Web2 0 Prediction 2009 Final

  • Uploaded by: Worawisut Pinyoyang
  • 0
  • 0
  • May 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Web2 0 Prediction 2009 Final as PDF for free.

More details

  • Words: 2,756
  • Pages: 29
Page |1

ความเคลื่อนไหวในแวดวง Web2.0 ในป 2008 และแนวโนมบริการ Web2.0 ในป 2009 โดย วรวิสุทธิ์ ภิญโญยาง และ พัฐวร ผองแผว สรุปความเคลื่อนไหวของแวดวง Web2.0 ในรอบป 2008 ในรอบป 2008 ที่ผานมา มีบริการ Web2.0 ตางๆ เกิดขึ้นอยางมากมาย ซึ่งวัตถุประสงคของบริการ เหลานี้ มีทั้งความตองการสราง “New Media” หรือ สื่อใหมเพื่อใชในการสื่อสารการตลาด เชน Blog และ Social Networking หรือแมแตบริการที่ทําออกมาเพื่อชวยใหการใชงานอินเตอรเน็ตในแตละวัน มีความสะดวก และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เชน การเก็บรูปถายออนไลน การแกไขเอกสาร Presentation ออนไลน เปนตน บริการเหลานี้ ลวนมีอิทธิพลตอการใชชีวิตของคนเราในแตละวัน ไมวาจะเปนการอาน การเขียน การ เขาสังคมกับเพื่อนฝูงทางออนไลน ทําใหในแตละวัน เรามีแนวโนมที่จะใชอินเตอรเน็ตนานมากขึ้น ลองมาดูกันครับ วาความเคลื่อนไหวของโลกออนไลนในยุค Web2.0 ทั้งป 2008 ที่ผานไป และป 2009 ที่กําลังจะเกิดขึ้น มาอะไรบาง “New Media” และ “Social Media” New Media หรือ "สื่อใหม" เริ่มมาอยูในกระแสนิยมหลัก ทั้งของบรรดาบริษัทเจาของผลิตภัณฑ หรือ แมแตบรรดา Media Agency ทั้งหลาย วัดไดจากการทุมงบโฆษณา การเพิ่มของรูปแบบธุรกิจใหมๆที่เกิดขึ้น และแมแตองคกรที่ไมแสวงหากําไรตางๆก็เลือกที่จะใชNew Media เปนเครื่องมือในการโฆษณา ประชาสัมพันธมากยิ่งขึ้น เมื่อมองไปทีส่ ภาพเศรษฐกิจในปที่ผานมา ปจจัยการใชงบประมาณดานการสื่อสารการตลาด ไดถูก จัดสรรคอนขางรัดกุมมากขึ้น โดยการใชสื่อวิทยุ โทรทัศน ที่มีคาใชจายสูงมักจะถูกพิจารณาตัดงบประมาณ เปนตัวเลือกแรกๆ แมแตสื่อตามสถานที่สาธารณะตางๆ(Outdoor Media) เชน หางสรรพสินคา โรงหนัง ฯลฯ ก็ทําใหผูบริโภคที่ไมไดเปนกลุมเปาหมายอาจจะเกิดความรูสกึ วาโดนยัดเยียดมากเกินไป ก็ทําใหเกิดกระแส ตอตานขึ้นมาได การเขาถึงกลุมเปาหมายวงกวางดวยวิธีการใชสื่ออินเตอรเน็ตดวยวิธีดั้งเดิมนั้น จะใชรูปแบบการลง โฆษณาบนแบนเนอรของเว็บไซตชื่อดังแลวรอใหโฆษณาผานตาผูเยี่ยมชมเว็บไซต แนนอนวาตําแหนงของแบนเนอรที่เจาของเว็บไซตคิดวาวางอยูในตําแหนงที่เดนชัดที่สุดแลวนั้นมี จํากัด ทําใหตองเลือกใชวิธีการ “สุม” เปลี่ยนเนื้อหาโฆษณาไปเรื่อยๆ หากมีจํานวนโฆษณารอคิวเพื่อ แสดงผลบนแบนเนอรนั้นมากก็ไมอาจรับประกันวาจะผานสายตาผูชม และเขาถึงกลุมเปาหมายในมากนอย เพียงใด NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

1

Page |2

แตในยุคของ New Media นักการตลาดสามารถเลือกวิธีการที่เปน Consumer-Oriented ที่ หลากหลายมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะเมื่อทราบถึงขอมูลเบื้องตนของกลุมเปาหมาย ก็สามารถเจาะลึกไปถึงใน ระดับบุคคล เชน เพศ อายุ ไลฟสไตล และเลือกยิงโฆษณาที่เกียวของไปยังหนาเว็บไซตทกลุ ี่ มเปาหมายเขา มาใชประจําได อยางไรก็ตาม จุดออนจุดหนึ่งของการเลือกใช New Media เปนเครื่องมือดานสื่อ ก็คือ จํานวนผูใช อินเตอรเน็ตในประเทศไทยยังมีอยูเพียง 15.5% จากจํานวนประชากรทั้งหมด (ขอมูลสํานักงานสถิติแหงชาติ ป 2550) ทําใหการเขาถึงกลุมเปาหมายยังคงมีอยางจํากัด

(Yankee Group Research บริษัทชั้นนําเกี่ยวกับการใหคําปรึกษาดานIT/Technology ไดพยากรณแนวโนมมูลคาตลาดโฆษณา ออนไลนในสหรัฐอเมริกาไววามูลคาอาจสูงถึง 205,800 ลานเหรียญสหรัฐฯในป 2011 )

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

2

Page |3

“Social Media” จาก Blog สู Microblogging เนื่องจากความตองการในการใชสื่อออนไลนที่เพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนือ่ ง ทําใหบริษัทตางๆ ที่ทําธุรกิจ Web2.0 พยายามสรางสรรคบริการใหมๆ เพื่อนําเสนอเปนอีกชองทางหนึ่งของ New Media ในการหารายได จากคาโฆษณาออนไลนอันมีมูลคามหาศาลในปจจุบัน หนึ่งใน New Media ที่ถือเปนกุญแจสําคัญของโลกออนไลนในปจจุบัน คือ Weblog หรือเรียกสั้นๆวา Blog ปจจุบัน Blog ไดกลายเปนชองทางหนึ่งที่ผูใชอินเตอรเน็ตมักจะใชในการสื่อความคิด ความเห็นตางๆ ของตัวเอง ใหคนอื่นรับรู และทําใหเกิดการแลกเปลี่ยนความรู (Knowledge Exchange) ขึ้นระหวางผูใช อินเตอรเน็ตดวยกัน จากมุมมองที่สะทอนความคิด ความเห็นจากผูคนที่หลากหลายในสังคมออนไลน ทําให Blog ไดรับคํา จํากัดความอีกคําหนึ่งวา “Social Media” เมื่อขอจํากัดดานสรางเว็บไซตสวนตัวลดนอยลง เนื่องมาจากผูใหบริการ Blog รายใหญๆ ไมวาจะเปน Blogger.com, WordPress.com หรือแมแต Exteen.com ของคนไทย ไดสรางระบบที่งา ยสําหรับผูใ ชในการ สราง Blog สวนตัว ทําใหจํานวน Blog เพิ่มสูงขึ้นเปนอยางมาก จนกลายเปน Social Media อีกอันที่นาจับตา มอง Blog ไหนที่มีคนติดตามอานเปนจํานวนมากจนเรียกไดวา Blog นั้นไดกลายเปน "New Influencer" หรือ ผูทรงอิทธิพลทางความคิด ซึ่งขอเขียนของ Blogger คนนั้น มีอิทธิพลในการโนมนาวผูอานใหเห็นคลอย ตามได ตัวอยางเชน Blog ของนาย Walt Mossberg (http://walt.allthingsd.com) คอลัมนิสตขาวไอทีของ Wall Street Journal ที่ไดกลายเปนสัญลักษณของการรีวิว Gadget หรือ แอพลิเคชั่นที่ออกใหมตางๆ หรือ Blog ของนาย Michael Arrington (http://www.techcrunch.com) ซึ่งหนึ่งในผูทรงอิทธิพลในแวดวง Web2.0 เปนอยางมาก เนื่องจาก Blog นี้ จะเปนการเขียนวิจารณเว็บและบริการ Web2.0 ใหมๆ เมือ่ พิจารณาถึงหลักสือ่ สารการตลาด อาจจะเรียกไดวา ความคิดเห็นของ Blogger ผูทรงอิทธิพล เปน รูปแบบหนึง่ ของ Personal Selling ที่อาศัยความผูกพันกับผูอานทางความคิดเห็น และเปน Testimonial Marketing ที่อาศัยการนําประสบการณการใชงานจริงมาแนะนําตอ Blog จึงเปนหนึ่งใน Communication Channel หนึ่งที่ผูใช Media นาจะใหน้ําหนักความสําคัญมาก ยิ่งขึ้น NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

3

Page |4

Microblogging กับการกําเนิดของสื่อพลเมือง ในป 2008 ที่ผานมา นอกเหนือจาก Blog แลว “Social Media” อีกประเภทหนึ่งทีเ่ ริ่มไดรับความนิยม อยางสูงก็คอื "Microblogging" หรือ การเขียน Blog ดวยขอความสั้นๆ เชน กําลังทําอะไร จะไปไหน หรือ รายงานสภาพอากาศ รายงานสภาพการจราจรจากสถานที่ตางๆ ที่ผูเขียน “Microblogging” นั้นจะเขียน โดย จะมีเพื่อนหรือคนที่รูจักคอยรับขอความอัพเดทตางๆที่ถูกสงเขามาและสามารถตอบกลับไปไดในทันที คนหนึ่งคน อาจจะกลายเปนผูสงสารหาคนเปนจํานวนรอยคน พันคน หรือแมแตหมื่นคนไดในชั่วเวลา คลิกเดียวและผูรบั สามารถนําขอความนั้นมาสงตอใหกับเพื่อนนับรอยนับพันของตัวเองไดอีก สรางตัวคูณทาง ขาวสาร (Multiplier) ไดในเวลาที่รวดเร็ว บริการ “Microblogging” ที่ดังที่สุดในปจจุบันมีชอื่ วา "Twitter " (www.twitter.com) ที่ประสบ ความสําเร็จอยางมาก ดวยอัตราการเติบโตของเว็บกวา 753% ภายในระยะเวลาเพียงแค 1 ป จากจํานวนผูใช วันละ 5 แสน จนถึงผูใชวันละเกือบๆ 5 ลานในปจจุบัน (การเติบโตของ "Twitter.com" กวา 753% ในระยะเวลาเพียงแค 1

ป) (Source : Stats from Compete.com Dec.2007 – Dec.2008)

ปรากฏการณ “Twitter” ไดสรางมิติใหมของสื่อ “New Media”หรือ “Social Media” นั่นคือ มิติดานความเร็วของ ขอมูล และมิติดานกระแสสังคม ขาวไฟไหมซานติกาผับ ถูกรายงานใน “Twitter” เร็วกวาสถานีโทรทัศนทุกชอง โดยคนที่มีเพื่อนอยูในเหตุการณนํา ขาวนั้นมาโพสตเขาไปใน“Twitter”และถูกนําไปกระจายบอกตอกัน (Broadcast) อยางรวดเร็วในชั่วเวลาไมกี่นาที กลายเปนวาผูใชอินเตอรเน็ตรวมกันเผยแพรและสรางเปนกระแสขึ้นมา ดวยความเร็ว (Speed) ที่สูงกวาสื่อเกา เชน โทรทัศน และขอมูลทุกอยาง ถูกระดมโพสตเขาไปใน Twitter เพื่อชวยกันกระจายขาว

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

4

Page |5

Online Marketing Campaign ที่ประสบความสําเร็จที่สุดแหงป 2008 คือ “Obama Campaign” § หนา Fan Club ใน Facebook ของโอบามามีผูสนับสนุน จํานวนถึง 3 ลานคน (เทียบกับ John Mccain 6 แสนคน) § ชอง VDO Clip ใน YouTube.com ของ Obama มีคนมาสมัครเปนสมาชิก 149,388 มี VDO ทั้งหมด 1,823 คลิป และมีจํานวนครั้งที่เขามาชม 20,408,570 ครั้ง (เทียบกับ ชอง VDO Clip ของ Oprah Winfrey ที่มีสมาชิก 50,175 คน จํานวน VDO ทั้งหมด 93 คลิป และจํานวนครั้งที่ เขาชม 2,046,097 ครั้ง) จํานวนผูที่มาเปนเพื่อนกับ Obama ใน Twitter เพื่อติดตามความเคลื่อนไหวตางๆ มีสูงถึง 170,968 คน

