การพยาบาล ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009

  • Uploaded by: Dr.Sathaporn Kunnathum
  • 0
  • 0
  • May 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View การพยาบาล ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 as PDF for free.

More details

  • Words: 2,089
  • Pages: 78
โครงการอบรมฟื้นฟูวชิ าการสำาหรับพยาบาลเวชปฏิบต ั ิ 24 กรกฎาคม 2552

Pandemic (H1N1) 2009

เช้ือไข้หวัดใหญ่ Influenza virus Type A (พบในสัตว์และคน) Type B (พบในคน) Type C (พบในคน)

Hemagglutinin

เชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่

Neuraminidase

Hemagglutinin (H) มี 16 ชนิด Neuraminidase (N) มี 9 ชนิด

สถานการณ์ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ เอช1 เอ็น1

ผู้ป่วย (ณ วันที่ 6 ก.ค.52) ใน 136 ประเทศ 94,512 ราย เสียชีวิต 429 ราย (ทีม่ า : WHO)

สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ของไทย ข้อมูล ณ วันที่ 23 กรกฎาคม 2552

พบผู้ป่วยยืนยันการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ เอช1เอ็น1 ผู้ปว่ ยยืนยันรวม 6,676 ราย เสียชีวติ 44 ราย (คิดเป็นอัตราป่วยตายร้อยละ 0.45) สถานการณ์รายวัน ติดตามได้จากเว็บไซต์ กระทรวงสาธารณสุข www.moph.go.th

แผนที่แสดงจำานวนผู้ป่วย ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ (H1N1) รายจังหวัด ใน 69 จังหวัด (28 เมษายน - 9 กรกฎาคม 2552)

กลุ่มอายุของผู้ป่วยยืนยันจำาแนกตามวันเริ่มป่วย

ที่มา : สำานักระบาดวิทยา

มักพบผู้ป่วย ในกลุ่มอายุ 11-20 ปี รองลงมาได้แก่ กลุ่ม 610 ปี

ลักษณะของผู้ป่วยยืนยันท่ีเสียชีวิต

•จำำนวนผู้ป่วยยืนยันท่ีเสียชีวิต 44 รำย •เพศหญิง : เพศชำย 22 : 22 •อำยุระหว่ำง 4เดือน-91 ปี

กลุ่มเสี่ยงที่จะมีการระบาดของโรคในวงกว้าง บ้าน นักท่องเที่ยว

โรงเรียน

ค่ายทหาร เรือนจำา สำานักงาน โรงงาน

สถานที่สาธารณะ

สรุปสถานการณ์ H1N1 • ประเทศไทยอยู่ในระยะเริ่มต้นของการระบาด (1 เดือนเศษ) • การระบาดยังมีอกี หลายระลอก ต่อเนื่องไปถึงสิ้นปี • พื้นที่เสี่ยงต่อการระบาดในระยะนี้ ได้แก่ โรงเรียน สถานบันเทิง โรงงาน เรือนจำา ค่ายทหาร และที่ที่มีคนจำานวนมากมารวมกัน • มาตรการป้องกันควบคุมโรคที่เข้มแข็งของทุกภาคส่วน จะช่วยให้ระดับความรุนแรงของการระบาดน้อยลง

การติดต่อและอาการของโรค  เชื้อไวรัสอยู่ในเสมหะ นำ้ามูก นำ้าลาย  ระยะฟักตัว : 1-3 วัน (อาจยาวนานได้ถงึ 7 วัน)  ช่องทางติดต่อ - โดยการถูกผู้ป่วยไอจามรดโดยตรง - รับเชื้อทางอ้อมผ่านทางมือหรือสิ่งของเครื่องใช้ที่ปนเปื้อนเชื้อ เช่น ลูกบิดประตู ก๊อกนำ้า ราวบันได  ระยะแพร่เชื้อ : 1 วันก่อนปรากฏอาการ จนถึงวันที่ 7 หลังวันเริ่มป่วย  อาการ ใกล้เคียงกับไข้หวัดใหญ่ เช่น ไข้สูง ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ไอ เจ็บคอ อาจมีอาการอาเจียน ท้องเสีย และหากมีอาการรุนแรงจะมีอาการปอดอักเสบรุนแรง หอบ หายใจลำาบาก

เปรียบเทียบไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ A (H1N1) กับไข้หวัดใหญ่ธรรมดา (ตามฤดูกาล) ลักษณะ ระยะฟักตัว อาการ วิธีติดต่อ วิธีป้องกัน

วิธีรักษา

ไข้หวัดใหญ่ธรรมดำ

ไข้หวัดใหญ่ A (H1N1)

1-7 วัน (ส่วนใหญ่ 2-3 วัน)

เหมือนกัน

ไข้ ไอ น้ำำมูกไหล เจ็บคอ ปวดเม่ ือยตำมตัว บำงรำยมีอำกำรท้องเสียร่วมด้วย

เหมือนกัน

เช้ือในน้ำำมูก เสมหะ เข้ำร่ำงกำยทำงจมูก หรือปำก จำกมือท่ีเป้อ ื นเช้ือ หรือโดยทำงไอ จำมรดกันระยะใกล้ชิด (ประมำณ 1 เมตร) คนปกติ ล้ำงมือบ่อยๆ เล่ียงท่ีแออัด ผู้ป่วย ไอ จำม ใส่ผ้ำเช็ดหน้ำ หรือกระดำษทิชชู หรือใส่หน้ำกำกอนำมัย ล้ำงมือหลังไอ จำม และหลีกเล่ียงกำรคลุกคลีใกล้ชิดผูอ ้ ่ ืนระหว่ำงป่ วย ผู้ป่วยส่วนใหญ่ (90%) มีอำกำรน้อย หำยเองโดยไม่ต้องรักษำท่ี รพ. ผู้ป่วยส่วนน้อย (5-10%) อำจมีอำกำรมำก ควรให้แพทย์ตรวจ รักษำ แพทย์ให้ยำต้ำนไวรัสเฉพำะ ผูม ้ ีอำกำรรุนแรง หรือมีโรคประจำำตัว

เหมือนกัน เหมือนกัน

เหมือนกัน

17 มิย. 2552

ข้อเปรียบเทียบไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์เก่า-ใหม่ A/H1N1 • Influenza • แพร่ระบาด • อาการ • ภูมิคุ้มกันในคน • รักษา

