1
บทความจากนักศึกษาชาวตางชาติ 2 คนที่มาฝกงานที่สสส.
ภาพสะทอนแหงการเสริมพลังอํานาจ โดย อมีเลีย สเตนจ นักศึกษาปริญญาโท มหาวิทยาลัยอินเดียนา สหรัฐอเมริกา
Highlight
ทายที่ สุดแลว เปาหมายที่วางไวโดยองคการอนามัยโลก กลาวไวอยางชัดเจน ในเรื่องการสรางเสริมสุขภาพ นั่นก็คือ “เปนกระบวนการแหงการเสริมพลัง อํานาจใหแกผูคน เพื่อการเพิ่มการควมคุมและปรับปรุงสุขภาพของพวกเขา” (องคการอนามัยโลก พ.ศ. 2529) มันปราศจากขอสงสัยเลยวา นีค ่ อ ื เปาหมาย ปฐมภูมิของ สํานกงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ
การเสริมพลังอํานาจเปนเรื่องที่ซับซอนและเปนหัวขอที่สมควรไดรับการใสใจจากเราใน ฐานะผูทํางานสรางเสริมสุขภาพ ในฐานะที่ สสส. เปนองคกรที่กําลังเจริญเติบโตและ วิ วั ฒ น สสส.ต อ งตระหนั ก ว า การเสริ ม พลั ง อํ า นาจเป น หลั ก ศิ ล าเพื่ อ ให ค งอยู ไ ด อ ย า ง จําเปนที่สุดและมีประสิทธิผลในสภาพแวดลอมทางสุขภาพที่แปรเปลี่ยนตลอดเวลา นัย ของการเสริ ม พลัง อํา นาจที่ใ ช ป ระยุ กต กั บ การสร า งเสริ ม สุ ข ภาพได รั บ อิ ทธิ พ ลจาก พลวัตของการเสริมพลังอํานาจที่เกี่ยวกับปจเจกบุคคลและจิตวิทยา รวมทั้งปจจัยอื่น ๆ ที่พบไดในการปฏิบัติการทางการเมืองและชุมชน (ริซเซิล, 2537) โดยการระลึกถึงความ แตกตางและองคประกอบที่ประยุกตใชกับผูเชี่ยวชาญทางการสรางเสริมสุขภาพเปนสิ่งที่ บทความฉบับนี้มุงเจาะจงเปนการเฉพาะ มันเปนไปไมไดที่จะหนีความจริงในเรื่องธรรมชาติการมีอยูของระบบราชการในเรื่องการ สร า งเสริม สุ ข ภาพ อั น เนื่ อ งมาจากข อ เท็ จ จริ งที่ ว า มั น เป น ตั ว แทนในบางรู ป แบบของ อํานาจหนาที่ การดูแลโดยใกลชิดมีความจําเปนเพื่อที่จะไดไมตองเขาไปยุงเกี่ยวในการ ใชยุทธศาตรเสริมพลังอํานาจที่ซึ่งปฏิบัติการจากตําแหนงลดทอนพลังอํานาจแบบบนลง ลาง (top‐ down disempowering position) มันเปนหัวขอวิพากษวิจารณตอการตั้งคําถามวา
2
การเสริมพลังอํานาจเปนสิ่งที่เปนไปไดในสถานการณตาง ๆ ที่อํานาจจะไดถูกสงมอบสูผู ที่ไมมีอํานาจ (ริซเซิล, 2537)
กรูเบอรและทริคเกต (2530) ทาทายความเขาใจที่เกี่ยวกับการเสริมพลังอํานาจแกผูอื่น โดยกลาววา “มีความขัดแยงกันในตัวมันเองระดับฐานรากตอแนวคิดที่วาผูคนใหพลัง อํานาจแกผูอื่น เหตุเพราะวา ที่ที่โครงสรางสถาบันอันวางกลุมคนกลุมหนึ่งในตําแหนงที่ ใหการเสริมพลังอํานาจได ในขณะเดียวกันก็ทําหนาที่บอนทําลายการปฏิบัติการเสริม พลังอํานาจดวยเชนกัน” ในทางตรงกันขาม สวิฟทและเลวิน (พ.ศ. 2530) โตแยงวา ไมมีสิ่งใดถูกนิยามในเรื่อง การเสริ ม พลั ง อํ า นาจด า นจิ ต วิ ท ยาที่ บ อกเป น นั ย ว า การเสริ ม อํ า นาจแก ค นกลุ ม หนึ่ ง เกิ ดขึ้นไดด ว ยการเสี ย อํ า นาจของคนอี กกลุม หนึ่ ง โดยความจํ าเป นแล ว การเสริ ม พลั ง อํานาจที่แทตองทําใหเกิด สถานการณ ชนะหรือไดทั้งสองฝาย (win-win situation) แมวาสิ่งนี้อาจจริงในแงปจเจกบุคคลและในแงจิตวิทยา ในทางการเมืองที่ที่ทรัพยากร ทั้งหลายเปนเรื่องสําคัญตอความสําเร็จของชุมชนหรือองคกร กลุมที่ตั้งมั่นอาจพบความ ทาทายหลายอยางในเรื่องของการที่จะสละการควบคุมทรัพยากรตาง ๆ ที่มีความจําเปน เพื่อแบงปนความมั่งคั่งแหงการเสริมพลังอํานาจ ทายที่ สุดแลว เปาหมายที่วางไวโดยองคการอนามัยโลก กลาวไวอยางชัดเจนในเรื่อง การสร า งเสริ ม สุ ข ภาพ นั่ นก็ คือ “เปน กระบวนการแห งการเสริ ม พลั งอํ านาจให แก ผูค น เพื่อการเพิ่มการควมคุมและปรับปรุงสุขภาพของพวกเขา” (องคการอนามัยโลก พ.