World Health Assembly 62

  • Uploaded by: Nattapol Kengkuntod
  • 0
  • 0
  • May 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View World Health Assembly 62 as PDF for free.

More details

  • Words: 556
  • Pages: 6
รายงาน: การประชุมสมัชชาอนามัยโลก สมัยที่ 62 ระหวางวันที่ 18-23 พฤษภาคม 2552 ณ Palais des Nationa กรุงเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส

สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.)ไดมอบหมายให ทพ.ศิริเกียรติ เหลียงกอบกิจ (ผอ.สํานัก2) และนางสาวธันวธิดา วงศประสงค(นักวิชาการดานตางประเทศ) เขารวมการประชุมสมัชชา องคการอนามัยโลกครั้งที่ 62 (62nd World Health Assembly: 62nd WHA) ที่นครเจนีวา สมาพันธรัฐ สวิส ระหวางวันที่ 18-23 พฤษภาคม 2552 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ 1) สกัดประเด็นสําคัญจากผลการ ประชุมฯ มาใชในการพัฒนาหรือปรับแผนและภารกิจของ สสส. 2) สรางเครือขายการทํางานระหวาง สสส. กับหนวยงานตางๆ และ 3) พัฒนาสมรรถนะบุคลากร ซึ่งสามารถสรุปความเปนมาและผลจาก การเขารวมประชุมได ดังนี้ 1. การประชุมสมัชชาองคการอนามัยโลก (World Health Assembly : WHA) จัดขึ้นเปนประจํา ทุกป ที่สํานักงานใหญองคการสหประชาชาติ ณ กรุงเจนีวา WHA เปนกระบวนการสมัชชาที่เนน ความมีสวนรวมของประเทศสมาชิก เพื่อหาขอมติรวมในการ 1)กําหนดการทํางานของ WHO และ 2) จัดทําขอเสนอสําหรับการทํางานของประเทศสมาชิก และองคการที่เกี่ยวของ

1

2.

คณะผูแทนไทยที่เขารวมประชุมครั้งนี้ ประกอบดวย ผูแทนจากหนวยงานตางๆ ทั้งในและนอก กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งแบงเปน 2 กลุมใหญๆ คือ กลุ ม แรก กลุ ม ผู บ ริ ห าร มี หั ว หน า คณะคื อ รมว.สธ.และคณะผู ติ ด ตาม จํ า นวน ประมาณ 38 คน ซึ่งสวนใหญเปนผูบริหารระดับสูงของกระทรวงสาธารณสุข โดยมีนัดหมายการ เจรจาและลงนามความรวมมือระหวางประเทศไทยกับองคการระหวางประเทศในเรื่องตางๆ ที่ สําคัญ ไดแก การถายทอดเทคโนโลยีในการผลิตวัคซีนเพื่อปองกันการแพรระบาดของไขหวัดใหญ กลุ ม ที่ ส อง เป น คณะทํ า งานด า นวิ ช าการ ซึ่ ง ทํ า การศึ ก ษาและเตรี ย มข อ เสนอ (intervention) สําหรับทุกระเบียบวาระการประชุมดานวิชาการ(และบางระเบียบวาระดานบริหารที่ เกี่ยวของ เชน แผนยุทธศาสตรระยะกลางและขอเสนองบประมาณขององคการอนามัยโลก) กลุม วิชาการนี้มีจํานวน 15 คนประกอบดวยผูแทนจากหนวยงานและองคการตางๆ ไดแก กรมควบคุม โรค, กรมอนามัย, สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, สํานักพัฒนานโยบายสุขภาพระหวาง ประเทศ (IHPP), สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ, มหาวิทยาลัยมหิดล และ สสส. โดย กลุมนี้มี นพ.สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ และ นพ.วิโรจน ตั้งเจริญเสถียร เปนที่ปรึกษาในการเตรียม intervention เพื่อเสนอในที่ประชุมสมัชชาฯ

3. 62nd WHA กําหนดระเบียบวาระการประชุมพิจารณาดานวิชาการไว 10 เรื่อง และระเบียบ วาระการรายงานความกาวหนา(มีการรายงาน 12 หัวขอ) ซึ่งทีมวิชาการไทยแตละคน จะไดรับ มอบหมายใหรับผิดชอบเตรียมการในระเบียบวาระที่เกี่ยวของกับพันธกิจของหนวยงาน เปนการ ลวงหนาประมาณ 1 เดือนกอนการเดินทาง และไปจัดทํา intervention ที่ใชจริงในชวงการประชุม ระเบียบวาระที่สําคัญ 10 เรื่อง ในการประชุมครั้งนี้ ไดแก