ต้องระมัดระวัง H1N1 เก่า ไม่ใช้ยาต้านไวรัสพรำ่าเ พรือ่ Aนะจ๊ะ Seasonal

มิฉะนั้น เมื่อเชื้อดื้อยา ไข้หวัดใหญ่ (ตามปกติ) เราจะไม่มียารักษานะ

H1N1 ใหม่

A Pandemic กระจายเร็วกว่า เหมือนกัน (ข้อมูล ณ ปัจจุบนั )

มี (น้อย มาก)

ไม่มี

บางส่วนดือ้ ต่อ Oseltamivir

ไวต่อ Oseltamivir เริ่มพบการดือ้ ยาในเดนมาร์ก ญี่ปุ่น ฮ่องกง

• วัคซีน

มี (ประจำาปี)

ยังไม่มี (กำาลังผลิต)

ความรุนแรงของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุใ์ หม่ A/H1N1 ขึ้นกับ :1. การแพร่กระจาย ความรุนแรงของเชื้อไวรัส 2. ความแข็งแรง – อ่อนแอของประชากรในประเทศนั้น ๆ 3. ความสามารถของแต่ละประเทศในการป้องกัน-ดูแลรักษา

จำานวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ทั่วโลกและในประเทศไทยในแต่ละปี ตัวชีว้ัด Indicator

ทั่วโลก Global

ประเทศไทย Thailand

ผู้ป่วยทัง้หมด Total cases

1,000 ล้ำน (mill.)

3 – 4 ล้ำนคน (mill.)

ผู้ป่วยนอก ท่ี รพ. OPD cases

100 -200 ล้ำน (mill.)

900,000

ผู้ป่วยใน ท่ี รพ. IPD cases

3 – 5 ล้ำน (mill.)

36,000

ผู้เสียชีวิต* (คน) Deaths

250,000 - 500,000

มำกกว่ำ 320

17 มิย. 2552

Estimated number of annual influenza cases – Global vs Thailand

การตอบสนองต่อสถานการณ์ทั่วโลก (1)  องค์การอนามัยโลกเร่งประสานการผลิตวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ H1N1  ทั่วโลกมีการเตรียมพร้อม/ปฏิบัติตามแผนงานสำาหรับการร ะบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่  หลายประเทศออกประกาศแนะนำาหลีกเลี่ยงการเดินทางไปใ นประเทศที่เป็นแหล่งโรค และมีมาตรการคัดกรองผู้เดินทางระหว่างประเทศ  มีการเฝ้าระวังผูท้ ี่เดินทางเข้าประเทศอย่างใกล้ชิด บางแห่งมีการกักกันผูเ้ ดินทางจากพื้นที่ระบาดไว้ที่โรงแรม

การตอบสนองต่อสถานการณ์ทั่วโลก (2)  ประกาศหยุดราชการ/ห้ามการชุมนุม ในพื้นที่ระบาด  อพยพคนจากพื้นที่ระบาด  ลดเที่ยวบินไปยังพื้นที่ระบาด  สำารองยาต้านไวรัส (โอเซลทามิเวียร์) แจกจ่ายยา/อุปกรณ์ป้องกันให้ประชาชน  จำากัดการนำาเข้าสุกร/ผลิตภัณฑ์จากสุกร รวมทั้งบางแห่งทำาลายสุกร

นอกประเทศ

ในประเทศ

Phase 4

Phase 5,6

;

;

นอกประเทศ

ในประเทศ

Phase 4

Phase 5,6

;

ยุทธศาสตร์

;

ป้ องกัน เฝ้ าระวังโรคเข้ ชะลอการระบาด สกัดกัน ้ มข้น ค้นหาไว ช่วยเหลือ โรคเข้าประเท ควบคุมไม่ให้แ บรรเทาความเสียหา ศ พร่กระจาย ยและผลกระทบ

วิเคราะห์โรคและสถานการณ์ ไข้หวัดใหญ่ H1N1 จากข้อมูลล่าสุด

• กำรระบำดจะแพร่ต่อไปทุกประเทศ และจะกลำยเป็ นส่วนหน่ ึงของไข้หวัดใหญ่ตำมฤดูกำล (Seasonal influenza) ในปี ต่อๆไป ตำมธรรมชำติของไข้หวัดใหญ่ • สำำหรับประเทศไทย ตำมธรรมชำติของโรค กำรแพร่เช้ือจะขยำยต่อไปทัว่ประเทศ จะมีผป ู้ ่ วยในโรงเรียน โรงงำน ท่ท ี ำำงำน และชุมชน เพ่ิมขึ้นเป็ นระยะ • กำรระบำดในทุกจังหวัด จะเร่ม ิ ในเขตเมือง โดยเฉพำะในโรงเรียน • ความรุนแรงของโรค เทียบได้กบ ั ไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล หรือไข้หวัดใหญ่ธรรมดา (อัตราป่ วยตาย 0.1 -1%) ผู้เสียชีวต ิ ส่วนใหญ่มีโรคประจำาตัว • ผูป ้ ่ วยส่วนใหญ่ ( > 90%) หำยเองโดยไม่ต้องรักษำใน รพ. ผูป ้ ่ วย 5-10% ควรรักษำใน รพ. 7 ก.ค. 2552

3

ระยะปั จจุบน ั ระยะต่อมา (มิย.) ระยะแรก (ปลายเมย. – พค.)