Social Networking เครื่องมือการตลาดตัวใหมของนักการตลาด อีกหนึง่ บริการทีไ่ ดรับความนิยมไมแพ Blog และ Microblogging คงหนีไมพนบริการออนไลนที่ เรียกวา "Social Networking" หรือ เครือขายสังคมออนไลน ที่บรรดาผูใชอินเตอรเน็ต ตางใชเพื่อกิจกรรมสังคม ตางๆ ไมวาจะเปนหาเพื่อน หาคู และ ใชเปนเครื่องมือในการสื่อสารอีกอันหนึ่ง นอกจากการใชอีเมลและแชท จากรายงานการวิจัยที่ชื่อวา "Digital World" ของ บริษัท ComScore พบวา บริการออนไลนที่เติบโต มากที่สุด คือ บริการ "Social Networking" ที่มาแรงแซงหนาบริการออนไลนแบบเกาๆ อยาง "เว็บทา" (Portals) อีเมล แชท หรือแมกระทั่งบริการคนหาขอมูล (Search Engine) โดยมีการเติบโตของตลาดโดยรวม กวา 60% และดวย Penetration Rate ที่ต่ําเพียงกวา 30% จากผูใชอินเตอรเน็ตทั่วโลก ทําใหเห็นไดวา บริการ "Social Networking" นี้ ยังมีศักยภาพในการเติบโตอยูมาก

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

5

Page |6

(กราฟ แสดงความสัมพันธระหวาง การเติบโตของบริการออนไลนและ Penetration Rate แยกเปนประเภท)

(Source: comScore “Digital World” – State of the Internet (March 2008))

จากขอมูลของ The Nielsen ที่ทําการวิจัยเก็บสถิติเว็บไซตดาน "Social Networking" ที่ไดรับความ นิยมสูงสุด 10 อันดับแรก พบวา เว็บ Social Networking ที่มีผูใชเปนจํานวนมากและมีอัตราการเติบโตที่สูง คือ เว็บที่ชื่อวา "Facebook" ซึ่งมีอัตราการเติบโตสูงถึง 116% จากปกอนและมีจํานวนผูใชในแตละวัน สูงถึง 39 ลานคน ทั่วโลก

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

6

Page |7

(ตารางที่ 1: Top 10 เว็บ Social Networking ของสหรัฐฯ ในเดือนกันยายน 2008)

Top Rank Sept. 2007: Sept. 2008: % Growth: Social Networking Sites: (by UA) Unique Audience (in 000s) Unique Audience (in 000s) Year Over Year Sept. 2008 1 Myspace.com 58,581 59,352 1% 2

Facebook

18,090

39,003

116%

3

Classmates Online

13,313

17,075

28%

4

LinkedIn

4,075

11,924

193%

5

Windows Live Spaces

10,275

9,117

-11%

6

Reunion.com

4,845

7,601

57%

7

Club Penguin

3,769

4,224

12%

8

AOL Hometown

7,685

3,909

-49%

9

Tagged.com

898

3,857

330%

10

AOL Community

4,017

3,079

-23%

Source: The Nielsen Company, Custom Analysis (September 2008)

สถิติอื่นๆที่นาสนใจของ Facebook § จํานวนผูใช (active users) มีกวา 150 ลานคน § มีรูปถายที่ผูใชอัพโหลดขึ้นไปเก็บใน Facebook กวาวันละ 23 ลานรูป โดยใชเนื้อที่ความจุ มากกวา 3 Terabytes ตอวัน ในการเก็บรูป § รูปถายกวา 15,000 ลานรูป ถูกดูในแตละวัน § เวลารวมที่ผูใชทั่วโลก ใช Facebook ในแตละวัน รวมกันกวา 2,600 ลานนาที

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

7

Page |8

จากขอมูลเชิงสถิติและงานวิจัยดานธุรกิจออนไลนหลายๆแหง ไดตอกย้ําถึงความนิยมในบริการ "Social Networking" ที่กลายเปนเทรนดที่มาแรงแซงหนาบริการออนไลนทุกอยางในรอบป 2008 ที่ผานมา และสิ่งที่ขอมูลจากหลายๆสํานักวิจัยที่มชี อื่ เสียง นําเสนอตรงกัน ก็คือ การกาวขึ้นมาเปนผูนําดาน Social Networking ของ Facebook ที่อดีตเคยจํากัดการใหบริการเพียงนักเรียนและนักศึกษาในสหรัฐฯ เทานั้น (ตารางที่ 2: เว็บ Social Networking ที่เติบโตเร็วที่สุดในสหรัฐฯ จากเดือนกันยายน 2007 ถึง กันยายน 2008)

Rank (by Sept. YOY UA growth)

10 Fastest Growing Social Networking Sites: Sept. 2008

Sept. 2007: Unique Audience (in 000s)

Sept. 2008: Unique Audience (in 000s)

% Growth: Year Over Year

1

Twitter.com

533*

2,359

343%

2

Tagged.com

898

3,857

330%

3

Ning

842*

2,955

251%

4

LinkedIn

4,075

11,924

193%

5

Last.fm

850

1,879

121%

6

Facebook

18,090

39,003

116%

7

MyYearbook

1,422

3,056

115%

8

Bebo

1,299

2,418

86%

9

Multiply

592

941

59%

10

Reunion.com

4,845

7,601

57%

(Source: The Nielsen Company, Custom Analysis (September 2008).

