Evaluation

  • Uploaded by: Nattapol Kengkuntod
  • 0
  • 0
  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Evaluation as PDF for free.

More details

  • Words: 716
  • Pages: 9
ผมคิดและทําอยางไรกับการประเมินโครงการ ๑. เกริ่น ผมมีความเชื่อวาการประเมิน (Evaluation) เปนกิจกรรมที่สําคัญและมีประโยชนตอการ ดําเนินงานทุกประเภท ไมวาจะเปนการดําเนินงานขององคกรหรือการดําเนินงานของโครงการ เพราะผม คิดวาการประเมินเปนกลไกที่ดีและจําเปนสําหรับผูบริหารองคกรหรือผูบริหารโครงการ ผลการประเมิน และขอเสนอแนะจากผูประเมินจะเปนขอสนเทศที่ผูบริหารองคกรหรือผูบริหารโครงการสามารถ นํามาใชประกอบการพิจารณาในการปรับปรุงและพัฒนาการดําเนินงานขององคกรหรือของโครงการได อยางมาก ผมคิดวายกเวนคนที่เขาใจผิดคิดวากระบวนการประเมินเปนกระบวนการ “จับผิด” แลว คน สวนมากยอมเห็นพองตองกันวาการประเมินเปนสิ่งที่ดแี ละมีประโยชนตอการบริหารจัดการองคกรและ การบริหารจัดการโครงการอยางแนนอน แตประเด็นที่สําคัญและออกจะเปนปญหาเกีย่ วกับการประเมิน ก็คือ การที่มีนกั ประเมินที่มคี วามรูความเขาใจและมีความสามารถในดานกระบวนการประเมินและใน ดานการมองประเด็นเนื้อหาของสิ่งที่ประเมินไดทั้งมุมกวางและมุมลึกไดนอย โดยเฉพาะอยางยิ่งผู ประเมินที่มีความสามารถใหขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาองคกรหรือโครงการที่กําลังถูก ประเมินไดอยางสอดคลองกับความเปนจริง (Plausible and practical recommendations) ดวยเหตุดังนั้น ความจําเปนในการพัฒนาผูป ระเมินใหเปนผูที่มีความรูความสามารถและมีจริยธรรมในการประเมินจึง เปนเรื่องที่ผูเกีย่ วของทุกฝายตองใหความสนใจอยางจริงจังและหาทางสรางและพัฒนานักประเมิน คุณภาพใหเพิม่ มากขึ้น

๒. การเรียนรูบางประการจากการประเมิน โดยพื้นเพทางการศึกษา ผมมิไดเลาเรียนมาทางดานการประเมิน แมวาโดยอาชีพจักตองทํา การวัดและประเมินผลการเรียนของนักศึกษาอยูตลอดเวลาก็ตาม แตการวัดและประเมินผลการศึกษา แม จะมีหลักคิดบางอยางคลายกัน แตมีความตางจากการประเมินองคกรและการประเมินโครงการมากทีเดียว ผมเรียนรูเรื่องการประเมินจากการลงมือปฏิบัติจริงโดยเรียนรูจากเพื่อนรวมงานและหัวหนาโครงการ โดยเฉพาะอยางยิ่งในการประเมินโครงการที่ไดรับทุนสนับสนุนจากตางประเทศ จากการทํางานเปนผู รวมกับคณะผูป ระเมินที่หลากหลาย ทําใหผมเรียนรูจากประสบการณไดมากพอสมควร ตอเมื่อผมมี โอกาสลงมือทําการประเมินเองและตอมาทํางานในลักษณะหัวหนาโครงการประเมิน ชวยใหผมไดเรียนรู และมีขอสรุปบางประการเกีย่ วกับการประเมินโครงการ ดังนี้ (๑) การประเมินโครงการใด ๆ ก็ตาม ควรมีการประเมินอยางตลอดแนว กลาวคือ การ ประเมินโครงการควรกระทําตั้งแตกอนทีจ่ ะลงมือดําเนินงาน การประเมินในชั้นนี้อาจ 1