ศ. 2529) มันปราศจากข อสงสัยเลยวา นี่คือเปาหมายปฐมภูมิของ สํานกงานกองทุ น สนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) การเสริมพลังอํานาจเปนเรื่องที่ซับซอนและเปนหัวขอที่ถูกมองวาเปนรากเหงาของการ เคลื่อนไหวในเรื่องสิทธิพลเมืองทั่วโลก กลาวคือ ในทางประเทศตะวันตก ในเรื่องของ การเรียกรองเพื่อสิทธิสตรี และอุดมการณการปฏิบัติการทางสังคมในยุค 1960 (อิงและ คณะ พ.ศ. 2535) มันถูกวางกรอบอีกครั้งไปสูการเคลื่อนไหวเพื่อการชวยเหลือตนเอง (Self help movement) ในยุค 1970 และจิตวิทยาชุมชน ในยุค 1980 ในฐานะที่เปน ทฤษฎีหลัก (รัพพาพอรต พ.ศ. 2530) รัพพาพอรต อรรถาธิบายการเสริมพลังอํานาจ วา เปนการเพิ่มพูนความเปนไปไดเพื่อผูคนจะไดควบคุมชีวิตของพวกเขาเอง คํานิยามอื่น ๆ มีดังนี้ •
การเสริ ม พลั งอํ านาจเป นกระบวนการหรื อ กลไก โดยที่ ป ระชาชน องค ก ร และ ชุ ม ชน ได รับ ฐานะเจ า นายควบคุม ดู แ ลชี วิ ต ของตนเอง (รั พ พาพอร ต และคณะ พ.ศ. 2527)
•
การเสริมพลังอํานาจเปนกระบวนการผานทางประชาชนที่กลายเปนผูที่เขมแข็ง เพียงพอที่จะมีสวนรวมกับ, แบงปนการควบคุมในเรื่อง และมีอิทธิพลตอ เหตุการณและสถาบันที่กําลังสงผลกระทบตอชีวิตพวกเขา (ทอรเรส 2529)
3
•
โดยทั่ ว ไป การเสริ ม พลั ง อํ า นาจทางจิ ต วิ ท ยาอาจได รั บ การมองว า เป น การ เชื่อมโยงระหวาง ความรูสึกของความสามารถในบุคคล รวมทั้งความปรารถนา เพื่อ และความมุงมาตรที่จะลงมือกระทําในพื้นที่สาธารณะ (ซิมเมอรแมนและรัพ พาพอรต 2531)
•
ความสามารถที่จะปฏิบัติการแกปญหาตาง ๆ อยางรวมไมรวมมือกัน เพื่อสราง อิทธิพลในประเด็นสําคัญตาง ๆ (คารีและไมเคิล 2534)
•
เปนกระบวนการหนึ่งที่รวมเอาการปฏิบัติการทางสังคมที่เกี่ยวพันการมีสวนรวม ของประชาชน องค ก รและชุ ม ชน ต อ เป า หมายร ว มแห ง การควบคุ ม ในป จ เจก บุคคลและชุมชนที่เพิ่มขึ้น ประสิทธิภาพทางการเมือง คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและ ความยุติธรรมในสังคม (วอลเลอรสไตน 2535)
คํายามที่ทันสมัยกวานี้ ตามที่ถูกนําเสนอโดย สวิฟทและเลวิน (2530) ฉายภาพสะทอน ความแตกต า งที่ สํ า คั ญระหว า ง ประสบการณ สว นตั วในเรื่ อ งการเสริ ม พลั งอํ า นาจด า น จิ ต วิ ท ยาและความจริ ง ที่ ไ ม ลํ า เอี ย งของการจั ด สรรทรั พ ยากรอี ก ครั้ ง เพื่ อ ปรั บ สภาพ เงื่อนไขเชิงโครงสรางและสภาพแวดลอม อีกหนึ่งคํานิยามที่ถูกนําเสนอโดยทอรเร ในป พ.ศ. 2529 (Torre , 1986) วามี องคประกอบอันจําเปนสามอยางของสมรรถนะชุมชนหรือการเสริมพลังอํานาจ อยางแรก ที่ถูกอรรถาธิบายก็คือ องคประกอบระดับจุลภาค (Micro factor) ที่แนะนําวาตองมีการ อยูดวยในฐานะปจเจกบุคคลแหงสังคมที่ไดรับบทบาทลักษณะในแงของ การรูตระหนัก ถึงคุณคาแหงตนและประสิทธิภาพในตนเอง ดังที่ไดนิยามโดยบันดูรา (2525, 2529) องคประกอบที่สองก็คือ โครงสรางที่เรียกวา ‘โครงสรางเพื่อการไกลเกลี่ย’ ที่สนับสนุน กลไกของกลุม ในอันที่มวลสมาชิกมีสวนรวมอยางแข็งขันในการแบงปนความรูและการ ยกระดับความตระหนักรูในเชิงวิจารณญาณ (ฟริเอเร, 2516) องคประกอบที่สามก็คือ องคประกอบระดับมหภาค (Macro’ component) ที่ใหความสําคัญ ตอความจําเปนสําหรับกิจกรรมทางสังคมและทางการเมือง เพื่อใหภาคสวนทั้งสองมีการ เสริมพลังอํานาจทั้งในระดับองคกรและชุมชน มันถูกบอกเปนนัยโดย ทอรเร วามันเปน การทํางานผานการเสริมพลังซึ่งกันและกัน (synergy) ของทั้งสามองคประกอบในการที่ จะทําใหการเสริมพลังอํานาจถูกทําใหเกิดขึ้นจริง กลาวอีกครั้งหนึ่งวา สิ่งนี้บอกเปนนัยวา เมื่อถึง ณ หวงเวลาหนึ่งที่ปจเจกบุคคลจับถึงได ในการตระหนักรูเชิงวิจารณญาณ ที่เขาและเธอรูสึกวาไรพลัง สิ่งนี้ทําใหองคประกอบที่ สองปรากฎขึ้น ในการกอใหเกิดใหเกิดความรูสึกแปลก ๆ ที่กระตุนปฏิสัมพันธ ผูที่มี แนวคิดอยางเดียวกัน อันนําไปสูความพยายามทีผ ่ นวกกันเขา และสิ่งนั้นก็นําไปสูการ จุดชนวนการเปลี่ยนแปลงที่จําเปนภายในโครงสรางทางสังคม
4
กรีน (2529) เรียกสิ่งนี้วาการมีสวนรวมและอิทธิพลในความพยายามของชุมชนเปนขั้น สําคัญสําหรับ การเสริมสรางพลังอํานาจทั้งทางดานจิตวิทยาและดานชุนชน การมีสวน รวมในแบบปฏิบัติการรวมกันยังเปนสะพานไปสูความรูสึกของชุมชนที่ใหญยิ่งขึ้นอันมีนัย ดานบวกที่สามารถกาวไปไกลยิ่งขึ้นสําหรับประเด็นดานสุขภาพและการเสริมพลังอํานาจ อีกดวย (วอลเลอรสไตน, 2535) แม ว า งานเขี ย นที่ อ า งไม ไ ด แ นะในเรื่ อ งหลั ก ฐานว า การเสริ ม พลั ง อํ า นาจในแง ข อง จิตวิทยามีสวนเกี่ยวของโดยตรงกับการปรับปรุงคือเรื่องสุขภาพทางกาย มันก็ไดรับการ พิสูจนแลววา งานเขียนไดรายงานใหเห็นถึงความรูสึกแงประสบการณของผูที่ไมมีพลัง อํานาจตอรองกําลังประสบภาวะสุขภาพที่ย่ําแย (สมิทธิ์ 2533, ลาบอนเต 2535) ดังนั้นคําถามก็คือ อะไรเลาคือบทบาทของการเสริมพลังอํานาจในแงของการสรางเสริม สุขภาพ ? การเสริมพลังใหผูคนเพื่อที่จะไดเพิ่มพูนใหมีการควบคุมสุขภาพของพวกเขา แนะใหเห็นวา ปฏิบัติการบางอยางและอํานาจหนาที่บางอยาง รูปแบบความรับผิดชอบ ทางสังคมตองการการประเมินผลตนเองเปนระยะ ๆ ในฐานะที่เปนนักสรางเสริมสุขภาพ และในฐานะที่ เป นกองทุ น เพื่ อ การสร า งเสริ ม สุ ข ภาพ การธํ า รงรั ก ษาเปา หมายในการ เอื้ออํานวยใหเกิดผลอยู เหนือกวาทิ ศทางที่จะไปจึงเปนหัวข อที่ตองดําเนินตอไปของ ภาพสะทอนอันนี้ ในบทความฉบับตอไป จะไดมีบทสรุปในโมเดลรูปแบบหนึ่ง เพื่อทบทวนดูวา การจัดหา วิธีการที่ซึ่งคนทํางานเชน เจาหนาที่ สสส. ที่ทําหนาอุทิศตนในการสรางเสริมสุขภาพ และเสริ ม พลั ง ผู อื่ น ให เ พิ่ ม พู น การควบคุ ม เหนื อ สุ ข ภาพของพวกเขาเหล า นั้ น สามารถ ดํ า เนิ น งานตามรหั ส ที่ สั ญ ญาว า เราทํ า ตามบทบาทหน า ที่ อ ย า งดี ที่ สุ ด และใน กระบวนการ โปรดใหการสนับสนุนเรา เพื่อทําใหการเสริมพลังอํานาจที่แทจริงประสบ ความสําเร็จ
References: Bandura, A. (1986) Social Foundations of Thought and Action. Prentice Hall, Englewood Cliffs, NJ. Eng, E., Salmon, M.E. and Mullan, F. (1992) Community empowerment: the critical base for primary healthcare. Family and Community Health. 15, 1-12. Friere, P. (1973) Education for Critical Consciousness. Press, New York.