การกาวขึ้นมาเปนผูนําดาน "Social Networking" แซงหนายักษใหญอยาง "Myspace.com" ที่ถือวา เปน First Mover และเปนยักษใหญที่ทรงอิทธิพลที่สุดรายหนึ่งของธุรกิจออนไลน โดยปจจัยหลักที่ตําแหนงของผูนํา เปลี่ยนมือ ไดแก การเปดตัว "Facebook Platform" ในป 2007 "Facebook Platform" เปนการเปดโอกาสใหนักพัฒนาแอพลิเคชั่นจากทั่วโลกไดใชประโยชนจาก Infrastructure รวมไปถึงฐานขอมูลผูใชของ Facebook บางสวนในการสรางแอพลิเคชั่นเพื่อรองรับความ ตองการตางๆของผูใช ไมวาจะเปนการพัฒนาเกม โปรแกรมอานขาว โปรแกรมเก็บรูปถาย และโปรแกรมอื่นๆ กวา 52,000 โปรแกรม ใหผูใช Facebook เลือกใชงาน NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

8

Page |9

(จํานวน Facebook Application 10 อันดับแรกที่มีผูใชงานตอวันมากที่สุด)

ความสําเร็จของการเปดโอกาสนี้เอง ทําใหมีนักพัฒนาแอพลิเคชั่นกวา 660,000 คน สรางแอพลิเคชั่น มากมาย ทั้งใชงานฟรีและเสียเงินใช จนพัฒนาเปนเศรษฐกิจแบบ Facebook (Facebook Economy) ขึ้นมา ปจจุบัน มีผูใชงานแอพลิเคชั่นบน Facebook ถึง 95% จากจํานวนผูใชทั้งหมด การที่บุคคล หรือองคกร มีการเชื่อมตอกันไมวาดวยทางใดทางหนึ่ง เชน แนวคิด ความชอบ ชีวิตประจําวัน งานอดิเรก ความตองการพิเศษอื่นๆที่สอดคลองกันเปนสังคมขึ้นมา และการเกิด Social Networking นี้ทําใหนักการตลาดสามารถวางกลยุทธการใชสื่อ Below the line สําหรับการจัดกิจกรรมเฉพาะ กลุมในลักษณะ 2-ways Communication ทั้งในแบบ online และการจัดในสถานที่จริง (Offline) เพื่อลด ขอจํากัดในการเขาถึงอินเตอรเนทของประชากร โดยมีเครือขายสังคมเปนสื่อแทน ตัวอยางของการใชเครือขายสังคมออนไลนเพื่อเปนสื่อ คือ การจัด BarCamp ที่เปนคําศัพทเรียก สําหรับการประชุม หรือ พบปะ (ซึ่งไมเปนทางการพอที่จะเรียกวาสัมมนา) โดยบุคคลตางๆที่มีความสนใจใน เรื่องใดเรื่องหนึ่ง ณ เวลาใดเวลาหนึ่งกําหนดหัวขอการพบปะขึ้นมา (User Generated Conference) โดยจะ มีทั้งแบบออนไลนและพบหนากัน ซึ่งนักการตลาดสามารถวางแผนการใชโอกาสนี้ในการเขาถึงเครือขายสังคม เพื่อใชเปนสื่อขึ้นมาได

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

9

P a g e | 10

Open Platform และ Mashup ปลดแอกจินตนาการแอพลิเคชั่น จากความสําเร็จในการ สราง "Platform" และ "เปดโอกาส" (Open) ของ Facebook นั่นเอง ได สงผลกระทบตอเนื่องตอวงการ Web2.0 และกลายเปนเทรนดที่สําคัญที่สุดใน ป 2008 ไมวาจะเปนการสราง "OpenID" ซึ่งมีจุดมุงหมายในการพัฒนาเปนบัตรผานใบเดียว (Single Login) ที่ "เปด" ใหทุกบริการบนอินเตอรเน็ตเรียกใช โดยไมจําเปนตองสมัครบริการนั้นๆใหม ซึ่งทําใหผูใชเจอปญหา ในการจดจํา Login และ รหัสผาน ที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ หรือแมแตการที่ยักษใหญดานออนไลนอยาง Google พยายามผนึกพลังพันธมิตรยักษใหญที่ ใหบริการดาน Social Networking ตางๆมากมาย เพื่อใหมาใชบริการ "OpenSocial” ซึ่งเปน Platform ที่ตน พัฒนาขึ้นและ "เปด" ใหทุกคนใช ในการสรางแอพลิเคชั่นมารองรับผูใชใน Social Networking ของตนเอง และไดรับการตอบรับเปนอยางดี จากบรรดาผูใหบริการ “Social Networking” รายใหญ เชน Bebo.com, Hi5.com , MySpace.com, LinkedIn.com รวมไปถึง Yahoo.com แนวโนมการ Open Platform ไดทําใหเกิดกระบวนการที่เรียกวา "Fusion" หรือ ถาเปนศัพทที่ใชกัน แพรหลายในโลกออนไลน จะเรียกวา "Mashup" ทําใหมีบริการ Web2.0 ใหมๆ ถือกําเนิดขึ้นมากมาย จาก การเอา บริการตางๆมา "Mashup" กัน โดยอาศัยการเปดใหเขามาใช “Platform” ของตนเอง ทําใหนักพัฒนา แอพลิเคชั่น ไมจําเปนตองเสียเวลาสรางบริการที่ซ้ําซอน และมีเวลาที่จะสรางจินตนาการ เพื่อรังสรรคแอพลิ เคชั่นใหมๆออกมาใหไดใชงาน ตัวอยางของการ “Mashup” เชน บริการแผนที่ของ Google (Google Map) ถาจับมารวมกับ การ ถายรูปบนโทรศัพท สิ่งที่เราจะได ไมใชแคเพียงรูปถายเทานั้น แตจะเปนรูปถายรวมกับพิกัดแผนที่ เมื่อเราอัพ โหลดรูปถายใบนี้ลงไปในเว็บ "Mashup" ผูใชเว็บทุกคน จะสามารถรูไดวา รูปถายนี้ ถายมาจากสถานที่ไหน เมืองไหน และอาจจะรูไดวา ในโลกนี้มีรูปถายไหนบางที่ถายจากสถานที่ใกลเคียงกัน

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

10

P a g e | 11

(บริการ MapJack.com เปน Mashup ระหวาง Google Map และ การคนหาสถานที่ทองเที่ยวตางๆของไทย)

(บริการ GlobalIncidentMap.com เปน Mashup ระหวาง Google Map และ ขาวอุบัติเหตุตางๆทั่วโลก ทําใหรูไดทันทีวาเกิดเหตุการณสําคัญหรือ อุบัติเหตุอะไรในโลกบาง)

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

11

P a g e | 12

Software as a Service ในรอบป 2006-2007 ที่ผานมา ยักษใหญบนโลกออนไลนอยาง Google ไดพัฒนาเว็บแอพลิเคชั่น ที่ใช สําหรับงาน Office เรียกวา “Google Docs” โดยสามารถสรางเอกสารทั้งดาน Word Processing, Spreadsheet และ Presentation โดยเอกสารที่สราง สามารถบันทึกไฟลใหออกมาในรูปแบบที่ใช Microsoft Office เปดไดทันที ซึ่งในป 2008 ที่ผานมา ไดมีการพัฒนาปรับปรุงชุด Google Docs เปนอยางมาก จนเรียก ไดวา เกือบจะใชแทนชุด Microsoft Office ไดเลย ตัวอยาง “Software as a Service” ที่ไดรับความนิยม (บทความนี้ ผูเขียนใช Google Docs ในการเขียน)