2

แผนยุทธศาสตรระยะกลาง 2551-56 และขอเสนองบประมาณของ WHO 2553-54 2) การเตรียมรับการระบาดของไขหวัดใหญ และการเขาถึงวัคซีน 3) กฎหมายระหวางประเทศ 4) การปองกันภาวะตาบอด 5) สุขภาพปฐมภูมิและการสรางความเขมแข็งตอระบบสุขภาพ 6) การลดความไมเปนธรรมทางสุขภาพ โดยการดําเนินการดานปจจัยทางสังคมที่มีผลตอ สุขภาพ 7) การติดตามการบรรลุเปาหมายแหงสหัสวรรษ 8) การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศและผลกระทบตอสุขภาพ 9) การสาธารณสุข นวัตกรรมและทรัพยสินทางปญญา 10) การปองกันและควบคุมวัณโรค 1)

สําหรับระเบียบวาระรายงานความกาวหนา จะเปนการรายงานความกาวหนาของการดําเนินงาน ตามระยะเวลาที่กาํ หนดใน Resolutions จากผลการประชุมในปที่ผานๆมา เชน การกวาดลางโรค โปลิโอ การสรางความเขมแข็งของระบบขาวสารดานสุขภาพ หลักประกันสุขภาพอนามัยแมและ เด็ก การใชยา เปนตน 4. ระเบียบวาระการประชุมที่เกี่ยวของกับ สสส. มีสาระสําคัญสรุปได ดังนี้ 4.1 แผนยุทธศาสตรระยะกลาง 2551-56 และขอเสนองบประมาณของ WHO 2553-54 แผนยุทธศาสตรระยะกลางและขอเสนองบประมาณของ WHO สําหรับสองปขางหนา (biennium) ประกอบดวย strategic objectives 13 ขอ และตัวชี้วัดของแตละขอ ครอบคลุม ปญหาสุขภาพทั้งโรคติดตอทั่วไป HIV/AIDS โรคไมติดตอ งานอนามัยแมและเด็ก ปจจัยเสี่ยงทาง สุขภาพ การเขาถึงยาที่มีคุณภาพ และระบบบริการสุขภาพ ประเทศไทยไดเรียกรองให WHO เพิ่ม งบประมาณ เรงการดําเนินงาน และเพิ่ม Targeted Countries เปน 2 เทาในตัวชี้วัดของStrategic Objective ที่ 6 เรื่องการสรางเสริมสุขภาพ การปองกันและลดความเสี่ยงจากการสูบบุหรี่ การดื่ม เครื่องดื่มแอลกอฮอล การใชสารเสพติด อาหารไมปลอดภัย การขาดการออกกําลังกาย และ ปญหาสุขภาวะทางเพศ โดยมีประเทศสมาชิกอื่นๆ แสดงเสียงสนับสนุน ที่ประชุม มีมติรับขอเสนอ

3

4.2 การลดความไมเปนธรรมทางสุขภาพ โดยการดําเนินการดานปจจัยทางสังคมที่มีผล ตอสุขภาพ ระเบียบวาระนี้ มีเอกสารประกอบที่สําคัญคือรายงานฉบับสมบูรณของคณะกรรมาธิการ วาดวยปจจัยทางสังคมทีมีผลตอสุขภาพ (Commission on Social Determinants of Health) ที่ เสนอโดยมีขอมูลหลักฐานยืนยันหนักแนนวา ปจจัยทางสังคม(ซึ่งรวมถึงปจจัยดานเศรษฐกิจ การเมือง และสิ่งแวดลอม)เปนตัวกําหนดสําคัญตอการมีสุขภาพดีอยางเสมอภาคของคนในทุก สังคม และเสนอใหประเทศสมาชิกและองคการระหวางประเทศใหความสําคัญกับปจจัยทาง สังคมที่มีผลกระทบตอสุขภาพ(Social Determinants of Health: SDH) โดยมีขอแนะนําหลักสาม ประการไดแก (1) การปรั บปรุง สภาพชีวิ ตประจํา วั น (2) การจัดให มีก ารกระจายอํา นาจและ ทรัพยากรอยางเปนธรรม และ (3) ทําความเขาใจถึงปจจัยดานสังคมตางๆ และเฝาระวังความไม เสมอภาคดานสุขภาพ (health inequity) รวมถึงการประเมินผลกระทบตอสุขภาพและประสิทธิผล ของมาตรการดานสุขภาพ ทั้งนี้ รางขอมติเกี่ยวกับ ปจจัยทางสังคม ที่นําเขาสูการพิจารณาครั้งนี้ มีสาระสําคัญ คือ เนนกระตุนใหองคการอนามัยโลกและประเทศสมาชิกจัดการกับปจจัยทางสังคมดานตางๆ ที่มีผล ตอสุขภาพ แตรางขอมติยังขาดความชัดเจน ประเทศไทยในนามของกลุมประเทศภาคพื้นเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต(SEAR) ไดเสนอความเห็นใหมีการปรับปรุงรางขอมติใหเปนรูปธรรมชัดเจนขึ้น และผนวกรวมมาตรการในการจั ด การกับป จจั ย เสี่ย งทางสั ง คมที่ มี ผ ลลบต อสุ ข ภาพในระดั บ นานาชาติ (global governance mechanism) ซึ่งเปนขอเสนอที่มีอยูแลว ในรายงานของ Commission on SDH ซึ่งมีหลายประเทศสมาชิกใหการสนับสนุนขอเสนอดังกลาว ที่ประชุมมีมติเห็นชอบ