Seabury
Green, L., (1986) The theory of participation. Advances in Health Education and Promotion. 1, 211-236.
5
Gruber, J. and Tricket, E.J. (1987) Can we empower others? The paradox of empowerment in governing an alternative school. American Journal of Community Psychology. 15, 353-372. Kari, N. and Michels, P. (1991) The Lazarus Project: the politics of empowerment. The American Journal of Occupational Therapy, 45, 719-725. Labonte, R. (1992) Heart health inequalities in Canada models, theory and planning. Health Promotion International, 7, 119128. Rappaport, J. (1981) In praise of paradox: a social policy of empowerment over prevention. American Journal of Community Psychology. 9, 1-25. Rappaport, J. (1987) Rerms of empowerment /examples of prevention: towards a theory of community psychology. American Journal of Community Psychology. 15, 121-147. Rappaport, J. (1985) The power of empowerment language. Social Policy. 16, 15-21. Rappaport, J. and Swift, C. and Hess, R. (1984) Studies in Empowerment: Steps Toward Understanding and Action. Haworth, New York. Rissel, C., (1994) Empowerment: the holy grail of health promotion? Health Promotion International. 9(1), 39-46. Smith, T. (1990) Poverty and health in the 1990’s. British Medical Journal. 301, 349-350. Swift, C., Levin, G. (1987) Empowerment: an emerging mental health technology. Journal of Primary Prevention. 8, 71-94. Torre, D. A., (1986) Empowerment: structured conceptualization and instrument development. PhD dissertation, Cornell University. Wallerstein, N. (1992) Powerlessness, empowerment, and health: implications for health promotion programs. American Journal of Health Promotion. 6, 197-205.
6
World Health Organization (1986) Ottawa Charter for Health Promotion, First International Health Promotion Conference. Ottawa, Canada. Zimmerman, M.A. and Rappaport, J. (1988) Citizen participation, perceived control, and psychological empowerment. American Journal of Community Psychology. 16, 725-743.
Reflections on Empowerment
Amelia Stange
Empowerment is a notion that is complex and is a topic deserving of our attention as health promoters. As a thriving and evolving Health Promotion organization, Thai Health must realize that empowerment is a cornerstone to remaining vital and effective in an ever-changing health environment. The implications of empowerment as applied to health promotion are influenced by the dynamics of individual and psychological empowerment, as well as those found in political action and community (Rissel, 1994). Recognizing the differences and the elements that apply specifically to health promotion specialists is the focus of this article. It is impossible to escape the bureaucratic nature of health promotion due to the fact that it represents some form of authority. Special care is required to not engage in the use of empowerment strategies that operate from a top- down disempowering position. It is the topic of some critics to question whether empowerment is possible in circumstances where power is rendered to those who have no power (Rissel, 1994). Gruber and Tricket (1987) challenge the notion about empowering others by stating “there is a fundamental paradox in the idea of people empowering others because the very institutional structure that puts one group in position to empower also works to undermine the act of empowerment”. On the other hand Swift and Levin (1987) argue that there is nothing defined in psychological empowerment that implies that one group’s empowerment comes at the expense of another, in essence, true empowerment renders a “win-win” situation. Although this may be true in the individual and psychological sense, in the political arena where resources are significant to the success of the community or organization, entrenched groups may find challenges
7
in relinquishing control of necessary resources in order to share the wealth of empowerment. Ultimately, the goal set forth by the World Health Organization plainly states that health promotion is “the process of enabling people to increase control over, and to improve their health” (World Health Organization, 1986). It is without question that this is a primary goal of Thai Health Promotion Foundation. Empowerment is a notion that is complex and is a topic that has been seen in the roots of civil rights movements around the world, namely in the west in the women’s rights movement and ‘social action’ ideology of the 60’s (Eng et al 1992). It was reframed in the ‘self-help’ movement of the70’s and in community psychology in the 80’s as a principle theory (Rappaport ,1987). Rappaport described empowerment to be ‘to enhance the possibility for people to control their own lives’. Further definitions include: •
•
•
• •
Empowerment is the process or mechanism by which people, organizations and communities gain mastery over their lives (Rappaport et al, 1984) Empowerment is a process through which people become strong enough to participate within, share in the control of and influence, events and institutions affecting their lives (Torres, 1986) Psychological empowerment in general may be viewed at the connection between a sense of personal competence, as well as a desire for and a willingness to take action in the public domain (Zimmerman and Rappaport, 1988). The ability to act in solving problems collectively in order to influence important issues (Kari and Michaels, 1991). A process involving social action that involves the participation of people, organizations and communities towards common goals of increased individual and community control, political efficacy, improved quality of life and social justice (Wallerstein, 1992).
