Webquest Doc Psc 15.10.09

  • Uploaded by: TA2726344
  • 0
  • 0
  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Webquest Doc Psc 15.10.09 as PDF for free.

More details

  • Words: 835
  • Pages: 10
เว็บเควสต คือ

WebQuest ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ

เว็บที่มีการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบสําเร็จรูปในลักษณะ กิจกรรมการเรียนทีป่ รับจากการสืบสอบ (Inquiry - oriented activities) โดย มีแหลงสารสนเทศที่ผูเรียนจะมีปฏิสัมพันธดวยจากแหลงความรูตางๆ บน อินเทอรเน็ต รูปแบบของเว็บเควสต (Webquest) นี้ พัฒนาขึ้นโดย Bernie Dodge และ Tom March แหงมหาวิทยาลัยซานดิเอโก ในป 1995

คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย [email protected] http://webquest.org/index.php

Praweenya Suwannatthachote

"Inquiry" is defined as "a seeking for truth, information, or knowledge

-- seeking information by questioning."

Inquiry-based Learning

• ขั้นสรางความสนใจ (engagement) การนําเขาสู บทเรียนหรือเรื่องที่สนใจ • ขั้นสํารวจและคนหา (exploration)



• ขั้นขยายความรู (elaboration)

เมื่อทําความเขาใจในประเด็นหรือคําถามที่สนใจ จะศึกษาอยางถองแทแลว ก็มีการวางแผนกําหนด แนวทางการสํารวจตรวจสอบ ตั้งสมมติฐาน กําหนดทางเลือกที่เปนไปได ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บ ขอมูล ขั้นอธิบายและลงขอสรุป (explanation) เมื่อไดขอมูลอยางเพียงพอจากการสํารวจแลว จึงนําขอมูลทีไ่ ดมา วิเคราะห แปลผล สรุปผล และนําเสนอผล

ขั้นการนําความรูที่สรางขึ้นไปเชื่อมโยงกับ ความรูเดิมหรือแนวคิดที่ไดศึกษาคนควา เพิ่มเติม หรือนําแบบจําลองหรือขอสรุปที่ได ไปใชอธิบายสถานการณหรือเหตุการณอื่นๆ

• ขั้นประเมิน (evaluation) การประเมินการเรียนรูดวยกระบวนการตางๆ วาผูเรียนมีความรูอะไรบาง อยางไร และมากนอยเพียงใด จากขั้นนี้จะนําไป สูการนําความรูไปประยุกตใชในเรื่องอื่นๆ

Praweenya Suwannatthachote

การออกแบบเว็บเควสต มีการกระตุนผูเรียนดวยคําถาม การแกปญ  หา และการคนควาจากแหลงการเรียนรูจริง Student Motivation & Authenticity

ผูเรียนมีการเรียนรูรวมกัน สมาชิกในกลุมรวมกันทํางาน เพื่อใหกลุมประสบความสําเร็จ

Developing Thinking Skill

Why WebQuest? WebQuest?

Cooperative Learning

การกระตุน และการตั้งคําถาม (Motivation and Questioning)

ผูเรียนเกิดการถายโยงความรู ในขณะทํากิจกรรม มีการแตกงาน เพื่อใหผูเรียนสามารถพัฒนาไปใน ขั้นทีส่ งู ขึน้ โดยทีผ่ ูเรียนสราง องคความรูขึ้นดวยตนเอง

(March, 2004)

แหลงขอมูลทีม่ คี วามหลากหลายและเชื่อถือได (Authentic and Dynamic Resource) การสรางและการแสดงความรูใหม (Creating and Demonstrating New Knowledge)

ลักษณะของ เว็บเควสตที่ดี

(Yoder, 2005)