2

1

9 ผู้เดินทำงท่ีติดเช้ือ แต่ยงั ไม่มีไข้ ผ่ำนเข้ำประเทศ

7 ก.ค. 2552

คาดการณ์สถานการณ์โรคในประเทศไทย ตัวชีว้ ัด

จำานวน

ผู้ติดเชื้อทั้งหมด ผู้ป่วยที่มีอาการ ผู้ป่วยนอก ที่ รพ. ผู้ป่วยใน ที่ รพ. ผู้เสียชีวิต* (คน) การเสียชีวต ิ หากได้รับการรักษาที่เ หมาะสม

6-30 ล้านคน 3-15 ล้านคน 600 ,000 - 3, 400, 00 0 คน 30, 000 - 130 ,0 00 คน ประมาณ 1, 200 คน ประมาณ 600 คน

*คาดการณ์ภายใต้ข้อมูลปัจจุบัน 10 ก.ค.52 อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามข้อมูลองค์ความรู้ใหม่

ครม. เห็นชอบ 10 กค. 2550

คณะรัฐมนตรี

คณะกรรมการอำานวยการป้องกั นและแก้ไขสถานการณ์ไข้หวัดน กและ การระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ ระบาดใหญ่ (รองนายกฯ)

แผนยุทธศาสตร์ป้องกัน แก้ไข และเตรียมพร้อมรับปัญหาโรคไข้หวัดนก และการระบาดใหญ่ของโรคไข้หวัดใหญ่ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2553)

โครงสร้างคณะกรรมการอำานวยการเตรียมความพร้อมป้องกันและค วบคุมแก้ไขสถานการณ์การระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ ในปัจจุบัน (รองนรม.พลตรีสนั่น ขจรประศาสน์ เป็นประธาน)

ภาคเอกชน

กระทรวงมหาดไทย (กรมป้องกันและบรรเ ทาสาธารณภัย)

นายกรัฐมนตรี

คณะกรรมการอำานวยการฯ (รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน)

ภาครัฐและรัฐวิสา หกิจที่เกี่ยวข้อง

กระทรวงสาธาร ณสุข

ประสานกับ องค์กรระห ว่างประเทศ / นานาชาติ WHO US CDC

….…

การเตรียมความพร้อมโดย ความร่วมมือพหุภาคี Multi-sector cooperation

ภาครัฐ ภาคเอกชน Private Public ภาคบริการพ้ืนฐาน (Essential services)

พลังงำน ไฟฟ้ ำ น้ำำประปำ ขนส่ง คมนำคม ส่ ือสำร / IT กำรเงิน / ธนำคำร รักษำควำมปลอดภัย 22 Aug 07

การเตรียมพร้อ ม รับการระบาดใ ด้านการ หญ่ แพทย์/เวชภัณฑ์ (Medical/Pharma.) ใช้หลายยุทธศา สตร์ ด้านสาธารณสุข/สังคม

ยาต้านไวรัส วัคซีน การดูแลผูป ้ ่ วย อุปกรณ์ป้องกัน ตัว ส่งเสริมอนามัยบุคคล จำากัดการเดินทาง แยกกักผูส ้ ัมผัสโรค จำากัดกิจกรรมทางสังค ม (Non-Pharmaceutical ) ให้สุขศึกษา ประชาสัมพันธ์ รักษาความมั่นคง / ด้านเศรษฐกิจและสังคม กฎหมาย จัดหาอาหารและน้ำาด่ ืม (Social and economic systems จ่ายพลังงาน เช้อ ื เพลิง - to keep the society running) บริการคมนาคมขนส่ง บริการส่ ือสารโทรคมน าคม จัดระบบการเงิน ธนาคาร Source: David Nabarro at APEC-HMM, Sydney 8 June 2007

ปฏิทน ิ กา ร ซ้อมแผน บนโต๊ะ

เมื่อรัฐบาลพร้อม ระดับประเทศ

8 มีค. 50 ระดับกระทรวง

ระดับกร ม ระดับจังหวัด

เริ่ม กค.. 49 เริ่ม มีนาคม 49 ทำาแล้วทุกจังหวัด

ไทยร่วมมือนานาชาติ เตรียมพร้อมรับการระบาดใหญ่ของไข้หวัดให ญ่ ทวิภาคี  ร่วมมือกับประเทศเพ่ ือนบ้ำน: ลำว พม่ำ กัมพูชำ เวียดนำม มำเลเซีย ภูมิภาค  ผ่ำนเวที ASEAN, APEC, ACMECS, ประเทศลุ่มแม่น้ำำโขง เป็ นต้น นานาชาติ  ผ่ำนเวที WHO, OIE, FAO, UNICEF เป็ นต้น

• เฝ้าระวังโรคและ แลก เปลี่ยนข้อมูล สถานการณ์ • ฝึกอบรมพัฒนาบุคลากร •APEC พัฒนาการตรวจชั นสูตร Health Ministers Meeting 2007,ณ Sydney • สนับ7-8สนุJune นเวชภั ฑ์ วัสดุ • ร่วมสอบสวนควบคุมโรค • ร่วมมือการซ้อมความพร้อ มระดับภูมิภาค เช่นAPEC, ASEAN, MBDS ACMECS FAO OIE

จำานวนผู้ป่วยในแต่ละวัน

เป้าหมายการจัดการปัญหาไข้หวัดใหญ่ H1N1 1

การระบาดใหญ่ : ไม่ได้ดำาเนินมาตรการใด

2 3

ชะลอการระบาด

ลดจำานวนผู้ป่วยท่ีมารพ. ลดจำานวนผู้ป่วยและ ผลกระทบด้านสุขภา พ

การระบาดใหญ่ : มีการดำาเนินมาตรการ

จำานวนวัน นับจากวันที่มผ ี ู้ป่วยรายแรก ที่มา : US CDC

เป้าหมายการจัดการปัญหาไข้หวัดใหญ่ H1N1 จำานวนผู้ป่วยในแต่ล ะวัน

การป้องกันและ ควบคุมโรค ช่วง เมย. – พค. ช่วย ชะลอการระบาดใน ประเทศประมาณ 6 สัปดาห์

หน่วยงานต่าง ๆ และประชาชน มีโอกาสเตรียม

หากทุกฝ่ าย ช่วยกัน ป้ องกันโรคค วบคุมการระ บาดให้อยู่ใน วงจำากัด

วัน นับตัง้แต่เร่ทุิมก มีผ ฝู่้ปา่วยรายแรก ยไม่ตระหนก

ประชาชนรู้วิธีป้องกันโรค โรงเรียนและธุรกิจปรับตัวรับได้ 17 มิย. 2552

เครื่องมือป้องกันควบคุมไข้หวัดใหญ่ (1) • กำรตรวจคัดกรองผู้เดินทำงระหว่ำงประเทศ โดยวัดไข้ ได้ผลน้อย และระยะนีไ้ม่มีควำมจำำเป็ น ไม่ต้องเน้น • ยำต้ำนไวรัสมีจำำกัด หำกใช้โดยไม่จำำเป็ นจะขำดแคลน ควรสงวนไว้สำำหรับกรณีจำำเป็ น • วัคซีน H1N1 ยังไม่มี วัคซีนสำำหรับ Seasonal flu ไม่ป้องกัน H1N1 แต่ชว่ ยลดภำระไข้หวัดใหญ่โดยรวม • มำตรกำรหลักคือ กำรส่งเสริมพฤติกรรมอนำมัย เน้นกำรล้ำงมือ