เรียกวา เปน Feasibility Study หรือ การประเมิน Impact ที่อาจจะเกิดขึ้นจากการ ดําเนินโครงการก็ได การประเมินที่เรียกวา Feasibility Study นั้นจะชวยใหผูบริหาร โครงการไดเรียนรูวามีความเปนไปไดเพียงใดในการดําเนินโครงการดังกลาว ทั้งใน แงของการนําโครงการลงสูการปฏิบัติและในแงของผลลัพธที่คาดหวังวาจะเกิดขึ้น เมื่อดําเนินโครงการจบสิ้นลง ผลการประเมินจะชวยใหผบู ริหารโครงการไดพิจารณา ปรับปรุงโครงการใหมีความเปนไปไดมากที่สุดทั้งในแงของการนําสูการปฏิบัติและ ในแงของผลลัพธที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการดําเนินโครงการ นอกจากนี้ผลการ ประเมินในลักษณะนี้ยงั ชวยเปนขอสนเทศใหกับผูสนับสนุนดานงบประมาณใช ประกอบการพิจารณาอีกทางหนึ่งดวย การประเมินในชวงนี้ควรดําเนินการโดยคณะ บุคคลหรือองคกรที่เปนอิสระและไมมีสว นไดเสียกับโครงการดังกลาว (๒) โครงการใด ๆ ก็ตามแมจะมีการพิจารณาอยางรอบคอบถี่ถวนและมีการทํา Feasibility Study แลวก็ตาม ในการนําโครงการลงสูการปฏิบัตมิ ีความเปนไปไดวาบริบทตางๆ ในชวงทีพ่ ัฒนาโครงการกับในชวงที่มกี ารนําโครงการลงสูการปฏิบัติอาจมีการ เปลี่ยนแปลงได และยังมีเงื่อนไขอื่น ๆ ที่ผูบริหารโครงการอาจจะไมอยูในวิสัยที่ ควบคุมไดเมื่อนําโครงการลงสูการปฏิบัติ เชน หาคนมารวมงานที่มีคณ ุ ภาพไมไดตาม แผน หรือ ไดคนมาทํางานชากวากําหนดการที่วางไวในแผนปฏิบัติการ (Operational Plan) หรือ การเบิกจายเงินลาชา หรือ ฯลฯ เพราะฉะนั้นเมื่อมีการดําเนินโครงการไป ระยะหนึ่ง สมมุติวา ๖ เดือน (ขึ้นอยูก ับประเภทของโครงการ) ความจําเปนในการ ประเมินอาจมีอีกก็ได การประเมินประเภทนี้เรียกวา Formative Evaluation หรือ On-going Evaluation การประเมินในชวงนี้ อาจดําเนินการโดยผูบริหารโครงการเอง การประเมินในลักษณะนีเ้ รียกกันวา Internal Evaluation หรือการประเมิน “ภายใน” การประเมินโดยฝายผูดําเนินโครงการนี้ ผลการประเมินจะเปนประโยชนตอผูบริหาร โครงการอยางมากเพราะจะสามารถนําผลการประเมินและขอเสนอแนะจากคณะผู ประเมินมาใชประกอบการพิจารณาปรับเปลี่ยนแผนการทํางานหรือวิธีการทํางาน ภายในโครงการใหมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพมากขึน้ อีกทั้งยังเปนการสงเสริมสิ่ง ที่เรียกวาธรรมาภิบาลของการดําเนินโครงการอีกโสดหนึ่งดวย นอกจากนี้ในแงของ ผูสนับสนุนดานงบประมาณก็ยังสามารถติดตาม (Monitor) กระบวนการดําเนินงาน ของโครงการโดยดูจากรายงานผลการประเมินภายในของโครงการนั้น ๆ ไดอีกดวย (๓) โครงการใด ๆ ก็ตามเมื่อดําเนินการสิ้นสุดลง ควรตองมีการประเมินเพื่อที่จะทําให ทราบวาการดําเนินการที่ผานมาไดผลลัพธตามที่คาดหวังไวหรือไมมากนอยเพียงใด และถาหากมีการดําเนินการโครงการตอไปอีก จักตองมีการปรับปรุงและพัฒนาใน สวนใดบางหรือไม การประเมินในชวงนี้เรียกกันวา Summative Evaluation หรือ 2