การออกแบบเว็บเควสต ผูเรียนเกิดการวิเคราะห สังเคราะห

A

การแขงขันทีท่ าทายเปนกุญแจสําคัญ

Dodge (1997) ไดแบงประเภทของเว็บเควสต ออกเปน 2 ประเภท ไดแก

สิ่งที่ควรคํานึง ในการออกแบบ เว็บเควสต

B

แหลงการเรียนรูมีความถูกตอง ประหยัดเวลาในการสืบคน

ประเภทของเว็บเควสต

1

เว็บเควสตระยะสั้น (Short Term WebQuests) มีเปาหมายเพื่อใหผูเรียน แสวงหาและบูรณาการความรูในระดับเบื้องตนเว็บเควสทประเภทนี้ใชเวลา ในการศึกษาประมาณ 1-3 คาบเรียน

2

เว็บเควสตระยะยาว (Long Term WebQuests) มีเปาหมายเพื่อพัฒนา ระดับการคิดขั้นสูงของผูเรียน หลังจากจบบทเรียนแลวผูเรียนสามารถ วิเคราะหองคความรูที่ลึกซึ้ง ถายโอนไปใชในแบบใดแบบหนึ่งได เว็บเควสทประเภทนี้ใชเวลาระหวาง 1 สัปดาหถึง 1 เดือน

C

ผูเรียนตองเรียนรูท ี่จะประยุกตขอมูลเพื่อแกปญหา และสรางสรรคผลงานของตนเอง

D

(Glunt, 2005)

Praweenya Suwannatthachote

องคประกอบของเว็บเควสต 1. ขั้นนํา (Introduction) 2. งานที่มอบหมาย (Task) 3. กระบวนการทํางาน (Process) 4. แหลงการเรียนรู (Resources) 5. การประเมินผล (Evaluation) 6. การสรุป (Conclusion) **ในบางครั้ง อาจจะมีสวนของครูผูสอน (Teacher Page) เปนสวนที่ผูพัฒนากิจกรรม อธิบายหรือชี้แจงใหกับครูอื่นที่สนใจเขามาใช

องคประกอบของเว็บเควสต 1. ขั้นนํา (Introduction) สวนที่เตรียมผูเรียนในการเขา สูกิจกรรมการเรียนการสอน รวม ไปถึงใหสถานการณที่จะให ผูเรียนแกปญหา หรือปฏิบัติ กิจกรรมการเรียนรูที่ออกแบบไว

องคประกอบของเว็บเควสต 2. งานทีม่ อบหมาย (Task) สวนที่อธิบายงานที่ตองการ ใหผูเรียนปฏิบัติ ควรเปน สถานการณปญหาที่นาสนใจ กําหนดใหผูเรียนคนหาและ เปลี่ยนขอมูลเปนความรู ความเขาใจ

องคประกอบของเว็บเควสต 3. กระบวนการทํางาน (Process) สวนแนะนําขัน้ ตอนการทํางาน ที่นักเรียนควรปฏิบัติตามตลอด การทํางาน เปนการอธิบายบทบาท หนาที่ การทํางานของผูเรียน แตละคน

Praweenya Suwannatthachote

องคประกอบของเว็บเควสต

องคประกอบของเว็บเควสต

4. แหลงการเรียนรู (Resources)

5. การประเมินผล (Evaluation)

สวนที่ใหรายชื่อฐานขอมูลที่ชวย ใหผูเรียนทํางานที่มอบหมายได สําเร็จ ซึ่งอาจเปนรายชื่อเว็บเพจ หนังสือหรือเอกสารอื่น ๆ ที่ผูสอน คัดเลือกมาแลว เพื่อใหผูเรียน สามารถเขาถึงแหลงสารสนเทศได อยางรวดเร็ว เปนการประหยัดเวลา

สวนที่บอกใหผูเรียนทราบถึง แนวทางในการประเมินการทํางาน ที่ไดรับมอบหมาย ผูเรียนสามารถ ประเมินดวยตนเองกอน และ สามารถแกไขขอบกพรองได จนพอใจวางานทุกสวนเปนไปตาม เกณฑที่กําหนด

