ใครกันที่ต้องรับผิดชอบมากที่สด ุ สาหรับการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์
Highlight
ในรายงานประจาปีการพัฒนาของโลก (World Development Report) ทีเ่ ผยแพร่เมื่อ วัน อังคารที่ 15 กันยายน 2552 ธนาคารโลกตั้งข้อ สังเกตว่า ประเทศร่ารวยปล่อ ยก๊าซคิดเป็นร้อ ย ละ 64 ของการปล่อ ยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ของทัง้ โลกจากการใช้เชื้อ เพลิง ประเภทฟอสซิล ในระหว่างปี 1850 และ 2005 รายละเอียด การทีป ่ ระเทศร่ารวยได้ปล่อ ยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ไปแล้วมากกว่าส่วนแบ่งทีพ ่ อเหมาะของ การปล่อ ยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ระดับโลก เป็นข้อ เท็จจริงอั นหนึ่งทีก ่ าลังสร้างความซับซ้อ น ให้กบ ั การเจรจาเพือ ่ สนธิสัญญาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอ ากาศของโลกฉบับใหม่ ในรายงานประจาปีการพัฒนาของโลก (World Development Report) ทีเ่ ผยแพร่เมื่ อ วัน อังคารที่ 15 กันยายน 2552 ธนาคารโลกตั้งข้อ สังเกตว่า ประเทศร่ารวยปล่อ ยก๊าซคิดเป็นร้อ ย ละ 64 ของการปล่อ ยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ของทัง้ โลกจากการใช้เชื้อ เพลิงประเภท ฟอสซิล ในระหว่างปี 1850 และ 2005 อย่างไรก็ตาม ในปี 2005 ส่วนแบ่งได้นี้ตกลงไปเหลือ ร้อ ยละ 50 และประเทศรายได้ปานกลาง เช่น อินเดียและจีน (ตอนนี้จีนเป็นประเทศทีป ่ ล่อ ยก๊าซรายใหญ่ทส ี่ ุด) ปล่อ ยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์เกือ บจะครึ่งหนึ่งของโลกและเกินกว่ากึง่ หนึ่งของการปล่อ ยก๊าซเรือ นกระจก ในวงกว้าง แต่ประชากร 1 พันล้านคนในประเทศร่ารวยปล่อ ยก๊าซมากกว่าประชากร อาศัยอยูใ่ นประเทศรายได้ปานกลางเมื่ อ เปรียบเทียบกันแบบตัวต่อ ตัว
4.2 พันล้านคนที่
รายงานหมายเหตุไว้ด้วยว่า การลดปริม าณการปล่อ ยก๊าซขนาดหนัก และการลงทุนใน เทคโนโลยีใหม่ ๆ หากทาดังนี้จะทาให้ประเทศร่ารวยมีประสิทธิผลมากขึ้นในการชักชวน ประเทศทีย ่ ากจนกว่าทาตาม แหล่งทีม ่ า http://www.economist.com/research/articlesBySubject/displaystory.cfm?subjectid=7 933596&story_id=14444441