End of Project Evaluation การประเมินในชวงนี้สวนมากเปนการประเมินโดยคณะ บุคคลหรือโดยองคกรที่สนับสนุนงบประมาณหรือองคกรที่มีหนาที่อนุมัติโครงการ เปนผูรับผิดชอบในการดําเนินการ การประเมินในระยะนี้มีความสําคัญมากเพราะจะ ชวยใหทุกฝายที่เกี่ยวของไดเรียนรูวา การดําเนินโครงการประสบความสําเร็จตาม วัตถุประสงคที่วางไวหรือไม มากนอยเพียงใด และถาหากจะมีการดําเนินงาน โครงการดังกลาวตอไปอีกหรือโครงการอื่น ๆ ที่มีลักษณะคลายคลึงกัน มี ขอเสนอแนะใหมีการปรับปรุงหรือปรับเปลี่ยนในสวนใดบาง ขอมูลสนเทศจากผล การประเมินนีจ้ ะชวยประกอบการตัดสินใจของผูใหการสนับสนุนดานงบประมาณ และผูที่มีอํานาจในการอนุมัตโิ ครงการอยางมากทีเดียว (๔) การประเมินโครงการใด ๆ ก็ตาม จุดที่สําคัญมากที่สุดคือการใหขอเสนอแนะที่ตั้งอยู บนผลของการประเมิน และขอเสนอแนะที่ดีและมีประโยชนตอผูบริหารโครงการ และผูใหทนุ สนับสนุนมากทีส่ ุด เปนขอเสนอที่มีความเปนไปไดจริงในการนําไป ปรับปรุงแกไขหรือพัฒนา เพราะฉะนัน้ ผูประเมินจึงตองเปนผูที่มีความเขาใจใน มโนทัศนและเจตนารมณหรือวัตถุประสงคของโครงการอยางชัดแจง และที่สําคัญ กวานัน้ คือผูประเมินตองมีความเขาใจในเนื้อหาสาระของเรื่องที่เปนโครงการอยางดี และมองไดกวางและลึกกวา จึงจะสามารถใหขอเสนอแนะไดอยางเปนรูปธรรมและ สามารถนําไปปฏิบัติไดจริง (๕) จากประสบการณอันจํากัดของผมบอกผมวา ผูบริหารโครงการและผูสนับสนุนดาน งบประมาณใหความสนใจและเอาจริงเอาจังกับผลการประเมินโครงการแตกตางกัน มาก ในหลาย ๆ กรณีทั้งผูบริหารโครงการและผูสนับสนุนดานงบประมาณไมให ความสนใจหรือใหความเอาจริงเอาจังกับผลการประเมินมากนัก ผูบริหารโครงการ จํานวนมากทีส่ นใจเพียงวาผลการประเมินออกมาในทางบวกหรือไม ผูสนับสนุนดาน งบประมาณบางรายสนใจเฉพาะกฎเกณฑและระเบียบดานการใชเงินของการทําการ ประเมินมากกวาการใหความสนใจกับผลการประเมินและขอเสนอแนะของผูประเมิน แนนอนวาความสนใจตอขอเสนอแนะของผูประเมินยอมขึ้นอยูกับความนาเชื่อถือ ของผลการประเมินของผูประเมินดวย

๓. เมื่อผมรับประเมินโครงการ: ประสบการณสวนตัวอันจํากัด ตั้งแตรับทําการประเมินโครงการมาจนถึงปจจุบัน ผมไมเคยจัดทําขอเสนอใหกับองคกรใดๆ เพื่อทําการประเมินโครงการ การทําโครงการประเมินทั้งหมดที่ผมเคยทํา เปนการติดตอขอใหผมชวยทํา ทั้งสิ้น ไมวาเปนการประเมินโครงการขององคกรตางประเทศหรือองคกรภายในประเทศ เพราะฉะนั้น