More recent definitions as offered by Swift and Levin (1987) reflect an important distinction between the subjective experience of psychological empowerment and the objective reality of reallocating
resources in order to modify structural conditions.
8
and environmental
It is proposed by Torre, (1986) that there are three essential components of community capacity, or empowerment. The first is described as the ‘micro’ factor which suggests that there must be present in the individuals of a given society aspects of self esteem and self efficacy as defined by Bandura, (1982, 1986). In addition, ‘mediating structures’ which support group mechanics whereby members actively participate in sharing knowledge and raising critical consciousness (Friere, 1973). The third factor is the ‘macro’ component that recognizes the need for social and political activities in order for there to be empowerment within an organization or community. It is implied by Torre, that it is through the synergy of these three components that empowerment is realized. Rephrased, this implies that at some point an individual reaches the critical consciousness that he or she is powerless; this evokes the second component of stirring strange feelings that provoke interaction with like minds, which leads to combined efforts that are then activated into necessary change within the social structure. It is recognized by Green (1986), that participation and influence in community efforts is an important stage for both psychological and community empowerment. Participation in collective action is also the bridge a greater ‘sense of community which has far reaching positive implications for both health and empowerment (Wallerstein, 1992). Although the literature does not suggest evidence that empowerment in the psychological sense is directly related to improvement is physical health, it is proven that those reporting experiencing feelings of powerlessness experience worse health (Smith, 1990; Labonte, 1992). So the question is; what is the role of empowerment in terms of health promotion? ‘Enabling’ people to increase control over their health suggests some action and some authority. This form of social responsibility requires constant self evaluation as health promoters and as a health promotion foundation. Maintaining the goal of facilitation over direction is an ongoing topic of reflection. In an upcoming article there will be a summary of a model to review that provides the means by which those of us who are
9
committed to the promotion of health and enabling others to increase control over their health can have a code for which to live by that promises we do our best and in the process, supports us in the prospect of achieving true empowerment. References 1. Subhatra Bhumiprabhas & Aree Chaisatien. The case for equality. Retrieved June 16, 2009. Available at http://www.nationmultimedia.com/2009/03/09/lifestyle/lifestyle_30 097392.php
2. Ouyporn Khuankaew. Feminism and Buddhism: A Reflection through Personal Life & Working Experience. Retrieved June 15, 2009. Available at http://www.bpf.org/tsangha/ouyporn.html
3. Rob Moodie, et at., Infrastructures to promote health: the art of the impossible. Victorian Health Promotion Foundation, Melbourne, Australia, p. 3.
จดหมายถึงเพื่อนพี่สาวและนองสาวของขาพเจา
Highlight
ขาพเจาเห็นวา สตรีเหลานี้เปนดัง ่ มิตร ขาพเจาไดพบปะกับ เหลาอาจารย แหง “ศิลป” ของการสรางเสริมสุขภาพ “ศิลป” นี้ รวมเอาการสรางกลุม การเจรจา ตอรอง การสนับสนุนดานสาธารณะ ความเปนภาคี การสือ ่ สาร และทักษะในการ นําเสนอ
สวัสดีเพื่อนพี่สาวและนองสาวของขาพเจา,
ฉั น เคยเชื่ อ ว า บรรดาพี่ ส าว น อ งสาว ป า น า อา มารดา และย า ยายชาวเวี ย ดนามได ทํ า งานหนั ก จนเกิ น ไปและเสี ย สละตนเองเพื่ อ เหตุ ผ ลที่ ห าดี ไ ม ไ ด เ ลย ข า พเจ า อํ า ลา