15 มิย. 2552

ปรับยุทธศาสตร์ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ (1) ในสถำนกำรณ์ปัจจุบัน ซ่ ึงโรคกำำลังแพร่กระจำยในประเทศ แต่มีควำมรุนแรงน้อย คล้ำยไข้หวัดใหญ่ธรรมดำ ยุทธศาสตร์หลัก คือ สร้างความเข้าใจของประชาชน ลดความตระหนก ชะลอและควบคุมการระบาดให้อยู่ ในระดับจำากัด เพ่ ือบรรเทาผลกระทบของการระบาด

15 มิย. 2552

ปรับยุทธศาสตร์ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ (1) การเฝ้ าระวังโรค  เน้นกำรค้นหำและสอบสวนกำรป่ วยเป็ นกลุ่ม  เก็บตัวอย่ำงส่งชันสูตรเฉพำะผู้ป่วยบำงรำย (ตำมข้อกำำหนด)  กำรรำยงำน  รำยงำนจำำนวนผูป ้ ่ วย H1N1 เป็ นตัวเลขรวม ไม่เน้นรำยบุคคล  รำยงำนรำยจังหวัด หรือ รำยกลุ่มกำรระบำด  รำยงำนเปรียบเทียบกับไข้หวัดใหญ่ตำมฤดู กำลเป็ น ครัง้ครำว เพ่ ือควำมเข้ำใจท่ีถูก17ต้มิอยง. 2552

ปรับยุทธศาสตร์ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ (2) การคัดกรองผู้เดินทางระหว่างประเทศ  คง Thermal scanner ไว้ (ไม่เน้น)  หำกพบผูเ้ ดินทำงท่ีมีไข้

 ตรวจอุณหภูมิซ้ำำ  ถ้ำอำกำรน้อย ให้คำำแนะนำำ แจกหน้ำกำกและเจลแอลกอฮอล์ แจก ต. 8 เก็บข้อมูลให้ SRRT ติดตำม  ถ้ำอำกำรมำก Refer เข้ำ รพ. (น่ำจะมีจำำนวนน้อยมำก)  (ไม่ควรใช้ quick test ท่ด ี ่ำน เพรำะต้องใช้ผู้มีทักษะเก็บ ต้องทำำโดยมี biosafety ท่เี หมำะสม ผลตรวจมี false positive / false negative17 มิย. 2552

ปรับยุทธศาสตร์ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ (3) การรักษา  แนะนำำให้ผู้ป่วยส่วนใหญ่ ซ่ ึงอำกำรน้อย ดูแลตนเองท่ีบ้ำน หำกกินยำลดไข้ ให้ใช้พำรำเซตำมอล  ผู้ป่วยท่ีมีอำกำรมำก (เช่น ไข้สูง อำเจียนมำก หอบ หำยใจลำำบำก อ่อนเพลียมำก) ให้มำพบแพทย์  แพทย์ให้ยำต้ำนไวรัส เฉพำะผู้ป่วยอำกำรมำกหรือมีภำวะเส่ียง และรับผูป ้ ่ วยท่ีมีอำกำรรุนแรงไว้รก ั ษำในโร งพยำบำล

17 มิย. 2552

ปรับยุทธศาสตร์ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ (4)

การป้ องกันโรค

 เร่งสร้ำงควำมเข้ำใจ ลดควำมตระหนก ส่งเสริมพฤติกรรมป้ องกันโรค โดยประชำชน  คนปกติ ล้ำงมือบ่อยๆ เล่ย ี งท่ีแออัด  ผู้ป่วย ไอ จำม ใส่ผ้ำเช็ดหน้ำ หรือกระดำษทิชชู หรือใส่หน้ำกำกอนำมัย ล้ำงมือหลังไอ จำม และหลีกเล่ียงกำรคลุกคลีใกล้ชิดผู้อ่ืนระหว่ำงป่ วย  หำกมีผู้ป่วยในโรงเรียน โรงงำน สถำนท่ท ี ำำงำน แนะนำำให้ผู้ป่วย หยุดเรียนหรือหยุดงำน เพ่ ือรักษำและพักผ่อนอยู่บ้ำนจนหำยป่ วย หำกจะพิจำรณำปิ ดโรงเรียนหรือสถำนประกอบกำรชัว่ ครำว ควรหำรือผู้เก่ย ี วข้องและพิจำรณำโดยรอบคอบ

23 มิย. 2552

การรักษา ผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงต้องรีบไปโรงพยาบาลทันที ซึ่งแพทย์จะพิจารณาให้ยาต้านไวรัส คือ ยาโอเซลทามิเวียร์ (oseltamivir) เป็นยาชนิดกิน หากผู้ป่วยได้รับยาภายใน 2 วันหลังเริ่มป่วย จะให้ผลการรักษาดี

การใช้ยา Oseltamivir ในประเทศต่าง ๆ :- พค.2552 • • • • •

ประเทศที่มี stockpile จะมีโอกาสใช้สูงขึ้น ประเทศญี่ปุ่น ใช้ oseltamivir จำานวนมาก ประเทศในยุโรป ใช้ oseltamivir จำานวนมาก ประเทศสหรัฐอเมริกา ใช้ oseltamivir จำานวนน้อย ประเทศไทย ใช้ oseltamivir จำานวน ?? (แนวโน้มมากเกินความจำาเป็น)

แนวทางปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยที่ติดเชื้อหรืออาจติดเ ชื้อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิด A(H1N1) ท่านสามารถสืบค้นฉบับปรับปรุงปัจจุบนั ได้ที่ เว็บไซต์กระทรวงสาธารณสุข www.moph.go.th หรือ เว็บไซต์สำานักโรคติดต่ออุบตั ิใหม่ http://beid.ddc.moph.go.th

ผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ อา กา รไ ม่ รุนแรง ไม่ใช่กลุ่มเส่ียงต่อกำรป่ วยรุนแรง แนะนำำให้ใส่หน้ำกำกหลีกเล่ียงกำ รสัมผัสกับผู้อ่ืน