ใน ป 2009 คาดวาจะเปนปที่มีเว็บแอพลิเคชั่นที่มีความสามารถสูงขึ้น จนชองวางระหวางเว็บแอพลิ เคชั่น และ แอพลิเคชั่นบน PC ลดนอยลง ทั้งแอพลิเคชั่นดาน Office, ตัดตอภาพ และวิดีโอ

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

12

P a g e | 13

(โปรแกรม “Keynote” ของ Apple Inc. ที่ใชในการทํา Presentation บนแมค ไดกลายมาเปนเว็บแอพลิเคชั่นแลว ในชื่อวา “iWork.com”)

(เว็บแอพลิเคชั่น “Photoshop Express” ที่ใชตัดตอภาพถายแบบออนไลน)

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

13

P a g e | 14

(เว็บแอพลิเคชั่น “JumpCut” ที่ใชตัดตอวิดีโอแบบออนไลน)

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

14

P a g e | 15

แนวโนมของ Web 2.0 ในป 2009 จากการสังเกตุสิ่งที่เกิดขึ้นตลอดชวงระยะเวลา 1 ปที่ผานมา บางบริการไดเริ่มตนสราง Market Segment ใหมๆของตัวเอง แมวาอาจจะยังไมใหญนัก แตเนื่องจาก พฤติกรรมผูใชอินเตอรเน็ต เริ่มเปลี่ยนไป ทําใหบริการตางๆเหลานี้ มีศักยภาพสูงที่จะเปลี่ยนแปลงจาก จุดเริ่มตนเล็กๆ มาเปนแนวโนมที่สําคัญของอุตสาหกรรมได ทางผูเขียนจึงขอรวมรวบบริการตางๆที่นาสนใจและมีแนวโนมสูงที่จะกลายเปนเทรนดของป 2009 ดังนี้ Lifestreaming ยิ่งรวมกัน ชีวิตออนไลนยิ่งงายขึ้น บริการออนไลนใหมๆบนอินเตอรเน็ต ในยุคของ Web2.0 นั้น เกิดขึ้นตลอดเวลา ทั้งชวยอํานวยความสะดวกในการใชชีวิตประจําวัน ชวยในการติดตามขาวสาร หรือเปนอีกเครื่องมือ หนึ่งที่ใชติดตอสื่อสารกับเพื่อนหรือคนที่รูจัก Web 2.0 มีสวนชวยในการเขาสังคมตางๆ ทําใหชีวิตในวันหนึ่งๆของเรา ตองเขาไปในหลายๆเว็บเพื่อ ติดตามความเคลือ่ นไหวของเพื่อนรวมสังคมออนไลนทเี่ รารูจัก ตัวอยางเชน การอัพโหลดภาพถายลงในเว็บไซต Flickr.com, การอัพโหลดวิดีโอคลิปสวนตัวเขาไปใน YouTube.com, การอัพเดท Blog และ Microblogging สวนตัว และการอัพเดท Social Networking หลายๆ เว็บที่เปนของตัวเอง เมื่อบริการ Web2.0 สวนใหญมีแนวโนมที่จะ “เปด” (Open Platform) และอนุญาตให “Mashup” กัน ได ทําใหเกิดแนวคิดในการรวบรวมกิจกรรมออนไลนทั้งหลายที่ใชในชีวิตประจําวัน ใหเปนหนึ่งเดียว เรียกวา “Lifestreaming” หรือ “Activity Streaming” เพื่อเพิ่มความสะดวกในการบริหารจัดการและงายตอการแชรให เพื่อนในสังคมออนไลน ไดติดตามความเคลื่อนไหวของตัวเรา บริการ “Lifestreaming” เริ่มถือกําเนิดขึ้นในป 2008 และไดรับความนิยมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เพราะนักทอง อินเตอรเน็ตทั้งหลาย เริ่มมีกิจกรรมออนไลนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ตัวอยางของบริการ “Lifestreaming” ที่โดดเดนที่สุดและเปนผูบุกเบิกบริการในลักษณะ ก็คือ “FriendFeed.com” ซึ่งเปนบริการที่อดีตพนักงานที่ลาออกจาก Google เปนผูสรางขึ้น

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

15

P a g e | 16

(บริการ “Lifestreaming” ที่ชื่อวา “FriendFeed.com”)

(บริการตางๆที่ “FriendFeed” สามารถดึงมารวมเปน “Lifestreaming” ได)

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

16

P a g e | 17

Longtail Social Networking บริการ “Social Networking” หลายๆบริการในปจจุบัน เชน Hi5.com, Facebook.com เรียกไดวาเปน “Mass Community” โดยมีจุดประสงคหลัก คือ ดึงคนจากที่ตางๆใหมารวมกันใหมากที่สุด เนนปริมาณของผูใชเปนหลัก ขาดปจจัยหลักๆที่อาจจะจําเปนในการสรางความสัมพันธบางอยางไป เชน ความสนใจรวมกัน ความชอบสิ่งของสิ่งเดียวกัน ความชอบนักรอง ดาราคนเดียวกัน หรือ เชียรทีมฟุตบอล ทีมเดียวกัน ทําใหเกิด”Social Networking”อีกรูปแบบหนึ่งที่เนนความสนใจรวมกันและมีคุณลักษณะเฉพาะดาน เพื่อรองรับกลุมผูใชที่มีความตองการเฉพาะเจาะจง เชน “PatientsLikeMe.com” ซึ่งเปน “Social Networking” ของคนไขที่ปวยเปนโรคตางๆ เขามาบอกเลาอาการปวยที่ตนเจอ และประสบการณที่ไดรับในการรักษาโรค ตางๆ ไมวาจะเปนยารักษาโรค วิธีการรักษาแบบตางๆ รวมไปถึงการใหกําลังใจซึ่งกันและกัน เพื่อรวมฟนฝาให หายจากโรคที่ตนปวย (บริการ “Longtail Social Networking” สําหรับคนไข ที่ชื่อวา “PatientsLikeMe.com”)