3

ประสบการณของผมจึงอาจแตกตางกับของผูอื่นในแงนี้ ในกรณีที่ผมไดรับการชักชวนใหเขารวมทีมการ ประเมินในฐานะผูประเมินผมมีวิธีการดําเนินการตางกันกับการเปนผูรบั ผิดชอบในฐานะหัวหนาคณะผู ประเมิน ในกรณีแรกนัน้ ผมทํางานตามที่หวั หนาทีมการประเมินมอบหมาย ความรับผิดชอบของผมมี เพียงการทํางานสวนที่ไดรับมอบหมายใหทําเทานั้น เพราะฉะนัน้ จึงไมมีเรื่องราวอะไรมากมายที่จะเลาสู กันฟง นอกจากบอกไดวาหัวหนาทีมการประเมินมีความสําคัญมาก เพราะตองควบคุมกระบวนการ ประเมินใหมปี ระสิทธิภาพและมีความนาเชื่อถือ หัวหนาทีมประเมินจะชวยใหลูกทีมเกิดการเรียนรูใน เรื่องตาง ๆ ไดมากผานการพูดคุยซักถามและการเขารวมแลกเปลี่ยนกับผูรวมทีมคนอื่น ๆ อยางสม่ําเสมอ ในกรณีที่ผมเปนหัวหนาทีม เมื่อผมไดรับการชักชวนใหทําการประเมินโครงการและเมื่อผม สนใจที่จะทําการประเมิน ผมมักจะทํางานตามขั้นตอนตอไปนี้เสมอ คือ (๑) ผมขอขอเสนอโครงการที่ผูบริหารโครงการเสนอขอรับทุนสนับสนุนจากองคกรให ทุนมาเพื่อทําการศึกษาอยางละเอียดเพื่อจะไดทราบถึงเนือ้ หาสาระของโครงการและที่ สําคัญไดเขาใจถึงวัตถุประสงคของโครงการและวิธีการหรือกระบวนการที่โครงการ ดังกลาวเสนอไวตลอดจนรายละเอียดอื่น ๆ เชน งบประมาณของโครงการ ระยะเวลา ของโครงการ ผูรวมทีมทํางานในโครงการ ฯลฯ เมื่อผมมีความเขาใจในโครงการนี้ เปนเบื้องตนแลว ผมก็ดําเนินการขั้นตอไป (๒) หลังจากศึกษาทําความเขาใจกับโครงการแลวเห็นวาพอจะรับทําการประเมินไดผมก็ หารือกับผูที่ชักชวนใหผมทําการประเมินโครงการเกี่ยวกับโจทยการประเมิน หรือ กลาวอีกอยางหนึ่งก็คือ ผมตองการความชัดเจนวาจะใหผมประเมินเรือ่ งอะไรบาง ขอใหฝายที่ชักชวนผมบอกใหชัดเจน ในขัน้ นี้บางครั้งผมอาจมีขอเสนอแนะบางบน พื้นฐานของการไดศึกษาโครงการมาบางแลว เมื่อประเด็นที่จะทําการประเมินชัดเจน ผมก็ดําเนินการขั้นตอไป (๓) ในขั้นนี้ผมจะมองหาคนที่จะมารวมทีมโดยสื่อสารใหผูที่ผมขอใหมารวมทีมทราบวา ชวนเขามาทําอะไร ตองใชเวลามากนอยเพียงใด และถามถึงขอจํากัดของแตละคนที่ อาจจะมีในการทําโครงการประเมิน กลาวโดยสรุปก็คือทุกคนที่มารวมทีมตองรูทุก อยางเทากับทีผ่ มรู โดยปรกติแลวผมมักจะใหสําเนาโครงการกับทุกคนเพื่อไดศกึ ษา เมื่อผมไดผูรวมงานแลว ผมก็ดําเนินการขัน้ ตอไป (๔) ในขั้นตอมาผมขอเอกสารเกี่ยวกับโครงการที่จะทําการประเมินทั้งหมดจากผูที่ ทาบทามหรือชักชวนผม ซึ่งเอกสารเหลานีม้ ีตั้งแต รายงานความกาวหนาของ โครงการทุกฉบับ รายงานผลการประเมินภายใน (ถามี) รายงานการประเมินภายนอก (ถามี) รายงานการประชุมของคณะกรรมการกําหนดทิศทางของโครงการ (Steering Committee) และเอกสารอืน่ ๆ ที่โครงการผลิตขึ้น เปนตน เอกสารเหลานี้ผมขอใหผู