ค้ นห าและ ติ ด ตามผ ู ้ สั มผ ั ส ใกล ้ ชิด ผู้สั มผั สไม ่ม ีอ าก าร แนะ นำาผู้สั มผั สให ้สั งเ กต อาก ารและ พบแพ ท ย์หา กสงสั ยไข้ หว ัด ใหญ่

ผู้สัม ผัสม ีอา การ -แนะ นำาห ลีกเลี่ย งสัม ผัสผู้อื่น -พิจารณาเก็บตัว อย่า ง Throat swab

กลุ่ม ก้อน ใน ชุม ชนต ั้ง แต ่ 3 ราย

อาก ารรุนแรง กลุ่มเส่ียงต่อกำรป่ วยรุนแรง

รายงานสสจ. สคร./สนร. ทันที

-พิจำรณำเก็บตัวอย่ำง Throat swab ตำมควำมจำำเป็ น

-เก็บตัวอย่ำง Throat swab จำกผู้ป่วยใหม่ ไม่เกิน 10 รำย

ตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ

รายงาน 506 ระบบปกติ ระ หว ่างรอผลกา รตรว จทา งห้อ งปฏ ิบัติ การ

ILI daily record

PCRให ้ ผ ลลบ - ผู้ป่วยติดตามอาการตนเอง - สังเกตอาการผู้สัมผัสร่วมบ้าน 7 วัน ผู้สัมผัสไม่มีอ าการ

ผู้สัมผัสมีอาการ

จบการดำาเนิน งาน

-แนะ นำาห ลีกเลี่ย งสัม ผัสผู้อื่น

ข้อมูล ณ วันที่ 21 มิ.ย.52

ตรวจพ บไข้หว ั ด ใหญ่สายพันธ ุ์ให ม่ ชน ิ ด เอ H1N1

ติ ด ตามผู้ สัม ผัส ใกล้ ชิ ด

ผู้สัม ผั สไม่ม ีอ าก าร กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง: ให้ยาป้องกัน กลุ่มไม่เสี่ยง: ไม่ต้องให้ยา สังเกตอาการจนครบ 7 วันหลังสัมผัสผูป้ ่วยครัง้ สุดท้าย ถ้าอาการป่วยให้ถือว่าเป็นผูป้ ่ว

ผู้สัม ผัสม ีอา การ

ดำาเนินการดูแลเห มือนผู้ป่วยยืนยัน

การให้คำาปรึกษาสำาหรับทีมแพทย์ • หากมีผปู้ ่วยอาการหนักและ มีภาวะแทรกซ้อน โทรศัพท์ขอรับคำาปรึกษากับแพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญของกระทรวงสาธารณสุข ส่วนกลาง ตลอด 24 ชัว่ โมง ตามรายชือ่ แพทย์และตารางเวรรับคำาปรึกษาที่ เว็บไซต์กระทรวงสาธารณสุข www.moph.go.th หรือ เว็บไซต์สำานักโรคติดต่ออุบัตใิ หม่ http://beid.ddc.moph.go.th

โรงพยำบำลจะรับมือกับผู้ป่วย ไข้หวัดใหญ่จำำนวนมำก อย่ำงไร ? • จัดช่องทำงพิเศษแบบ One Stop Service ท่แ ี ผนกผู้ป่วยนอก ไม่ปะปนกับผู้ป่วยทัว่ไป • จัดหน้ำกำกอนำมัย คำำแนะนำำ และเจลแอลกอฮอล์ลำ้ งมือ ให้บริกำรผู้ป่วยและญำติ • ปฏิบัตต ิ ำมแผนเตรียมควำมพร้อมสำำหรับไข้หวัดให ญ่ระบำดใหญ่ท่ก ี ำำหนดไว้

ตัวอย่าง One Stop Service

แนวทางการป้องกัน และควบคุมโรค

การดำาเนินงานที่สำาคัญของกระทรวงสาธารณสุข  เปิดศูนย์ปฏิบัติการ ทำาการทุกวัน ตั้งแต่ 25 เม.ย. 2552  เร่งรัดและเพิ่มระดับความเข้มข้นการเฝ้าระวังโรค โดยสถานบริการ สธ., ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วทั่วประเทศและอาสาสมัครสาธาร ณสุขทั่วประเทศเกือบ 1 ล้านคน  เตรียมพร้อมด้านการตรวจยืนยันเชือ้ ทางห้องปฏิบัติการ ทราบผลตรวจใน 48 ชม. ด้วยเครือข่าย 14 แห่ง และรถตรวจเคลื่อนที่ 6 คัน พร้อมทั้งพันธมิตรทางห้องปฏิบัติการ  เตรียมความพร้อมด้านการดูแลรักษาพยาบาลผูป้ ่วย ฝึกอบรมบุคลากรและเตรียมห้องแยกผู้ป่วยในรพ.ทุกแห่ง

การดำาเนินงานที่สำาคัญของกระทรวงสาธารณสุข  สำารองเวชภัณฑ์ อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ เตรียมพร้อมด้วยยาต้านไวรัสสำาหรับผู้ป่วยกว่า 4 แสนคนและพร้อมเพิ่มปริมาณการผลิต ในกรณีจำาเป็นฉุกเฉิน  ให้สุขศึกษาและประชาสัมพันธ์ ผ่านสือ่ ต่างๆ เช่น สือ่ มวลชน เว็บไซต์ call center  ตรวจคัดกรองผู้โดยสารที่เดินทางมาจากต่างประเทศ ติดตั้งเครื่องตรวจวัดอุณหภูมิที่สนามบินนานาชาติและมีแพทย์ประจำาจุดตรวจ พร้อมส่งผู้ป่วยทันทีหากพบผู้ป่วยสงสัยโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่  ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกีย่ วข้องทุกภาคส่วนทั้งในและต่างประเทศ เช่น เฝ้าระวังโรคในสถานศึกษา สายการบิน บริษัททัวร์ โรงแรม การซ้อมแผนทุกภาคส่วนระดับจังหวัด ร่วมกับก.การต่างประเทศชี้แจงข้อมูลและสร้างความมัน่ ใจให้กบั สถานทูตต่างประเ ทศประจำาประเทศไทย ประสานความร่วมมือกับ WHO และ

