เพราะสวนใหญมีพื้นฐานการศึกษาคอนขางดี เชน จบ ปวช. หรือ อยางต่ํา ม.6 พวกนี้จะเปนแกนหลักในการทํางาน 55. ผถ. : แลวพวกมวนเทปละ 56. ผต. : แจกผูใหญบาน 57. ผถ. : หมออนามัยไปพูดหอกระจายขาว มั้ย 58. ผต.: สวนใหญจะไมไปพูด เพราะกระจายเสียงตั้งแตเชา สวนใหญจะเปนผูใหญบานพูด และ บางครั้งก็จะเปนพวก อสม. ถามีปญหาที่ชาวบานถามมา หรือสงสัยอะไร อสม.ก็จะมาถามพวกเรา และ พวกเราก็ใหเอกสารไป พวกเขาก็จะเอาไปใหผูใหญบานประกาศตามเอกสารที่ไดรับมา 59. ผถ.: แลวพวกพนยุง พนตอนชวงใด 60. ผต.: พนเพื่อปองกันโรค เพราะที่นี่ไมมีผูปวยนานแลว 61. ผถ.: การทํางานของ อสม. เปนอยางไร 62. ผต.: ก็สนใจดี ถาเปนหญิงจะทํางานดี ที่หมูบานนนีม้ ีแต อสม.หญิง มี ชายคนเดียวเอาไวแบกเครื่อง พนยุง 63. ผถ. : รายไดของชาวบานเปนอยางไร 64. ผต.: รายไดดี ทํานาปละ 2 ครั้ง แตละคนมี ไรนามาก ขายขาวไดปละแสน ถึงสองแสน 65.ผถ.: เห็นวาที่นี่น้ําทวมบอย 66.ผต.: ทวมทุกป 67. ผถ. : แลวชาวบานอยูอยางไร 68. ผต. : ทวมเฉพาะทุงนา ในบริเวณหมูบา นไมทวม

139 69. ผถ.:ทาง อนามัยไดประสานงานเกีย่ วกับการปองกันโรคไขเลือดออกอยางไรบาง 70. ผต. : จัดอบรมใหความรูเ กี่ยวกับวิธีการปองกันโรค แก สมาชิก อบต. รวมทั้งประชุมแนะนําวิธีการ ดําเนินงานควบคุมโรคไขเลือดออก แก ผูอ ํานวยการโรงเรียน

140

141

142

140

ประวัติผูวิจัย ชื่อ วัน เดือน ปเกิด สถานที่เกิด ประวัติการศึกษา สถานที่ทํางาน ตําแหนง

นายเจริญ นิลสุ 23 ธันวาคม 2506 อําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด สศ.บ.(บริหารสาธารณสุข) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2533 ค.บ. (คอมพิวเตอรศึกษา) สถาบันราชภัฎมหาสารคาม พ.ศ. 2542 โรงพยาบาลเสลภูมิ อําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด นักวิชาการสาธารณสุข

Related Documents

Perceive Dhf
November 2019 32
Dhf Implementasi Dhf-1.docx
December 2019 39
Dhf New
October 2019 47
Dhf Lapsus.docx
April 2020 29
As We May Perceive
May 2020 13
Dhf - Copy.doc
December 2019 41