4

ที่ชักชวนผมทําการประเมินทําเปนหลายชุดเทากับจํานวนผูรวมทีมกับผม และสงใหผู รวมทีมกับผมทุกคนเพื่อศึกษาใหละเอียดทุกแงทุกมุม และในชวงที่ผูรวมทีมผมกําลัง ศึกษาเอกสารอยูผมก็ดําเนินงานขั้นตอไป (๕) ในขั้นนี้ผมดําเนินการหลังจากที่ผมศึกษาเอกสารทุกชิ้นเสร็จแลว เปนขัน้ ของการ เขียนขอเสนอโครงการประเมิน (Proposal for Project Evaluation) โดยนํา วัตถุประสงคของการประเมินที่ไดรับการระบุจากขอ (๒) ในการเขียนขอเสนอนี้ จะ ครอบคลุมถึงประเด็นหลักๆ เชน วัตถุประสงคของการประเมิน วิธีวทิ ยาของการ ประเมิน ซึ่งในเรื่องนี้ครอบคลุมทั้งเรื่องหนวยการวิเคราะห การออกแบบการประเมิน วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล ระยะเวลาที่ใช จํานวนเงินงบประมาณที่ เสนอซึ่งครอบคลุมคาใชจายสามประเภท คือ คาตอบแทนผูทํางาน คาดําเนินการ และ คาเหมาจายในกรณีที่ไมสามารถหาใบสําคัญรับเงินได เชนคารถรับจาง (Taxi) หรือ คาโทรศัพท เปนตน หลังจากนั้นสงใหผูรวมทีมไดศกึ ษาและใหขอเสนอแนะเพื่อการ ปรับแก กอนเสนอใหหนวยงานที่วาจางใหทําการประเมินพิจารณา ในชวงของการ พิจารณาอาจใชเวลามากบางนอยบางขึ้นอยูกับกระบวนการของหนวยงานที่วาจาง และในบางกรณีอาจมีการพบปะเพื่อทําความเขาใจในประเด็นที่อาจไมชัดเจนใน ขอเสนอหรือมีการตอรองในเรื่องงบประมาณ แลวแตกรณีและในบางกรณีอาจตองนํา ขอเสนอมาปรับปรุงแกไขตามขอเสนอแนะของ Readers ที่หนวยงานวาจางขอให วิเคราะหขอเสนอโครงการที่เสนอไปก็ได หากทั้งสองฝายคือผูวาจางและผูเสนอ โครงการตกลงกันไดในทุกประเด็น ก็มีการทําสัญญากันตอไป (๖) เมื่อทําสัญญาเรียบรอยแลว ผมจะนัดประชุมทีมงานเพื่อทําความเขาใจรวมกันวามีงาน อะไรบางที่ตองทํา และมีการแบงความรับผิดชอบวาใครทําอะไร ใครควรทํางาน รวมกับใคร พรอมกับวางแผนปฏิบัติการรวมกันโดยกําหนดระเวลาใหสอดคลองกับ ระยะเวลาที่เสนอไวในขอเสนอโครงการ เมื่อตกลงกันไดเรียบรอยก็เปนหนาที่ของ หัวหนาโครงการที่จะบริหารโครงการใหเปนไปตามแผนปฏิบัติการ (๗) ขั้นตอนที่สําคัญอีกประการหนึ่งที่ผมมักจะทําเสมอก็คือการนัดพบปะกับทีมงานอยาง ตอเนื่องตามระยะเวลาที่คิดวางานบางขั้นบางตอนสิ้นสุดลงในการพบปะกันก็จะมีการ ตรวจสอบขอมูลวามีความครบถวนนาเชื่อถือหรือไม และตองทํางานอะไรเพิ่มเติม เปนตน การประชุมพบปะครั้งที่สําคัญที่สุดก็คือการประชุมพรอมกันโดยนําขอมูลที่ เก็บรวบรวมไดทั้งหมดมาวิเคราะหรวมกันเพื่อทําการประเมิน ซึ่งมักจะใชเวลามาก พอสมควร เพราะฉะนัน้ ในทางปฏิบัติแลวในฐานะหัวหนาโครงการผมจะทําการ วิเคราะหขอมูลเบื้องตนมากอนและมีขอคิดสวนตัววาผลการประเมินในแตละประเด็น ตามโจทยการประเมินเปนอยางไร เพราะฉะนั้นเมื่อมาประชุมรวมกันและวิเคราะห 5