คำาแนะนำาสำาหรับผู้ป่วยไข้หวัดหรือไข้หวัดใหญ่ (1)  หากมีอาการป่วยไม่รุนแรง เช่น ไข้ไม่สูง ไม่ซมึ และรับประทานอาหารได้ สามารถรักษาตามอาการด้วยตนเองที่บ้านได้ ไม่จำาเป็นต้องไปโรงพยาบาล ควรใช้พาราเซตามอล เพื่อลดไข้ (ห้ามใช้ยาแอสไพริน) นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ และดื่มนำ้ามากๆ  ควรหยุดเรียน หยุดงาน จนกว่าจะหายเป็นปกติ และหลีกเลี่ยงการคลุกคลีใกล้ชดิ หรือใช้สิ่งของร่วมกับผู้อื่น

คำาแนะนำาสำาหรับผู้ป่วยไข้หวัดหรือไข้หวัดใหญ่ (2)  ควรปิดปากปิดจมูกทุกครั้งด้วยผ้าเช็ด หน้าหรือกระดาษทิชชูทุกครั้งเมื่อท่านไ อจาม และทิง้ ลงในถังขยะ หรือสวมหน้ากากอนามัยเมื่ออยู่กับผู้อื่ น  ล้างมือบ่อยๆ ด้วยนำ้าและสบู่ หรือใช้เจลแอลกอฮอล์ทำาความสะอาดมื อ โดยเฉพาะหลังการไอ จาม

คำาแนะนำาสำาหรับผู้ป่วยไข้หวัดหรือไข้หวัดใหญ่ (3)  อาการจะค่อยๆทุเลา ดีขึ้นใน 3-5 วัน  หากไม่ดีขึ้น และมีอาการรุนแรงขึ้น คือไข้ไม่ลดภายใน 2-3 วัน ไอถีข่ ึ้น เจ็บหน้าอก หายใจเร็วกว่าเดิม ควรรีบไปพบแพทย์

กลุ่มเสี่ยงที่ต้องรีบไปพบแพทย์เมื่อเป็นไข้หวัดใหญ่ • กลุ่มเส่ียงท่ีอาจมีโรคแทรกซ้อนรุนแรง เม่ ือเป็ นไข้หวัดใหญ่ ได้แก่ ผู้ป่วยโรคเร้ือรัง ผู้มีภูมิตา้ นทานต่ำา ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก (น้อยกว่า 5 ปี ) หญิงมีครรภ์และผู้มีภาวะอ้วน

ควรรีบไป พบแพทย์

คำาแนะนำาสำาหรับผู้ดูแลผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ (1) • ให้ผู้ป่วยรับประทานยาลดไข้ เช่น พาราเซทามอล (ห้ามใช้ยาแอสไพริน) และยารักษาตามอาการ • ไม่จำาเป็นต้องรับประทานยาปฏิชีวนะ ยกเว้นพบเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อน • เช็ดตัวลดไข้ ด้วยนำ้าสะอาดทีไ่ ม่เย็น • ให้ดม ื่ นำ้าสะอาดและนำ้าผลไม้มากๆ งดดื่มนำ้าเย็นจัด • พยายามให้รับประทานอาหารอ่อน ๆ รสไม่จัด เช่น โจ๊ก ข้าวต้ม ไข่ ผัก และผลไม้ให้พอเพียง

คำาแนะนำาสำาหรับผู้ดูแลผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ (2) • ให้นอนพักผ่อนมากๆ ในห้องที่อากาศไม่เย็นเกินไป และมีอากาศถ่ายเทสะดวก • ให้ผู้ป่วยสวมหน้ากากอนามัย ปิดปาก และจมูก เวลาไอหรือ จามด้วยกระดาษทิชชูหรือแขนเสื้อของตนเอง ล้างมือด้วยนำ้าและสบู่หรือแอลกอฮอล์เจลบ่อยๆ หลีกเลี่ยงการคลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ที่อยู่ร่วมบ้านหรือร่วมห้อง (หากเป็นไปได้ ควรให้ผู้ป่วยนอนแยกห้อง) รับประทานอาหารแยกจากผู้อื่น หรือใช้ช้อนกลางในการรับประทานอาหารร่วมกัน ไม่ใช้ของใช้ส่วนตัว เช่น ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดตัว แก้วนำ้า หลอดดูดนำ้า ร่วมกับผู้อื่น • หากอาการป่วยรุนแรงขึ้น คือไข้สงู ขึ้น ไอถี่ขึ้น เจ็บหน้าอก หายใจเร็วกว่าเดิม ควรรีบไปพบแพทย์ทันที

คำาแนะนำาสำาหรับประชาชนทั่วไป  ล้างมือบ่อยๆ ด้วยนำ้าและสบู่ หรือใช้แอลกอฮอล์เจลทำาความสะอาดมือ  ไม่ใช้แก้วนำ้า หลอดดูดนำ้า ช้อนอาหาร ผ้าเช็ดมือ ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดตัว ร่วมกับผู้อื่น  ไม่ควรคลุกคลีใกล้ชดิ กับผู้ปว่ ยที่มีอาการไข้หวัด  รักษาสุขภาพให้แข็งแรง ด้วยการกินอาหารทีม่ ีคุณค่าทางโภชนาการ ดื่มนำ้ามากๆ นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ และออกกำาลังกายอย่างสมำ่าเสมอ  ควรหลีกเลีย่ งการอยูใ่ นสถานที่ทมี่ ีผู้คนแออัดและอากาศถ่ายเทไม่ ดีเป็นเวลานาน โดยไม่จำาเป็น  ติดตามคำาแนะนำาอื่นๆ ของกระทรวงสาธารณสุขอย่างใกล้ชดิ

คำาแนะนำาสำาหรับสถานประกอบการและสถานที่ทำางาน ((1  แนะนำาให้พนักงานที่มอี าการป่วยคล้ายไข้หวัดใหญ่ พักรักษาตัวที่บา้ น หากมีอาการป่วยรุนแรง ควรรีบไป พบแพทย์  แนะนำาให้พนักงานที่เดินทางกลับจากต่างประเทศ เฝ้าสังเกตอาการของตนเองเป็นเวลา 7 วัน ถ้ามีอาการป่วยให้หยุดพักรักษาตัวที่บา้ น ในสถานการณ์ปัจจุบัน ยังไม่แนะนำาให้ปิดสถานประกอบการหรือสถานที่ทำางาน เพื่อการป้องกันการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่

