Hit By Need To Supersize

  • Uploaded by: Nattapol Kengkuntod
  • 0
  • 0
  • April 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Hit By Need To Supersize as PDF for free.

More details

  • Words: 175
  • Pages: 3
ชาวออสซี่เจ็บกระดองใจ ถูกหาวาตองสรางขนาดหองน้ํา รวมถึงโลงศพใหใหญขึ้น โดยเอมี่ คูพส Highlight

“ระเบิดไขมัน” (Fat bomb) ผูใชรถใตดินกําลังเดินผานเครื่องกั้น งานแบบจําลองทางเศรษฐศาสตรชิ้นลาสุดพบวา ตันทุนคาใชจายภาระโรคอวนของออสเตรเลียจะอยูที่ 567 ดอลลารสหรัฐตอป ผนวกดวยระบบสุขภาพที่ตองดิ้นรนตอสูกับภาระปญหาประชากรโรคอวน ที่กําลังเพิ่มมากขึ้น รายละเอียดของขาว ชาวออสเตรเลียอาจทะนงตนวาเปนชาติที่ชอบเลนกีฬา แตความเคลื่อนไหวในเรื่องที่จะตองสรางหองน้ํา โลงศพ และรถพยาบาลใหมีขนาดใหญขึ้น เปนสัญญาณเตือนวาออสเตรเลียกําลังเผชิญกับปญหาโรคอวน คุณบอยด สวินเบอรน ผูเชี่ยวชาญดานโรคอวนแหงมหาวิทยาลัย เดคคิน (Deakin University) กลาววา“ประเทศ ออสเตรเลียมีมายาคติที่วาตนเองเปนชาติของนักกีฬาชายและหญิง” “หากแต ผูคนประมาณ 50, 000 คน มีความจําเปนตองเลนกีฬาอยางเรงดวน เพราะเขาเหลานั้นเอาแตนั่งชมนักกีฬาฟุตบอลขณะที่ นักกีฬาเหลานี้ก็ตองการการพักผอนโดยดวนดวยเชนกัน” คุณบอยดกลาวกับสํานักขาวเอเอฟพี มีการประมาณการในปจจุบันนี้วา ชาวออสเตรเลียมากกวาเจ็ดลานหาแสนคน อยูในภาวะน้ําหนักเกินหรือมี โรคอวน โดยมีอัตราสวนคือ สองในสามเปนผูชาย ครึ่งหนึ่งเปนผูหญิง และหนึ่งในสี่เปนเด็กและเยาวชน งานการศึกษาในระดับสากลหลายชิ้นไดจัดอันดับประเทศออสเตรเลียใหเปนหนึ่งในกลุมประเทศที่มีโรคอวนมาก ที่สุดอยางตอเนื่อง ขณะเดียวกันรายงานจากสถาบันหัวใจเบเกอร (Baker Heart Institute) ในป 2008 ก็แนะไว วา ออสเตรเลียไดเผชิญกับ “ระเบิดไขมัน” (Fat bomb) โดยไดแซงหนาประเทศอยางสหรัฐอเมริกาไปแลว