รวมกันผมมักจะใชการตั้งคําถามและซักไซรไลเรียงเพื่อนรวมทีมโดยเอาผลจากการ วิเคราะหลวงหนาของผมมาเปนประเด็นในการซักถาม เมื่อไดผลการวิเคราะหและประเมินตามประเด็นทีไ่ ดรับโจทยการประเมินมาแลว ประเด็นใดที่มขี อมูลไมเพียงพอหรือไมหนักแนนพอตอการลงมติในการประเมิน ผม มักจะขอใหผทู ี่รับผิดชอบในสวนนัน้ ไปหาขอมูลเพิ่มเติมจนกวาไดขอ มูลที่มีน้ําหนัก พอเพียงเชื่อถือได ผมคิดวาสวนนี้มีความสําคัญมากเพราะในฐานะนักประเมิน เราตอง มีความเปนธรรมทั้งกับผูบริหารโครงการและผูที่วาจางใหเราประเมินโครงการ ดวย เหตุดังนั้นขอสรุปหรือผลการประเมินที่ทมี ประเมินมีมติลงไป เราตองอธิบายไดดว ย เหตุผลและมีขอ มูลสนับสนุนอยางพอเพียงและเชื่อถือได มิฉะนัน้ เราอาจกอใหเกิด ความลําเอียงกับฝายใดฝายหนึ่งไดซึ่งเปนสิง่ ที่นักประเมินมืออาชีพพึงตระหนักให มาก (๘) เมื่อมีมติในการประเมินตามประเด็นที่ตั้งโจทยไวเสร็จแลว ขั้นตอมาคือการคิดถึง ขอเสนอแนะ (Recommendations) โดยพยายามคิดถึงขอเสนอแนะทีส่ ามารถนําไป ปฏิบัติไดจริงโดยปรกติและในการเขียนขอเสนอแนะ ผมมักจะแยกออกเปนสองสวน คือ (๑) ขอเสนอแนะสําหรับองคกรที่สนับสนุนงบประมาณใหกับโครงการและ (๒) ขอเสนอแนะใหกับผูบริหารโครงการ (ในกรณีที่มีการดําเนินโครงการตอ) ขั้นตอนนี้ ถือไดวาสําคัญที่สุดของการทําการประเมินโครงการ และเปนขั้นตอนที่ทําไดไมงาย สําหรับนักประเมินมือใหมที่มีประสบการณนอยหรือแมแตผูที่มีประสบการณดาน การประเมินมามากแตถาหากเปนผูที่ไมตดิ ตามความเคลื่อนไหวและความกาวหนาใน เรื่องที่ทําการประเมินก็อาจทําใหมองเห็นประเด็นทีจ่ ะทําการเสนอแนะไมกวางและ ไมลึกพอ ดังจะเห็นไดบอย ๆ วาขอเสนอแนะของการประเมินโครงการมีลักษณะ ดาด ๆ ไมคอยมีประโยชนกับผูอานรายงานผลการประเมินมากนัก หรืออยางที่มีผู กลาวแบบไมกลัวโกรธวา “ถามีขอเสนอแนะแบบนี้ ไมตองเสียเงินและเสียเวลา ประเมินก็ได เพราะผูที่เกี่ยวของกับโครงการรูกันดีอยูแ ลว” เปนตน (๙) ขั้นตอไป เปนขั้นการเขียนรายงานการประเมิน โดยปรกติแลวในฐานะหัวหนา โครงการผมมักจะเปนผูเขียนโครงราง (Outline) และเขียนรายงานทั้งหมดเอง แตมี บางกรณีที่ผมเขียนโครงรางและเขียนรายงานบางสวนกอนแลวใหเพื่อนรวมทีมบาง คนเขียนในบางสวนที่มีรายละเอียดมากซึ่งมักเปนสวนทีผ่ มมิไดทําดวยตนเองในชวง ที่เขียนรายงานผลการประเมินนี้ โดยมากมักจะเตรียมการทําบทสรุปเพื่อผูบริหารและ การเตรียมทําบทเสนอปากเปลา (Oral Presentation) ใหกับผูวาจางรับฟงกอนดวย และหากมีสวนใดที่ตองปรับปรุงแกไข ทีมก็จะนํามาปรับปรุงแกไขกอนสงรายงาน ฉบับสมบูรณใหกับผูวาจาง เปนอันจบงานตามสัญญา 6