Rubrics

การออกแบบเว็บเควสต

องคประกอบของเว็บเควสต

• เลือกเรื่อง (Choose a Topic) • กําหนดงาน

6. สรุป (Conclusion) สวนที่สรุปใหผูเรียนไดทราบวาไดเรียนรูอะไรไปแลวบาง ทําให ผูเรียนจดจําในสิ่งที่เรียนไปแลว และกระตุนใหเกิดประสบการณ ที่มีคุณคา อาจมีการแนะนําใหผูเรียนศึกษาคนควาตอในอนาคตได

(Choose a Task)

• ออกแบบการประเมินผล (Design the Evaluation) • พัฒนากระบวนการ (Develop the Process)

• ปรับปรุงใหสมบูรณ (Refine the Aesthetics) (finish up the details)

Praweenya Suwannatthachote The Task

• You will learn about one dinosaur and the time period in

which it lived. You will then work together with the other members of your class to design a Dinosaur Zoo.

• Should the Prime Minister and the Government say "sorry" to the Aboriginal People? Why/why not?

• จริงหรือที่ประเทศสหรัฐอเมริกาเปนประเทศมหาอํานาจทาง เศรษฐกิจ

• เมื่อนักเรียนกลายเปนพยานปากเอกที่สามารถใหขอมูลลักษณะ

รูปพรรณสัณฐานของผูรายไดระหวางการไปทองเที่ยวที่ประเทศ อังกฤษ เตรียมพรอมแลวยังที่จะสื่อสารกับตํารวจสากล

ขอสังเกตเกี่ยวกับ “งาน” ในเว็บเควสต ???

กระบวนการเรียนรูทางปญญา (cognitive process) จํา (Remember)

เขาใจ (Understand)

ประยุกตใช (Apply)

วิเคราะห (Analyze)

ประเมิน (Evaluate)

สรางสรรค (Create)

ระดับมาก

กิจกรรมการเรียนรู เปดโอกาสใหผูเรียนมีสวนรวมในการเรียน ระดับนอย

Praweenya Suwannatthachote ออกแบบกระบวนการเรียนรู

•เนนการเรียนรูทกี่ ระตุนการมีสวนรวมของผูเรียน •เนนการทํางานและเรียนรูรวมกัน – เทคนิคการตอบทเรียน – เทคนิคการเรียนแบบรวมมือ – ฯลฯ

•วิธีการเขียน

– นักเรียนคือคนที่จะอานและปฏิบัติ ดังนัน้ ตองเขียน กระบวนการเรียนรูใหละเอียด

•การเลือกและอางอิงแหลงการเรียนรู

– คัดสรรแหลงเรียนรูอ อนไลนทนี่ าเชื่อถือ และเหมาะสมกับ ผูเรียน

รายการอางอิง Christie, A. What is a WebQuest?. [Online] Available from : http://www.west.asu.edu/ ACHRISTIE/675wq.html. Costello, J. and Maibroda, O. WebQuests. [Online] 2002. Available from : http://doe.concordia.ca /cslp/Downloads/PDF/jobaids/WebQuest.pdf. Dodge, B. Some Thoughts About WebQuests. [Online] 1997. Available from : http://webquest.sdsu.edu/about_webquests.html. Dodge, B. The WebQuest Design Process. [Online] 1997. Available from : http://webquest.sdsu.edu/process/webquestdesignprocess.html. Glunt, D. Developing Your Own Social Studies WebQuest Project. [Online] 2005. Available from : http://www.glencoe.com/sec/teachingtoday/subject /dev_ss_webquest.phtml. Hodges, P.J., Why Use WebQuest : A Theoretically Informed Argument. [Online] Available from : http://coe.west.asu.edu/students/esmarion/PeaceWQnf/ webquests.htm. March, T. The Learning Power of WebQuests. [Online] 2004. Available from : http://tommarch.com/writings/wq_power.php. Yoder, M.B. Inquiry Based Learning Using the Internet : Research, Resources, WebQuest. [Online] 2005. Available from : http://www.uwex.edu/disted/ conference/Resource_library/proceedings/03_57.pdf.