10
เวี ย ดนามเมื่ อ แปดป ที่ แ ล ว เพื่ อ พิ สู จ น ใ ห ค นเหล า นั้ น เห็ น ว า ข า พเจ า รู จั ก ที่ จ ะใช ชี วิ ต ที่ ดีกวาอยางไร
ความประทับแรกเมื่อขาพเจามาถึงกรุงเทพ ฯ ปลายเดือนพฤษภาคม 2552 ก็คือขาพเจา รูสึกเหมือนวา ขาพเจากําลังกลับบานที่เวียดนาม ทั้งซอยเล็กซอยนอย ถนนสายตาง ๆ โปรยปรายละลานตาไปดวยพอคาแมขาย คนเดินเทาและรถยนตสัญจรไปมา คนขายของส ว นใหญ เ ป น ผู ห ญิ ง ข า พเจ า เห็ น ผู ห ญิ ง ทุ ก ที่ เ ลย (เราเห็ น ในสิ่ ง ที่ เ รา ตองการจะเห็น ใช ไ หมคะ ) และเขาทั้งหลายก็ กํ า ลังยุงอยู กั บ การทํางานหาเชา กินค่ํ า ประเภทเขางานเกาโมงเชาเลิกงานหาโมงเย็น บวกกับงานที่ไมมีวันหยุดประเภท ทํางาน วันละยี่สิบสี่ชั่วโมงและทํามันทั้งเจ็ดวันในหนึ่งสัปดาห เพื่อดูแลครอบครัวของพวกเธอ (สิ่งหนึ่งที่ตางกันเล็กนอยก็คือ ผูหญิงไทยยิ้มและหัวเราะบอยครั้งมากกวา ตองเปนสิ่งนี้ นี่เองที่ชวยขจัดปดเปาความเครียดและแรงกดดันจากชีวิตสมัยใหมที่พวกเธอกําลังแบก รับภาระอยู) ความทรงจําทั้งหมดของขาพเจาที่เกี่ยวกั บเวียดนามกลับหวนคื นมาระคนกับความคั บ แคนในอุรา ขาพเจาถูกผจญใหโยนคําวิพากษวิจารณอันเดิมอีกคราหนึ่ง คําวิจารณที่วา ข า พเจ า คิ ด ว า บรรดาน อ งสาว พี่ ส าว ป า น า อา มารดา และย า ยาย ทํ า งานหนั ก จนเกินไป และการเสียสละของพวกเธอก็เพื่อเหตุผลที่ไมไดความเอาเสียเลย ขาพเจา เรียนรูบทเรียนเกี่ยวกับวิถีแบบไทย ซึ่งไดเปลี่ยนความคิดเห็นของขาพเจาเกี่ยวกับผูคน และชีวิตรอบ ๆ ตัวขาพเจาอยางรวดเร็ว นับไดสองสัปดาหที่ทํางานกับ สสส. ขาพเจาไดพบสตรีจํานวนมากมายผูซึ่งสรางความ ประทับใจใหแกขาพเจาดวยพรสวรรคของพวกเธอ และบุคลิกภาพที่มีเสนหและเต็มไป ดวยพลังรวมทั้งความคิดสรางสรรค การทํางานของพวกเธอเกี่ยวพันกับการพบปะติดตอ กับนักการเมืองโดยตรงและตอเนื่อง ในหวงปที่แปด ของ สสส. ระดับของการสนับสนุนเชิงสาธารณะที่เขาไปเกี่ยวพัน โปรแกรมตาง ๆ เปนพัน ๆ สสส. สนับสนุนและริเริ่ม เพื่อโปรโมท การรับนําไปใช ใน เรื่องพฤติกรรมที่ดีตอสุขภาพในหมูชนชาวไทย ชวยนําเสนอบทเรียนหลากหลาย เกี่ยวกับการสรางเสริมสุขภาพในเชิงปฏิบัติการเพื่อผูเขาเยี่ยมชมที่เปนนักวิชาชีพดาน สุขภาพชาวตางชาติไดเขาใจ
ขาพเจาเห็นวา สตรีเหลานี้เปนดั่งมิตร ขาพเจาไดพบปะกับ เหลาอาจารย แหง “ศิลป” ของการสรา งเสริ มสุขภาพ “ศิ ลป” นี้ รวมเอาการสรางกลุม การเจรจาตอรอง การ สนับสนุนดานสาธารณะ ความเปนภาคี การสื่อสาร และทักษะในการนําเสนอ การเผยแพรแบงปนของพวกเธอสูการพัฒนาและการธํารงรักษา งานของ สสส. เปนสิ่งที่ มี คุ ณ ค า ที่ ห าที่ สุ ด มิ ไ ด ด ว ยอั ต ราส ว นของสตรี เ พศและบุ รุ ษ เพศที่ สามต อ หนึ่ ง หรื อ แมกระทั่ง สี่ตอหนึ่ง ณ สสส. ขาพเจากําลังทําหนาที่เปนประจักษพยานภาคปฏิบัติการ แหง “หลักการเสมอภาคของสตรี” ในสมัยใหม ในรูปแบบวิถีของ สสส. หลักการเสมอ
11
ภาคของสตรี เปนถอยคําที่ชวนใหเกิดการโตแยง และก็มีความหมายหลายอยาง แตสิ่ง ที่ ข า พเจ า หมายถึ ง ในที่ นี้ ก็ คื อ การมี ส ภาพแวดล อ มที่ เ ป ด สภาพแวดล อ มที่ ส ตรี เ พศ สามารถพัฒนาศักยภาพและความสามารถของเธอ และทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยปราศจากพันธการขวางกั้น โปรดอยาเขาใจขาพเจาผิด ขาพเจาก็ชอบผูชายมาก หากแตขาพเจานับถือผูหญิงเสมอ! และข า พเจ า เห็ น ด ว ยกั บ ผู ที่ คิ ด ว า ประเด็ น เรื่ อ งเพศเป น เรื่ อ งที่ เ กี่ ย วกั บ อํ า นาจ เมื่ อ กลาวถึงเรื่องอํานาจ เราก็ตองสัมผัสใหถึงแกนของความเปนมนุษย ประวัติศาสตรไทย แสดงใหเห็นวา ผูหญิงไทยมีความมั่นใจในความสามารถของตนใน การที่ จ ะทํ า ให สิ ท ธิ์ ใ ห เ สี ย งของตนได ยิ น รวมถึ ง การใช อํ า นาจของผู ห ญิ ง อย า งชาญ ฉลาด ในป พ.ศ. 2348 ในรัชสมัยของสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก อําแดงปอม ไดขอรอง ตุ ล าการท า นหนึ่ ง เพื่ อ การอนุ ญ าตให เ ธอได ห ย า ร า งกั บ สามี และหล อ นก็ ป ระสบ ความสําเร็จ .ในป พ.ศ. 2408 ในรัชสมัยพระจอมเกลาเจาอยูหัว อําแดงเหมือน อายุอา นาม 21 ป ได ทํ า ตามเสี ย งหั ว ใจเรี ย กร อ ง และเลื อ กสามี ที่ เ ธอรั ก เอง องค พระมหากษัตริยก็ทรงมีพระราชวินิจฉัยเห็นชอบตามอําแดงเหมือน ในป พ.