ในการเขียนรายงานนี้ ประสบการณผมบอกผมวา ผูวาจางบางรายแมจะยอมรับผลการ ประเมินที่ทีมประเมินนําเสนอทางวาจา แตมักจะขอใหทีมประเมินเขียนรายงานดวย ถอยคําภาษาทีอ่ านแลวไมสงผลกระทบในทางลบตอหนวยงานที่เกีย่ วของ เพราะบาง กรณีเปนเรื่องออนไหว (Sensitive) ทางการเมืองหรือทางดานอื่น ๆ ซึ่งนักประเมิน ตองตระหนักในประเด็นนีด้ ว ยเชนกัน แมวานักประเมินจําเปนตองรักษา Integrity ของความเปนนักประเมินไวก็ตาม (๑๐) การเขียนรายงานผลการประเมินนี้ผมมีประเด็นที่ตองการพูดถึงอยูอีกประเด็นหนึ่งคือ รายงานการประเมินควรครอบคลุมเรื่องอะไรบาง ผมคิดวาเรื่องนี้เกี่ยวโยงถึง เจตนารมณของการประเมิน กลาวคือ ผูวาจางใหทําการประเมินตองการใชผลการ ประเมินไปเพือ่ เปาหมายอันใด ถาเปาหมายของการประเมินอยูที่ตองการทราบวา โครงการที่ไดรับการสนับสนุนใหมีการดําเนินการประสบความสําเร็จตาม วัตถุประสงคที่ผูเสนอโครงการเสนอไวหรือมากนอยเพียงใด การไดรบั รายงานวาผล การดําเนินการโครงการเปนอยางไรก็นาจะพอแลว แตถา เปาหมายของการประเมิน ตองการจะรูว าเมื่อผลประเมินเปนอยางที่สรุปมาแลว ผูประเมินมีขอเสนอแนะ อะไรบางที่จะทําใหการบริหารหรือการดําเนินการโครงการดังกลาวใหดีขึ้น มี ประสิทธิภาพมากขึ้นและบรรลุวัตถุประสงคที่เสนอไว การเขียนรายงานผลการ ประเมินก็ตองครอบคลุมประเด็นนี้ดว ย และถาตองการทราบตอไปอีกวาการที่ โครงการดังกลาวประสบความสําเร็จนอยหรือไมประสบความสําเร็จมาจากเหตุปจจัย อะไร การตั้งโจทยและการเขียนรายงานตองครอบคลุมประเด็นเหลานี้ดวย อยางไรก็ ตามไมวาเปาหมายของการประเมินเปนเชนไร ผูอานรายงานผลการประเมินตองการ ความแนใจวาผลการประเมินหรือขอวินจิ ฉัยที่ปรากฎอยูในรายงานนัน้ เชื่อถือได หรือไม มากนอยเพียงใด หรือ ขอเสนอแนะที่ผูประเมินเสนอไวนนั้ มีเหตุมีผลหรือมี น้ําหนักหรือไม มากนอยเพียงใดและสามารถนําไปปฏิบัติไดจริงหรือไม เพราะฉะนัน้ ในรายงานผลการประเมินจึงตองมีการเขียนรายงานใหเห็นถึงวิธีวิทยาการประเมิน อยางละเอียดทุกขั้นตอน และจะดีที่สุดถาบอกวาแหลงขอมูลและวิธีการเก็บรวบรวม ขอมูลคืออะไร เพราะความนาเชื่อถือของผลการประเมินขึ้นอยูกับความนาเชื่อถือของ ขอมูลที่นํามาวิเคราะห และความนาเชื่อถือของขอมูลขึ้นอยูกับความนาเชื่อถือของ แหลงขอมูลและวิธีการเก็บและรวบรวมขอมูล ดวยเหตุดังนั้นผมจึงคิดวาสวนเหลานี้มีความสําคัญมากในการเขียนรายงานผลการ ประเมิน สวนที่ผมไมคอยเห็นดวยหรือเห็นดวยนอยที่สุดคือการเขียน (ลอก) รายละเอียดของโครงการ ซึ่งบางครั้งมีความยาวมาก และผูที่วาจางก็รูรายละเอียดดีอยู แลว แตถาวัตถุประสงคของการประเมินอยูที่ตองการใหรายงานผลการประเมินไดรบั 7