WEBQUEST 1) บทนํา สวนนี้เปนขั้นแรกในการสรางความสนใจและนําผูเรียนเขาสู เว็บเควสท โดยจัดทําเปนคําอธิบายสั้นๆ 2) ภาระงาน การกําหนดปญหาในการศึกษา สวนนี้ถือไดวาเปนหัวใจ สําคัญของเว็บเควสท ถือเปนขั้นของการเสนอปญหา เปน การจัดกิจกรรมที่ใหผูเรียนไดเผชิญปญหาที่ทาทายใหผูเรียน คนหาคําตอบ หรือหาขอโตแยง 3) กระบวนการ เสมือนกับคูมือการเรียนรูของผูเรียนที่จะนําทางใหผูเรียนทํา ภารกิจหรือแกปญหาที่ไดรับเสร็จสิ้นได สวนนี้เปนการ อธิบายขั้นตอนการทํากิจกรรมใหผูเรียนทราบและปฏิบัติ ตาม 4) การประเมินผล เกณฑการใหคะแนนการประเมิน (scoring rubric) ที่ชัดเจน อาจเปนแบบองครวม หรือแบบแยกองคประกอบรายดาน 5) แหลงเรียนรู การใหแหลงสารสนเทศเพื่อใหผูเรียนไดใชสารสนเทศที่ไดคัด สรรไวใหแลวมาใชเพื่อสืบสอบหาคําตอบตามที่ไดรับ มอบหมายงาน สารสนเทศอาจจัดอยูในรูปของเว็บไซต ภายในตัวเว็บเควสทเอง หรือเปนการเชื่อมโยงออกไปยัง เว็บไซตอื่นๆ ที่เกี่ยวของ สารสนเทศจะอยูในรูปแบบของ ขอความอยางเดียว ขอความประกอบภาพ ขอความ ประกอบภาพและเสียง หรือเปนการนําเสนอดวยภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เชน ภาพนิ่ง ภาพวาด กราฟก ภาพเคลื่อนไหว วีดทิ ัศน 6) สรุป การนําเสนอสาระสําคัญโดยยอในสิ่งที่ผูเรียนได เรียนรูจากกิจกรรรมเว็บเควสท 7) สวนของครูผูสอน

เอกสารประกอบการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ 15 ตุลาคม 2552

การเชื่อมโยงหลายมิติ (Hyperlink) โปรแกรมนําเสนอ PowerPoint การออกแบบและจัดทําเว็บเควสตนั้น นอกจากจะจัดทําเปนเว็บซึ่งออนไลนใหไดใชงานกันแลว สามารถ ดัดแปลงการจัดทําเว็บเควสตในรูปแบบของสื่อออฟไลนไดดวยโปรแกรมนําเสนอ PowerPoint โดยใชคาํ สั่ง การเชื่อมโยงหลายมิติ ชวยใหเกิดการเชื่อมโยงระหวางหนาสไลดนําเสนอ และภายในสไลดนําเสนอได มี วิธีการทําอยางงาย ดังตอไปนี้

1.

สรางสื่อนําเสนอ โดยกําหนดจํานวนหนาอยางนอย 7 หนา ตามองคประกอบของเว็บเควสตดังนี้ หนาที่ 1 เปนพื้นที่ของปก ซึ่งจะใสชื่อเว็บเควสต ผูจัดทํา รูปภาพประกอบตางๆ หนาที่ 2 เปนพื้นที่ของ บทนํา หนาที่ 3 เปนพื้นที่ของ งาน หนาที่ 4 เปนพื้นที่ของ กระบวนการ หนาที่ 5 เปนพื้นที่ของ แหลงสารสนเทศ หนาที่ 6 เปนพื้นที่ของ ประเมินผล หนาที่ 7 เปนพื้นที่ของ สรุป

2. 3.