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

17

P a g e | 18

เมื่อมี “Social Networking” ของคนไข ก็ยอมมี “Social Networking” ของบรรดาแพทยผูรักษา ชื่อวา “Sermo.com” ที่บรรดาแพทยกวา 90,000 คนเขามาแลกเปลี่ยนความรูดานการแพทย ประสบการณในการ รักษาโรคตางๆ รวมไปถึงประสบการณในการเจอคนไข

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

18

P a g e | 19

(บริการ “Longtail Social Networking” สําหรับบรรดาหมอ ที่ชอื่ วา “Sermo.com”)

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

19

P a g e | 20

Geolocation ในป 2008 ที่ผานมา มีโทรศัพทมือถือหลายๆรุนไดใส function การทํางานของ GPS เพื่อใชในการ คนหาตําแหนงตาง ทําให Application ที่ใชประโยชนจากตําแหนงของ GPS เริ่มเปนที่นิยมมากขึ้น ไมวาจะ เปน Navigator ที่ใชในการนําทาง ระบบแผนที่และการคนหาสถานที่ตางๆ ภาพถายที่ถูกถายจากโทรศัพทที่มี GPS มักจะมีลูกเลนที่สามารถฝงตําแหนงพิกัดของ GPS ลงไปใน Metadata ของภาพถายเหลานั้น เพื่อบงบอกวาภาพถายนั้นๆ ถูกถายมาจากสถานที่ใด ตําแหนงพิกัดบนแผน ที่เทาไหร เรียกวา “Geolocation” (แอพลิเคชั่น “Twinkle” บนไอโฟน ใช “Geolocation” ผสมผสานกับ “Microblogging” ในการโพสตขอความลงไปใน “Twitter”)

เมื่อภาพถายเหลานั้น ถูกอัพโหลดขึ้นไปเก็บบนเว็บไซตแชรภาพถายดิจิตัล เชน “Flickr.com” ของ Yahoo!, “Picasa” ของ Google หรือแมกระทั่งเว็บไซตดาน “Social Networking” ชื่อดังอยาง “Facebook” เอง ซึ่งเว็บไซตเหลานี้จะอาน Metadata และดึงขอมูลตําแหนงและสถานที่ไปแสดงบนหนาเว็บโดยอัตโนมัติ ทั้ง ภาพสถานที่และรูปบนแผนที่เอง เรียกไดวา นอกจากจะเปนการแชรภาพถายแลวยังเปนการแชรLocation เพื่อนําไปสูการแชร ประสบการณรวมในสถานที่นั้นๆอีกดวย

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

20

P a g e | 21

Mobile Social Networking บริการ “Social Networking” ตางๆ นอกจากจะมีอยูบนเว็บไซตใหผูใชอินเตอรเน็ตไดเขาไปใชงานแลว ยังขยายการเขาถึงจากโทรศัพทมือถือ ทั้งในรูปแบบของ Mobile Web และ Application ที่ติดตั้งลงบน เครื่องโทรศัพทนั้นๆ จุดประสงคหลักๆ ก็คือ เพิ่มชองทางการเขาถึงจากผูใชใหมากยิ่งขึ้น ทําใหผูใชสามารถเขาไปใชบริการ ไดจากทุกที่ ทุกเวลา เหมือนพก “Social Networking” ติดตัวไปดวย และแนนอนวา หนึ่งใน Feature หลักที่ถูกใสเขาไปเพิ่มเติมนอกจาก feature ที่เว็บไซตทําได นั่นก็คือ “Geolocation” ที่ทําใหรูวา ผูใชคนนั้น ถายรูปอัพเดท โพสตขอความลงบน“Social Networking” มา จากที่ไหน และดึงเพื่อนรวม Network ที่อยูละแวกใกลๆกันใหมาคุยกัน มาทําความรูจักกัน (แอพลิเคชั่น “Facebook” บนมือถือ iPhone ที่มีผูใช ถึง 4,495,780 คน ตอเดือน)

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

21

P a g e | 22

การเคลื่อนยายขาม “Social Networking” (Social Networking Portability) ผูใชอินเตอรเน็ตคนเดียวกัน อาจจะเปนสมาชิก “Social Networking” หลายๆแหง เนื่องจากมีกลุม เพื่อนหรือมีสังคมที่แตกตางกัน เชน ใน “Hi5” เราอาจจะมีเฉพาะเพื่อนสนิท เพื่อนที่เรียนมหาวิทยาลัยดวยกัน และใน “Facebook” เราอาจจะมีเฉพาะเพื่อนที่ทํางาน เหมือนในชีวิตประจําวันจริงๆ ที่เมื่ออยูที่ทํางานก็จะมี เพื่อนรวมงาน ที่คนละกลุมกับเพื่อนสมัยเรียน หรือสรุปไดวา เราจะมีความสัมพันธทแตกต ี่ างกันในหลาย รูปแบบเมื่ออยูในสังคมที่แตกตางกัน (Different type of relationships) นอกจากการมีเพื่อนคนละกลุมแลว เรายังอาจตองการแสดงตัวตนที่แตกตางออกไป ตามสังคมที่เรา อยู เชน เราอาจจะตองการแชรรูปในทริปที่ไปเที่ยว หรือเขียน Blog แบบเฮฮาใหกับเพื่อนที่อยูใน “Hi5” ดู เทานั้น แตไมอยากใหเพื่อนใน “Facebook” เห็นรูปนี้และตองการใหเห็นแค Blog แบบมีสาระจากเรา ทั้งหมดนี้คงจะสรางความปวดหัวไมนอย ถาผูใชคนนั้นเปนสมาชิกในหลาย “Social Networking” มี กลุมเพื่อนหลายกลุม มีขอมูลจํานวนมากที่มาแชรใหกลุม เพื่อนที่แตกตางกัน และจะเปนอยางไรถาผูใชคนนั้น ไปสมัครบริการ “Social Networking” อื่นๆเพิ่มอีกเรื่อยๆ “Social Graph” เปนแนวคิดเกิดขึ้นมาเพื่อรองรับการเคลื่อนยายขาม“Social Networking” (Social Networking Portability) โดยมีการนิยามระดับและประเภทของความสัมพันธ กลุมเพื่อน และสิทธิ์ในการ เขาถึง ทําใหในอนาคตผูใชสามารถกําหนด “Social Graph” ของตัวเองใน “Social Networking” หนึ่ง ให แตกตางกับอีกที่หนึ่งได โดยไมจําเปนตองสมัครสมาชิกใหม แตใชวิธีดึง “Social Graph” ของตนมาและเลือก วาจะใหกลุมเพื่อนใน “Social Networking” จะเห็น Profile อะไรของเราบาง นอกจาก Profile ที่ยายขามไปไดแลว กลุมเพื่อนก็ยังสามารถยายขามมาไดเชนกัน ผูใชไมตองหาเพื่อน ใหม แตสามารถอิมพอรตเพื่อนจาก “Social Networking” เดิมที่มีอยูแลว มาอยูอีกที่ใหมได