ศ. 2472 นาง สนม ชื่อวา ภัทรา ไดลุกขึ้นสูกับการกดขี่ข มเหงภายในวั งทามกลางหมู ชนชั้นสูง นาง สนมภัทรา นําเรื่องเขาสูศาล องคพระมหากษัตริยทรงทราบเรื่องก็ไดทรงเขาชวยแกไข ปญหา ขาพเจาขอใชการอางอิงของผูอื่น ขาพเจาต องการที่จะทิ้งคํากล าวอันหนึ่งไว กับทา น “มัน เป น เรื่ อ งน าสนใจที่ ได เห็น ผูห ญิง อย า ง อํ า แดงป อม อํ า แดงเหมื อน และนางสนม ภัทรา ยืนหยัดปฏิเสธประเพณีในสังคมที่ผูชายเปนใหญไดอยางไร คําถามหลายขอยัง ตราตรึง อยูวา อะไรหรือที่จุดใหไฟแหงความกลาของพวกเธอติด มีไหมหนอ ที่ผูหญิง ในกาลปจจุบันจะมีความกลาหาญเชนนั้น หรือวา ความกลาหาญไดถูกบั่นทอนโดยระบบ กฎหมาย หรือการศึกษา หรือทัศนคติแบบผิด ๆ ในหมูผูหญิงเอง” ขาพเจาไมมีคําตอบใหกับคําถามเหลานั้นอยางแนนอน ขาพเจาไดเรียนรูบทเรียนที่วา ความประทับใจเมื่อแรกพบนั้น บอยครั้งผิด และนั่นก็สอนใหขาพเจารูวา ขาพเจาไมควร ด ว นสรุ ป เร็ ว ไป สิ่ ง ที่ ข า พเจ า รู แ น น อนก็ คื อ ตั ว อย า งเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร แ ละสมั ย ใหม ทั้งหมดเหลานี้ แสดงใหเห็นถึงน้ําหนักแหงความไหลรื่นในระบบการปกครองในประเทศ ไทย คําตอบเหลานั้นก็จะมาถึง ขาพเจาเชื่อในผูหญิง และขาพเจาก็เชื่อในทางแหงการ ปฏิบัติ ไมวาจะเปนทางใดก็ตามที่หัวใจพาพวกเธอไป ดวยความปรารถนาดีที่สุดตอคุณ แอนวี ฮวอง นักศึกษาปริญญาโท มหาวิทยาลัยอินเดียนา สหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัยแหงชีวิต
12
Letter to my fellow sisters Dear my fellow sisters, I used to believe that my Vietnamese sisters and aunts and mothers and grandmothers worked too hard and sacrificed themselves for no good reasons. I left Vietnam 8 years ago to prove to them that I knew how to live a better life. My first impression as I arrived in Bangkok at the end of May 2009 was I felt like I was going back home to Vietnam. All the soi and roads are strewn with vendors, pedestrians, and cars. Most of the sellers or vendors are women. I saw women everywhere (we see what we want to see, right?) and they are bending over backward doing their 9-to-5 jobs plus their 24/7 one taking care of their families. (One minor difference is Thai women smile and laugh more frequently. This must help to fend off some stress and pressure of modern life that is weighing on them.) All my memories about Vietnam came back, with a vengeance. I was tempted to throw out my criticism again: that I think my fellow Thai sisters and aunts and mothers and grandmothers work too hard and sacrifice themselves for no good reasons. I quickly learn my lesson about the Thai way which changed my views of people and life around me. After two weeks at ThaiHealth, I have met numerous women who impressed me with their talents, and their charming and dynamic personality. Their work involves direct and constant contact with politicians. In its 8th year, the level of advocacy involved in the thousands of programs ThaiHealth supports and initiates to promote adoption of healthy behaviors among Thai people offers various lessons about health promotion in action for any foreign health professional visitor. I consider these women friends I have met Masters of the “art” of health promotion. This “art” includes coalition building, negotiation, advocacy, partnership, communication, and presentation skills.3 Their contribution to the development and maintenance of ThaiHealth is invaluable. With a female-male ratio of 3 to 1 or even 4 to 1 at ThaiHealth, I am witnessing modern “feminism” in practice the ThaiHealth way. Feminism is a controversial term meaning different things. What I mean here is simply an open atmosphere where women can develop their potential and ability, and work very effectively without barriers. Don’t get me wrong: I like men a lot, but I always admire women! And I agree with those who think that the gender issue is about
13