คำาแนะนำาสำาหรับสถานประกอบการและสถานที่ทำางาน ((2 ตรวจสอบจำานวนพนักงานที่ขาดงานในแต่ละวัน หากพบขาดงานผิดปกติ หรือตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป ในแผนกเดียวกัน และสงสัยว่าป่วยเป็นไข้หวัดใหญ่ ให้แจ้งต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อสอบสวนและควบคุมโรค แจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในเขตรับผิดชอบ  เขตกรุงเทพมหานคร โทร. 0 2246 0358, 0 2245 8106  นอกกรุงเทพมหานคร แจ้งสำานักงานสาธารณสุขจังหวัด

คำาแนะนำาสำาหรับสถานประกอบการและสถานที่ทำางาน ((3 ควรทำาความสะอาดอุปกรณ์ สิ่งของ เครื่องใช้ ที่มีผู้สัมผัสจำานวนมากเช่น ลูกบิดประตู โทรศัพท์ ราวบันได คียบ์ อร์ดคอมพิวเตอร์ ก๊อกนำ้า ฯลฯ

โดยการใช้นำ้าผงซักฟอก/นำ้ายาทำาความ สะอาดทัว่ ไป เช็ดทำาความสะอาด อย่ า งน้ อ ยวั น ละ 1-2 ครั ง ้ จัดให้มอี ่างล้างมือ นำ้าและสบู่อย่างเพียงพอ ในบางวันควรเปิดประตู หน้าต่างให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก และแสงแดดส่องได้ทั่วถึง

คำาแนะนำาสำาหรับสถานศึกษา((1  แนะนำาให้สำารวจนักเรียนทุกวันหากมีอาการป่วยเป็น ไข้หวัดแจ้งผู้ปกครองรับกลับบ้าน ให้ความรู้ในการปฏิบัติตวั ที่ถูกต้อง ป่วยเล็กน้อยพักรักษาตัวที่บ้าน ภายใน 3 วัน อาการไม่ดีขนึ้ พบแพทย์  นักเรียนป่วย 3 คนขึน้ ไป แจ้ง จนท. สาธารณสุข/สำานักอนามัยกทม. ในสถานการณ์ปัจจุบัน การปิดโรงเรียนมีประโยชน์น้อยกว่าการอยู่ที่บ้าน

คำาแนะนำาสำาหรับสถานศึกษา((2  นักเรียนที่กลับจากต่างประเทศ เฝ้าสังเกตุอาการตนเองเป็นเวลา 7 วัน ถ้าป่วยเล็กน้อยพักรักษาตัวที่บา้ น ภายใน 3 วัน อาการไม่ดีขนึ้ พบแพทย์  ให้ความรู้การปฏิบตั ติ วั ที่ถูกต้อง กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือบ่อยๆ ไอ จาม ปิดปาก-จมูก ในสถานการณ์ปัจจุบัน การปิดโรงเรียนมีประโยชน์น้อยกว่าการอยู่ที่บ้าน

คำาแนะนำาสำาหรับสถานศึกษา((3  แนะนำาจัดให้มอี ่างล้างมือ สบู่ ประจำา ห้องนำ้า โรงอาหาร  เช็ดทำาความสะอาด โต๊ะเรียน ลูกบิดประตู โทรศัพท์ ราวบันได ก๊อกนำ้า ฯลฯ ด้วยนำ้าผงซักฟอก/นำ้ายาทำาความสะอาดทั่วไป บ่อยๆ  เปิดประตู หน้าต่าง ให้อากาศถ่ายเท แสงสว่างส่องถึง ในสถานการณ์ปัจจุบัน การปิดโรงเรียนมีประโยชน์น้อยกว่าการอยู่ที่บ้าน

ส่งเสริมการใช้หน้า กากอนามัย

ขั้นตอนการใส่หน้ากากอนามัย

2 1

3

ขั้นตอนการถอดหน้ากากอนามัย และล้างมือด้วยนำ้าและสบู่

ภาพแสดงการวิจัยเรื่องการล้างมือ

นำ้ายาล้างมือแห้งที่มีส่วนผสมของ Alcohol

คำาแนะนำาเพิ่มเติม • ติดตามประกาศจากกระทรวงสาธารณสุขอย่างใกล้ชิด • ค้นหาข้อมูลและรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ - เว็บไซต์กระทรวงสาธารณสุข www.moph.go.th - เว็บไซต์สำานักโรคติดต่ออุบัติใหม่

http://beid.ddc.moph.go.th

- เว็บไซต์กรมควบคุมโรค www.ddc.moph.go.th • หากมีข้อสงสัย สามารถติดต่อได้ที่ กระทรวงสาธารณสุข หมายเลขโทรศัพท์ 1422 ตลอด 24 ชั่วโมง

การประคองกิจการและเตรียมความพร้อม สำาหรับการระบาดใหญ่โรคไข้หวัดใหญ่

ผลกระทบเมือ่ มีการระบาดใหญ่ ของโรคไข้หวัดใหญ่ จะมีผู้ป่วย 10 - 50 % ของประชากรทั้งหมด ผู้ปว่ ยทุกเพศ ทุกกลุ่มอายุโดยเฉพาะ ต้องหยุดงาน/ขาดเรียน ต้องเข้ารักษาในโรงพยาบาล เสียชีวิต

15 - 25 ปี 10 - 40 % 0.5 - 10 % 0.5 - 2.5 %

การระบาดเป็นระลอก 1-2 เดือน และกระจายทั่วโลกภายใน 6-8 เดือน การให้บริการด้านการรักษาพยาบาลจะไม่พอเพียง โดยเฉพาะเวชภัณฑ์ & อุปกรณ์ทางการแพทย์ ผลกระทบทางเศรษฐกิจ ชนิดไม่รุนแรง - มีผู้เสียชีวิต 1.4 ล้านคน สูญเสียทางเศรษฐกิจ 13,200 พันล้านบาท ชนิดรุนแรง - จะมีผู้เสียชีวิต 142.2 ล้านคน สูญเสียทางเศรษฐกิจ 17.6 ล้านล้านบาท