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

22

P a g e | 23

Cloud Computing – พลิกโฉมอุตสาหกรรมซอฟทแวรและฮารดแวร พลังแหงการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีเครือขายที่เกิดขึ้นควบคูไปกับการพัฒนาบริการใหมๆบนโลก อินเตอรเน็ตกอใหเกิดสิ่งที่ (คาดวา) จะยิ่งใหญขึ้นในยุคของ Web 2.0 ที่จะสงผลกระทบกับธุรกิจและ ชีวิตประจําวัน นัน่ ก็คือการประมวลผลแบบกลุมเมฆหรือ Cloud Computing ในที่นี้จะไมขอกลาวถึงรายละเอียดทางเทคโนโลยีเบื้องหลังที่มีความซับซอนสูง แตจะอธิบาย ความหมายของ Cloud Computing ในภาษาที่เขาใจงายก็คือ อินเตอรเน็ตนี้จะเปรียบเสมือนกอนเมฆกอน ใหญที่ผูใชงานไมจําเปนอะไรเลยที่จะตองรูวามีอะไรอยูภายในกอนเมฆอินเตอรเน็ตนั้น แคเพียงคิดวา ตองการขอมูลอะไร บริการอะไร จากนั้นก็จะสามารถตอบสนองความตองการไดเพียงแคควานหาจากกอน เมฆนั้น ผูใชงานจะไมมองถึงซอฟทแวรสําหรับการใชงานอีกตอไป แตจะมองถึง “บริการ” ที่ตองการอยาง แทจริง (Software as a Service หรือ SaaS) ถามองในมุมของธุรกิจก็คือ ปกติแลวในการทํางานของบริษัททั่วไป จําเปนที่จะตองมีเครื่อง คอมพิวเตอร และแตละเครื่องก็จําเปนที่จะตองมีโปรแกรมพื้นฐานสําหรับสํานักงาน เชนMicrosoft Office สําหรับงานทั่วไปในสํานักงาน ถาบริษัทมีธุรกิจขนาดใหญขึ้น ฐานขอมูลและการใชงานแอพลิเคชั่นตางๆก็จะมีความซับซอนมากขึ้น อีกทัง้ ยังตองมีการลงทุนทางดานอุปกรณตา งๆและมีคาใชจายที่สูงขึ้นตามมา เชน เมือ่ บริษัทตองลงทุนดาน Server เพื่อรองรับระบบงานตางๆ และแนนอนวามีคาใชจายดูแลรักษาเพิ่มขึ้นตามมาอีกมากมาย ลองจินตนาการดูวา ถาซอฟทแวรฐานขอมูล แอพลิเคชั่น และฮารดแวรทั้งหลายเหลานั้น อยูในกอน เมฆอินเตอรเน็ตหมดโดยที่ไมจําเปนตองซื้อหามาติดตั้งแลว ทําใหบริษัทนั้น: § ไมจํา เปนตองสนใจวา จะตองเลือ กใชซอฟทแวรจากที่ไหน ยี่หอ  อะไรดี สําหรับหนาที่แตละอยางที่

ตองการ § ไมตองกังวลถึงความเขา กันไดกับกับซอฟทแวรอื่นๆในบริษัทวามีมากนอยเพียงใด § ไมตองตระหนักถึงการวางแผนการจัดซื้ออุปกรณ Computer Server เพื่อ รองรับการขยายตัว ของธุร กิจ § ไมจํา เปนตองจัดหาผูเชี่ยวชาญทาง IT ในระดับสูงจํานวนมาก เพื่อมาดูแลระบบอันซับซอนตางๆใน บริษัทอีกตอไป § สามารถใชทรัพยากรเพื่อเนนหนักไปในทางธุรกิจหลักของตัว เองไดมากขึ้น NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

23

P a g e | 24

นับเปนการพลิกโฉมรูปแบบธุรกิจในอนาคตอยางมีนัยยะสําคัญ แตสิ่งหนึ่งที่สําคัญในการจํากัดการเขาถึง Cloud Computing ก็คือประสิทธิภาพของเครือขายภายใน และภายนอกบริษัทที่จะสามารถทําใหพนักงานทุกคนสามารถเขาถึง “กอนเมฆ” เหลานั้นไดสะดวกมากนอย เพียงใด ตัวอยางในปจจุบันที่เห็นเดนชัดถึงความสําเร็จของCloud Computing ก็คือโลโกรูป “No Software” ของ SalesForce.com ที่รวบรวมซอฟทแวรที่ใชงานกันภายใน สํานักงานไมวาจะเปนเกี่ยวกับงานขาย งานสนับสนุนและบริหารความสัมพันธกับ ลูกคา งานฐานขอมูลและวิเคราะห ฯลฯ มาอยูบนเว็บไซตทั้งหมด โดยมีธุรกิจยักษ ใหญมากมายมาใชบริการ แมกระทั่งประธานาธิบดีคนลาสุดของสหรัฐฯ บารัค โอบามา ก็เพิ่งปรับปรุงเว็บไซต change.gov ที่ เคยใชในการหาเสียงลงสมัครชิงตําแหนงประธานาธิบดี ใหกลายมาเปน Citizen’s Briefing Book เพื่อเปด โอกาสใหประชาชนแสดงความเห็น และเสนอแนวคิดเพื่อนําไปปรับปรุงเปนนโยบายตอไป โดยใชระบบ CRM Idea Product ของ SalesForce.com นั่นเอง ทางฝงเว็บไซต Amazon Web Service (AWS) ในเครือ Amazon.com ก็ นําเสนอบริการในชื่อ Amazon Simple Storage Service (Amazon S3) สําหรับเก็บไฟลขอมูล (Storage) ฐานขอมูล (Database) และเสนอบริการ Amazon Elastic Compute Cloud (Amazon EC2) อันโดงดังที่ใหผูใชสามารถติดตั้งโปรแกรมที่ตองการบน Server เสมือน หรือเรียกวา Virtual Platform โดยที่ผูใชงานไมตองกังวลเกี่ยวกับการจัดซื้อและดูแล server อีก ในเดือนตุลาคมป 2008 ทาง Microsoft ก็ไมยอม นอยหนาที่จะกาวเขาสูอุตสาหกรรม Cloud Computing โดยไดใชชื่อผลิตภัณฑวา Azure