power. When talking about power, we then touch a core point of human beings.2 Thai history shows that Thai women are confident in their ability to make their voices heard and to use their power wisely. In 1805 during the reign of King Rama I, Amdaeng Pom asked a judge to allow her to divorce her husband and she succeeded. In 1865, during the reign of King Rama IV, 21-year-old Amdaeng Muan followed the voice of her heart and chose her own husband. The King ruled in her favor. In 1929, a royal consort named Patra stood up against domestic abuse among the upper classes. She brought her case to court. The King heard of it and intervened to solve her problem.1 Quoting others, I want to leave you with this statement: "It is interesting to see how women like Amdaeng Pom, Amdaeng Muan and Patra resisted tradition in their male-dominated society. Questions remain as to what triggered their courage; whether today's women have such courage; or whether that courage has been diminished by the legal system, education or the mistaken attitude of women themselves."1 I definitely don’t have the answers to all those questions. I have also learned my lesson that the first impression is often wrong, and that I should not jump to a quick conclusion. What I know for sure is that all these modern and historical examples speak volume for the fluidity of the governance system in Thailand. Answers are to come. I believe in women. And I believe in their course of action, whatever way their heart takes them. All my best to you, Anvi Hoang University of Life
References: Bandura, A. (1986) Social Foundations of Thought and Action. Prentice Hall, Englewood Cliffs, NJ. Eng, E., Salmon, M.E. and Mullan, F. (1992) Community empowerment: the critical base for primary healthcare. Family and Community Health. 15, 1-12.
Friere, P. (1973) Education for Critical Consciousness. Press, New York.
14
Seabury
Green, L., (1986) The theory of participation. Advances in Health Education and Promotion. 1, 211-236. Gruber, J. and Tricket, E.J. (1987) Can we empower others? The paradox of empowerment in governing an alternative school. American Journal of Community Psychology. 15, 353-372. Kari, N. and Michels, P. (1991) The Lazarus Project: the politics of empowerment. The American Journal of Occupational Therapy, 45, 719-725. Labonte, R. (1992) Heart health inequalities in Canada models, theory and planning. Health Promotion International, 7, 119128. Rappaport, J. (1981) In praise of paradox: a social policy of empowerment over prevention. American Journal of Community Psychology. 9, 1-25. Rappaport, J. (1987) Rerms of empowerment /examples of prevention: towards a theory of community psychology. American Journal of Community Psychology. 15, 121-147. Rappaport, J. (1985) The power of empowerment language. Social Policy. 16, 15-21. Rappaport, J. and Swift, C. and Hess, R. (1984) Studies in Empowerment: Steps Toward Understanding and Action. Haworth, New York. Rissel, C., (1994) Empowerment: the holy grail of health promotion? Health Promotion International. 9(1), 39-46. Smith, T. (1990) Poverty and health in the 1990’s. British Medical Journal. 301, 349-350. Swift, C., Levin, G. (1987) Empowerment: an emerging mental health technology. Journal of Primary Prevention. 8, 71-94. Torre, D. A., (1986) Empowerment: structured conceptualization and instrument development. PhD dissertation, Cornell University.
15
Wallerstein, N. (1992) Powerlessness, empowerment, and health: implications for health promotion programs. American Journal of Health Promotion. 6, 197-205. World Health Organization (1986) Ottawa Charter for Health Promotion, First International Health Promotion Conference. Ottawa, Canada. Zimmerman, M.A. and Rappaport, J. (1988) Citizen participation, perceived control, and psychological empowerment. American Journal of Community Psychology. 16, 725-743.