* (Warwick 1.Mckibbin & Alexandra A Sidormko, Feb 2006

ผลกระทบเมือ่ มีการระบาดใหญ่ ของโรคไข้หวัดใหญ่ (ต่อ) ทางราชการจะประกาศให้ทุกองค์กรและประชาชนทั่วไป ทราบ และ ให้คำาแนะนำาเพื่อป้องกันการเกิดโรค มาตรการต่าง ๆ เช่น - ปิดสถานที่สาธารณะ - ปิดโรงเรียน - จำากัดการเดินทางในพื้นที่เกิดการระบาดของโรค

แนวคิดการเตรียมพร้อม ประคองกิจการขององค์กร • ก่อนระบาดใหญ่ เตรียมพร้อมไว้ ไม่ประมาท – แต่ละบริษทั มีคนรูด้ ี สอนได้ ประสานได้ มิใช่เฉพาะภาคธุ จัดการได้รกิจนะ – จัดทำาแผนเหมาะสมกับองค์กร (แผน ต้องทุ วิธกีปองค์ ฏิบกัตริ) ทั้งภาครัฐ – เตรียมตัวได้ตามแผน (สอน/แนะนำรัฐาวิเตรี สาหกิ วยจ้ะข้อมูล) ยมข้จาและเอกชนด้ วของ ระบบงาน – ซักซ้อมแผนเป็นระยะ • เมื่อระบาดใหญ่ ไม่ตกใจ ทำาได้ตามแผน – คนที่ไม่จำาเป็นต้องมาที่ทำางาน ให้ทำางานที่บ้าน ส่งงานทางโทรคมนาคม ให้ผู้ป่วยพักงาน จัดหาคนทำางานแทน – ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่และครอบครัวที่ประสบภัย ได้อย่างเหมาะสม – คงการ สื่อสาร บริการแก่ลกู ค้า ตามสถานการณ์ • หลังระบาดใหญ่ ฟื้นตัวไว ไม่อับจน 29 May 08

แผนประคองกิจการคืออะไร ? แผนประคองกิจการ หรือ Business Continuity Plan (BCP) หมายถึง แผนงานที่เป็นลายลักษณ์อกั ษร ที่กำาหนดขั้นตอนการดำาเนินการ เพื่อรองรับหรือเรียกคืนการดำาเนินงานให้กลับสู่ภาวะปกติ เพื่อสร้างความมั่นใจว่า การปฏิบัติงานปกติ สามารถดำาเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง เมื่อมีเหตุการณ์ที่ทำาให้การปฏิบัติงานปกติต้องหยุดชะงัก เช่นภัยธรรมชาติ อัคคีภัย การเกิดโรคระบาดร้ายแรง ฯลฯ

ทำาไมต้องจัดทำาแผนประคองกิจการ ? • เพื่อจัดการหรือบรรเทาความรุนแรง จากเหตุการณ์ หรือภัยพิบัติต่างๆ • เพื่อลดผลกระทบทางการเงิน กฎหมาย ชื่อเสียง และผลกระทบอื่นๆ ต่อองค์กร • เพื่อให้ผู้บริหารองค์กร สามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการกำาหนดนโยบาย มาตรฐานและกระบวนการทำางานของทั้งองค์กรให้กลับคืนสู่ภาวะปกติได้อย่า งรวดเร็ว • เพื่อให้องค์การสามารถปฏิบัติงานต่อไปได้ ภายใต้ทรัพยากรที่มีอย่างจำากัด • องค์กรต่างๆ สามารถปรับแนวทางปฏิบัติตามแผนนี้ ให้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ของแต่ละองค์กร

7 ขัน้ ตอนการประคองกิจการ ขั้นที่ 1

ทำาความเข้าใจใน กิจการของท่าน

ขั้นที่ 7 ฝึกซ้อมและปรับปรุงแผน

ขั้นที่ 2 ค้นหาความเสีย่ ง

ขั้นที่ 6

ขั้นที่ 3

ประชาสัมพันธ์แผน ให้ผอู้ ื่นทราบ

ลดผลกระทบจาก ความเสีย่ ง

ขั้นที่ 4

ระบุมาตรการสำาหรับ ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น

ขั้นที่ 5

เตรียมการ และปฏิบัติตามแผน

เน้ือหา       เว็บไซต์สำานักโรคติดต่ออุบัติใหม่

ความรูเ้ รือ่ งภยันตรายและผลกระทบของ การระบาดใหญ่โรคไข้หวัดใหญ่ การแบ่งระยะการระบาดใหญ่ฯ การจัดทำาแผนเตรียมความพร้อมของ หน่วยงานสาธารณสุขและภาคธุรกิจ แนวคิดการเตรียมความพร้อมรับการระบาด ใหญ่โรคไข้หวัดใหญ่ตามระดับความรุนแรง การใช้แบบสำารวจตรวจความพร้อมฯ : ภาคผนวก : ข้อมูลอ้างอิงทางวิชาการ, เทคนิค และ,แนวปฏิบัติตา่ งๆ

http://beid.ddc.moph.go.th

ชุดคู่มือการจัดทำาแผนประคองกิจการเพื่อเตรียมความพร้อมสำาหรับการระบา ดใหญ่ของโรคไข้หวัดใหญ่ ปี พ.ศ. 2552 Fact Sheet คู่มอื การจัดทำาแผนประคองกิจการฯ โปสเตอร์ (การล้างมือ, หน้ากากอนามัย) ซีดี (Power Point, วีดีทศั น์การบรรยาย)

หลักการจัดทำาแผนเตรียมพร้อมรับการระบาดใหญ่ฯ สำาหรับองค์กร/ภาคธุรกิจ องค์ประกอบของแผนควรครอบคลุม 6 ด้าน :การรับมือกับผลกระทบของการระบาดใหญ่ต่อธุรกิจ การรับมือกับผลกระทบของการระบาดใหญ่ต่อพนักงานและลูกค้า การกำาหนดหลักเกณฑ์ที่ต้องดำาเนินการในระหว่างเกิดการระบาดใหญ่ การจัดสรรทรัพยากรเพื่อการป้องกันพนักงานและลูกค้า การติดต่อสื่อสารและการให้ความรู้แก่พนักงาน การประสานงานกับหน่วยงานภายนอกและการช่วยเหลือชุมชน

Related Documents

2009
June 2020 15
2009
June 2020 13
2009
December 2019 40
2009
May 2020 23
2009
December 2019 36
2009
April 2020 40

More Documents from ""