ที่หนา 2-7 ใหพิมพขอ อความของแตละองคประกอบไวที่ตรงกลาง หรือบริเวณ Title ที่หนา 2 ใหพิมพเมนูตางๆ ตามองคประกอบของเว็บเควสต ที่ตองการใหเปนจุดเชื่อมโยงหลายมิติ ใหครบถวน

ภาพที่ 1 ผลของการทําตามขั้นตอนที่ 1-3

1

เอกสารประกอบการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ 15 ตุลาคม 2552

4. เลือกตัวอักษรที่ตองการเชื่อมโยง ดังภาพที่ 2จากนั้น คลิกเมาสดานขวา จะปรากฏคําสั่ง การเชื่อมโยงหลายมิติ (Hyperlink) คลิกเขาไปในจะปรากฏหนา “แทรกการ เชื่อมโยงหลายมิติ” ดังภาพที่ 3

ภาพที่ 2 ขั้นตอนที่ 4

5. ในขั้นนี้เปนการสราง

ภาพที่ 3 ขั้นตอนที่ 5

การเชื่อมโยง ซึ่งสไลดที่ จัดทําจะเปนการ เชื่อมโยงภายในระหวาง กัน ดังนัน้ ที่แถบเมนู ดานซาย “เชื่อมโยงไปยัง หรือ Link to:” ใหเลือก คําสั่งที่ 2 คือ “ตําแหนง ในเอกสารนี้ หรือ Place in This Document.”

2

เอกสารประกอบการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ 15 ตุลาคม 2552

6. จากนั้นเลือกสไลดที่ ตองการใหจุดเชื่อมโยง ซึง่ อาจเปนขอความ หรือไอ คอน ภาพตางๆ เชื่อมโยงไป ถึง ใหสอดคลองถูกตองกัน แลวคลิกปุม “ตกลง หรือ OK” ภาพที่ 4 ขั้นตอนที่ 6

ใหดําเนินการเชื่อมโยงเชนนี้ ไปจนครบเมนูหลักทั้งหมด

Tip

กรณีที่ภาพประกอบ หรือไฟลเอกสารตางๆ อยูภ ายนอกสไลด จะตองเลือก การเชื่อมโยงไปยัง ใน ขั้นตอนที่ 5 เปน “แฟมหรือเว็บเพจที่มอี ยู หรือ Exiting File or Web Page”

7. เมื่อดําเนินการเพิ่มจุดเชื่อมโยงจนครบทัง้ หมดแลว ตัวอักษรจะเปลี่ยนสี และมีขีดเสนใตเพิ่มขึ้น ซึ่ง แสดงใหเห็นวาเราไดสรางจุดเชื่อมโยงสําเร็จแลว และเมื่อฉายสไลด ดวยคําสั่ง show slide จะมีรูปมือ ปรากฏที่แตละจุดเชื่อมโยง

8. จากขั้นตอนที่ 7 แสดงวา หนาที่ 2 ของสไลดไดสรางจุด เชื่อมโยง ซึ่งจะกลายเปนเมนูของทุกหนาสไลดเสร็จ เรียบรอยแลว ในขั้นตอนนี้จะเปนการทําสําเนาจุดเชื่อมโยงที่ ถูกตองเหลานี้ไปยังสไลดหนาอื่นๆ ที่ยังไมมีเมนู ใหเลือกจุดเชือ่ มโยงทั้งหมด แลวใชคําสั่งทํา สําเนา Control+C เพื่อไปวางในหนาสไลดอื่นๆ ตอไป ดวยคําสั่ง Control+V จนครบทั้งหมด

3

Related Documents

Psc
November 2019 26
Ed 151009
June 2020 10
Webquest
December 2019 39
Webquest
October 2019 19
Webquest
December 2019 17

More Documents from ""

June 2020 0
Direction Of Wbi
June 2020 2