การอานกันในวงกวาง รายละเอียดเกีย่ วกับโครงการอาจจะเปนประโยชนเพราะชวย ใหผูอานรูวาการประเมินนั้นเปนการประเมินโครงการอะไรมีรายละเอียดอยางไร ผม มักจะไดรับการวิพากษเสมอวา รายงานการประเมินที่ผมรับทํามีขนาดไมยาวมากนัก เพราะผมเขียนรายงานตามเจตนารมณของการประเมินกลาวคือเพื่อเปนเครื่องมือ ประกอบการตัดสินใจของผูบ ริหารโครงการหรือของผูใหทุนสนับสนุนโครงการ ผม จึงไมนยิ มเขียนรายละเอียดของโครงการใหดูเปนเลมหนา ๆ เปนที่ประทับใจ แตสาระ ไมมีความสลักสําคัญอะไร (๑๑) จากการทํางานดานการประเมินมาบางและทําวิจัยมาบางเล็กนอย ชวยใหผมไดขอ สรุปวา มโนทัศน (Concept) ของการประเมินกับการวิจยั ไมเหมือนกันแมวาวีธี การ ในบางดานอาจจะละมายคลายคลึงกันก็ตาม ขอแตกตางที่สําคัญระหวาการวิจยั กับการ ประเมิน ก็คือ (๑) การประเมินโครงการโดยทั่วไปมีหนวยการวิเคราะห (N) เพียง หนึ่งเดียวในขณะทีก่ ารวิจยั โดยทัว่ ไปหนวยการวิเคราะหมีมากกวาหนึ่ง และ (๒) การ ประเมินโครงการมีการ “ตัดสิน” วาการดําเนินโครงการเปนอยางไร บรรลุ วัตถุประสงคหรือไม เปนตน ในขณะทีก่ ารวิจัยไมมีการตัดสิน แตการประเมิน โครงการกับการวิจัยเหมือนกันในแงทวี่ าทั้งสองเรื่องตองการตั้ง “โจทย” และการตัง้ โจทยมีความสําคัญมากตอผลของการทําการประเมินและการทําวิจัย นอกจากนีว้ ิธีการ เก็บและรวบรวมขอมูลทั้งสองเรื่องนี้อาจใชวิธีเดียวกันได

๔. สรุป การประเมินโครงการที่จะมีประโยชนตองมีองคประกอบหลักอยางนอยสองดาน คือ (๑) เจาของโครงการอันไดแกผูบริหารโครงการและผูใหทุนสนับสนุนโครงการมีความจริงใจที่จะใชผลการ ประเมินมาเปนกลไกอยางหนึ่งในการปรับปรุงพัฒนาการดําเนินโครงการใหมีประสิทธิภาพและมี คุณภาพ ถาเจาของโครงการไมสนใจคุณภาพเสียแลว การประเมินโครงการก็ไมมีประโยชน (๒) นัก ประเมินตองมีความรูความสามารถในวิธีวทิ ยาการประเมินและมีเขาใจในเนื้อหาสาระของโครงการที่ทํา การประเมินทัง้ ในระดับกวางและระดับลึกอยางพอเพียง การไดนกั ประเมินที่เปนเพียงนักเทคนิคจะไมมี ประโยชนในการทําการประเมินโครงการ ที่สําคัญนักประเมินโครงการตองรับทําโครงการประเมินดวย ความเขาใจวาผลการประเมินจะเปนสวนชวยใหการดําเนินโครงการประเมินมีประสิทธิภาพและมี คุณภาพมากขึน้ มิใชรับทําประเมินเพียงเพราะเปนงานทีช่ วยเพิ่มรายไดใหกับผูรับทําการประเมินเทานั้น อยางไรก็ดี ผูรบั ผิดชอบโครงการหรือผูวาจางก็ชอบที่จะเห็นคุณคาของผลงานการประเมิน (ของนัก ประเมินที่มีฝม ือ) ดวยเชนเดียวกัน

8

ดวยเหตุดังนั้นจึงมีความจําเปนและมีความสําคัญมากในการสรางความเขาใจและพัฒนานัก ประเมินโครงการที่มีความรูค วามสามารถและมีทัศนะตอการประเมินที่ถูกตองใหมากขึ้นในสังคมไทย เพราะในปจจุบันมีโครงการจํานวนมหาศาลที่ใชเงินภาษีอากรรราษฎรทั้งทางตรงและทางออมจึงตองชวย ใหผูรับผิดชอบมีความรับผิดและรีบชอบตอโครงการอยางแทจริง (Accountable to the tax-payers) การทําการประเมินโครงการที่ดี ควรจะเปนการทํางานรวมกันอยางใกลชิดระหวางเจาของ โครงการกับนักประเมิน เพื่อจะไดเขาใจถึงเจตนารมณของการประเมิน รูและเขาใจถึงเปาประสงคของ การประเมิน เพื่อจะไดผลการประเมินที่ดแี ละสามารถนําไปใชประโยชนไดจริง

นายอุทัย ดุลยเกษม ๑๒ พ.ย. ๒๕๕๒

9

Related Documents

Evaluation
June 2020 11
Evaluation
May 2020 15
Evaluation
May 2020 12
Evaluation
November 2019 24
Evaluation
April 2020 24
Evaluation
November 2019 40

More Documents from ""