องคกรเดอะรอยัลฟลายอิ้งด็อกเตอร ( The Royal Flying Doctors) ซึ่งเปนองคกรหนวยพยาบาลฉุกเฉินทาง อากาศในพื้นที่หางไกลอันมีชื่อเสียงของออสเตรเลีย เปนองคกรใหบริการหนวยงานลาสุดที่ตองปรับขนาด เครื่องบินใหใหญขึ้น โดยไดทําการประกาศในเดือนกอนวา ทางองคกรกําลังเสาะหาเครื่องบินลําใหญขึ้นเพื่อ จัดการกับผูปวยที่น้ําหนักมากขึ้น “ปญหาภาวะโรคอวนนี้ดําเนินคูขนานไปกับภาวะประชากรที่มีอายุสูงขึ้น จึงเปนสองเรื่องที่เปนความทาทาย อยางมีนัยสําคัญตอระบบสุขภาพ” โฆษกประจําหนวยงานรถพยาบาลฉุกเฉินกลาว เครื่องบินลําใหมขององคกรฟลายอิ้งด็อกเตอร จะสามารถขนยายผูปวยที่มีน้ําหนักรวมสูงสุดที่ 260 กิโลกรัม ในขณะที่เครื่องบินที่ใชอยูในปจจุบันนี้นั้น หากผูปวยน้ําหนักมีน้ําหนักมากเกินกวา 140 กิโลกรัมตองเดินทาง โดยใชถนนแทน เครื่องบินจะรวมทํางานเปนทีมกับหนวยฉุกเฉินทางถนนในปฎิบัติการที่เรียกวา “ยกยักษ” (Mega lift) ซึ่งเริ่ม ปฏิบัติการแลวในรัฐนิวเซาทเวลส ซึ่งเปนรัฐที่มีประชากรหนาแนนมากที่สุดของออสเตรเลีย คุณเวส แฮริเทจ (Mr. Wes Heritage) ประธานสมาคมผูประกอบการฌาปนกิจศพแหงออสเตรเลีย (Australian Funeral Directors Association) กลาววา สําหรับผูทํางานดานฌาปนกิจศพ ประเด็นน้ําหนักเปนเรื่องสไตล อยางหนึ่งและก็เปนทั้งสาระหลักดวย คุณเวสกลาวอีกวา “เพื่อทําใหมั่นใจวาทุกอยางจะดําเนินไปไดอยางราบรื่นและดูเปนงานศพที่สมเกียรติ สิ่งนี้ เปนเรื่องทาทายที่สุดสําหรับเรา” “สถานที่เผาศพกําลังอัพเกรดขนาดเตาเผาของพวกเขา โดยทําประตูของเตาเผาใหมีขนาดกวางมากขึ้น โดยใหมี ความกวางใกลเคียง 100 เซนติเมตร และแลววันแหงจุดจบของหลุมศพ ขนาด “มาตรฐาน” ก็มาถึง” คุณเวส กลาวเสริม ความแข็งแกรงระดับมาตรฐานของที่นั่งโถสวมก็ถูกกําหนดใหแกรงขึ้นกวาเดิมสามเทาตัว หลังจากที่หนวยงาน ดูแลสอดสองมาตรฐานของออสเตรเลีย (Standards Australia) พบวาที่นั่งโถสวมที่มีสมรรถนะไมสามารถ รองรับน้ําหนักสูงสุดที่ 45 กิโลกรัมนั้นไมแข็งแรงพอ ในไมชา ที่นั่งโถสวมจะตองผานการทดสอบความแข็งแรงยืดหยุนทนทานที่ 150 กิโลกรัม “อันเปนมาตรวัดที่ เตือนไวกอนลวงหนา เพื่อใหสอดรับกับการเพิ่มขนาดรางกายของมนุษย”

นักวิจัยไดรองขอตอหนวยงานมาตรฐานแหงออสเตรเลีย (Standards Australia) ในการเพิ่มอัตราทดสอบ น้ําหนักขั้นสูงสุดสําหรับความปลอดภัยของที่นั่งเด็กในรถยนต เพราะจากการศึกษาปที่ผานมาพบวา รอยละ 40 ของที่นั่งนั้นหนักเกินไปที่จะใชไดอยางปลอดภัย จากแบบจําลองทางเศรษฐศาสตรชิ้นลาสุดในเรื่องตนทุนคาใชจายภาระโรคอวนของชาวออสเตรเลีย แสดงให เห็นวาจะตองมีคาใชจายอยูที่ 567 ลานดอลลารสหรัฐตอป ผนวกดวยระบบสุขภาพที่ตองดิ้นรนตอสูกับภาระ ปญหาประชากรโรคอวนที่กําลังเพิ่มสูงขึ้น คุณบอยด สวินเบอรน อยางไรก็ดี มันเปนเรื่อง “โกหกทั้งเพ” หากจะแนะวาออสเตรเลียเปนประเทศที่มีคนอวน มากที่สุดในโลก “แตเราก็ไมไดอยูในฐานะที่จะปลอยใหเรื่องนี้ผานไปเลยไป เราตระหนักดีวาเรามีปญหารุนแรงที่ไมสามารถแกไข ใหสําเร็จไดในชั่วขามคืน”เขากลาวเสริมทาย

แหลงที่มา หนังสือพิมพจาการตาโพสต (Jakarta Post) ฉบับวันที่ 10 กุมภาพันธ 2552

Related Documents

The Need To Sing
April 2020 13
Need To Know.docx
December 2019 21
Need To Print 3
August 2019 21
Need
April 2020 31
Need
November 2019 35

More Documents from ""