4

5. กิจกรรมนอกการประชุม 62nd WHA สสส.ในฐานะตัวแทนประเทศไทย ไดนําเสนอผลงานในหัวขอ “Policy for Health Promotion and health determinants in Thailand: the case study of ThaiHealth” ใน PreWHA Civil Society Forum ภายใตชื่อเรื่อง “Equity, Justice and Health” ที่จัดขึ้นระหวางวันที่ 15-16 พฤษภาคม 2552 ณ Webster University, Geneva โดยองคกรเครือขายภาคประชาสังคม ระดับนานาชาติ อาทิเชน People’s Health Movement และ Third World Network ซึ่งมี วัตถุประสงคเพื่อผลักดันประเด็นปจจัยทางสังคม ในการประชุมสมัชชาฯ ใหมีความชัดเจนในการ นําไปขับเคลื่อนใหเกิดความเสมอภาคดานสุขภาพในทุกระดับ การเขารวมนําเสนอครั้งนี้ ทําใหได ทราบวา เครือขายภาคประชาสังคมกลุมนี้ซึ่งเนนการทํางานดานสุขภาพ มีภาคีอยูทั่วทุกภูมิภาค และมีสวนในการผลักดันประเด็นดานสุขภาพในเวที WHA มาอยางตอเนื่อง

6. สรุปผลที่ไดรับจากการเขารวมประชุมสมัชชาอนามัยโลก สมัยที่ 62 6.1 ขอตกลงทีไ่ ดจาก 62nd WHA เปนประโยชนตอ สสส. ในการใชเปนกรอบพิจารณาปรับปรุง แผนหลัก โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในขอมติจากระเบียบวาระเรื่องการลดความไมเปนธรรมทาง สุขภาพ โดยการดําเนินการดานปจจัยทางสังคมที่มีผลตอสุขภาพ ขอมติจาก 62nd WHA ในเรือ่ ง ปจจัยทางสังคมนี้ มีสวนที่สอดคลองและหนุนเสริมการ ดําเนินงานของ สสส. ทัง้ ในปจจุบันและในอนาคต ในหลายดาน ซึง่ ในชวงที่ผา นมา สสส. ได ดําเนินงานโดยใหความสําคัญกับปจจัยทางสังคมที่มีผลกระทบตอสุขภาพมาโดยตลอด ดังเชนใน แผนสุขภาวะประชากรกลุมเฉพาะ ที่สนับสนุนใหประชากรกลุมตางๆ ที่เปราะบางตอการสูญเสีย สุขภาวะ สามารถยืนอยูในสังคมไดอยางเขมแข็ง การผลักดันเชิงนโยบายตางๆ เพือ่ ใหสงผลตอ ความเสมอภาคดานสุขภาพเพิ่มมากขึ้น การดําเนินงานของ สสส. จึงมีความสอดคลองกับ

5

ขอเสนอการดําเนินการตามมติในเรื่อง ปจจัยทางสังคม ของสมัชชาองคการอนามัยโลกครั้งนี้ มา โดยตลอด และควรดําเนินการใหมีความชัดเจนมากยิง่ ขึ้นในอนาคต อนึ่ง ขอมติเรื่อง ปจจัยทางสังคม จากที่ประชุมสมัชชาองคการอนามัยโลกครั้งนี้ จะสงผล ใหประเทศสมาชิกและองคการระหวางประเทศ รวมถึง สสส. มีการกําหนดทิศทางการดําเนินงาน ดานสุขภาพโดยคํานึงถึงปจจัยทางสังคมที่มีผลกระทบตอสุขภาพ ที่มีความชัดเจนและเปนระบบ มากขี้น ซึ่งจะสนับสนุนใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูในระดับ International community และจะ หนุนเสริมการทํางานสรางเสริมสุขภาพ ที่เชื่อมโยงกับประเด็น ปจจัยทางสังคมใหมีโอกาสพัฒนา กาวหนามากยิ่งขึ้น ในระยะยาว 6.2 การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรที่เขารวมการประชุม ทั้งดานความรูการสาธารณสุขระหวาง ประเทศ การพัฒนาทักษะดานการเจรจาตอรอง การประสานงาน และการสรางเครือขายทั้ง ระหวางหนวยงานในประเทศ ตลอดจนถึงระดับภูมิภาคและระดับนานาชาติ 6.3 จากเวที Pre-World Health Assembly Civil Society Forum สสส. ไดเผยแพรและ แลกเปลี่ยนความรู รวมทั้งประสบการณในการพัฒนานโยบายไปสูการปฏิบัติของ สสส. และกลไก ดานสุขภาพในประเทศไทย ไปสูเวทีระดับนานาชาติ

6

Related Documents

62
November 2019 69
62
April 2020 53

More Documents from ""