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

24

P a g e | 25

ทํานองเดียวกันเว็บไซตเครือขายสังคมชื่อดังตางๆเชน MySpace, Facebook, Hi5 หรือ LinkedIn ก็ ถือเปนบริการ Cloud Computing ที่นอกจากจะเจาะจงหนาที่ในการสรางเครือขายสังคมของผูใชงานแลว ยังสามารถติดตั้งแอพลิเคชั่นลงบนหนาเว็บของผูใชงานได ซึ่งรายไดสวนใหญของเว็บไซตเครือขายสังคม เหลานี้มาจากคาโฆษณา ดังที่กลาวมาในหัวขอทีแล ่ ววา เมื่อสามารถรูถึงความตองการและคุณลักษณะ เบื้องตนของแตละบุคคลแลว ทําใหการวางแผนโฆษณาทําไดตรงกลุมเปาหมายมากขึ้น นักวิเคราะหจาก Merril Lynch ไดคาดการณไววาภายในป 2011 มูลคาตลาดของ Cloud Computing สําหรับยุค Web 2.0 นั้นจะสูงถึง 160,000 ลานดอลลารสหรัฐฯ โดยแบงเปน 95,000 ลาน เหรียญสําหรับตลาดธุรกิจและบริการ (Email, office, CRM และอื่นๆ) และสวนที่เหลืออีก 65,000 ลาน เหรียญจะมาจากการโฆษณาออนไลน Web 3.0 หรือ Semantic Web ถาเปรียบเทียบ Web 1.0 ในยุคแรกเริ่มก็คือ ผูใชสามารถ “อาน” อยางเดียว โดยที่เจาของเว็บไซต เปนผูจัดทําเนื้อหาขึ้นมา พอมาเขาสูยุค Web 2.0 ผูใชนั้นก็สามารถที่จะ “อาน + เขียน” หรือเปนคนสรางเนื้อหาขึ้นมาเองได มีการติดตอและเชื่อมโยงกับผูใชอื่นๆขึ้นเปนสังคม โดยที่เว็บไซตเปนเพียงตัวกลางสําหรับผูใชในการเผยแพร เนื้อหา จะเปนอยางไรถาเนื้อหาที่ผูใชสรางขึ้นมานั้นมีมหาศาล และยังเพิ่มขึ้นเรื่อยๆอยางไมสิ้นสุด แลวยุค ตอไปผูใชสามารถ “อาน + เขียน + สั่งงาน” เว็บไซตใหดําเนินการจัดการเนื้อหาที่มีความยุงยากซับซอน เหลานั้นแลวแสดงผลเพียงแคสิ่งที่ผูใชตองการ ตัวอยางเชน สมมติวาเราเขาไปในชุมชนออนไลนขนาดใหญแหงหนึ่งที่มีสมาชิกจํานวนมาก แลวเราตองการคนหา Blog ของผูที่เขียนเรื่องเกี่ยวกับรถยนตสัญชาติอินเดียยี่หอ Tata แตเมื่อใชคําวา “tata” เปน keyword ใชคนหาแลว แลวปรากฎผลออกมาเปน Blog เกี่ยวกับนักรองสาวที่ชื่อเดียวกันนี้ พรอมๆกับรายชื่อของ Blog ที่เกี่ยวกับ รถยนต แตเมื่อชุมชนออนไลนขนาดใหญนี้เริ่มเขาสูยุคตอไป เมื่อผูใชคนหนึ่งที่ปกติชอบศึกษาเรื่องรถเปน ประจํา เขามาคนหา Blog ในชุมชนแหงนี้แลว ขอมูลเบื้องหลังเกี่ยวกับผูใชคนนั้นจะถูกนําไปประมวลผลแลว เชื่อมโยงความเปนไปไดกับผลการคนหาที่ตองการ ผลที่แสดงคือ รายชื่อของ Blog ที่เขียนเกี่ยวกับรถยนต ยี่หอ Tata ตามที่เขาตองการ NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

25

P a g e | 26

คํานิยาม Web 3.0 ยังไมไดถือเปนขอสรุปอยางเปนทางการโดยองคกรใด ในปจจุบันความหมายของ Web 3.0 ก็ยังมีผูเชี่ยวชาญหลายคนใหความเห็นที่แตกตางกันออกไป เชน Eric Schmidt CEO ของ Google ใหความเห็นวาในยุค Web 3.0 นี้จะเปนการเชื่อมตอ Application ชิ้น เล็กๆที่ทรงประสิทธิภาพเขาดวยกัน และขอมูลตางๆที่นํามาใชจะอยูใน “กอนเมฆ” โดยที่ Application เหลานั้นจะมีคุณสมบัติตอไปนี้ - สามารถทํางานบนอุปกรณใดก็ได ทั้งเครื่องคอมพิวเตอรและโทรศัพทมือถือ - มีขนาดเล็ก สามารถดัดแปลงแกไขได - สามารถเผยแพร สงตอไปยังผูใชอื่นผานอีเมล หรือเครือขายสังคมเพื่อใหใชงานได Nova Spivack หลานของ Peter F. Drucker ปรมาจารยทางดานการบริหารจัดการของโลก ผูซึ่งเปนคน กอตั้ง Radar Networks หนึ่งในผูบุกเบิกเว็บไซตประเภท Semantic Web ไดใหคํานิยามไววายุคตอไปที่เปน ของ Web 3.0 ซึ่งกําลังจะเกิดขึ้นในป 2010-2020 นั้นจะประกอบไปดวยการพัฒนาของสิ่งตางๆตอไปนี้ o Ubiquitous Connectivity – การเชื่อมตอ จะตองเปนที่ใด เมื่อไรก็ได ซึ่งก็คือการพัฒนาของเทคโนโลยี อินเตอรเน็ตไรสายและบนโทรศัพทมือถือ o Cloud Computing – หรือ ที่กลาวมาแลววา เมื่อใดที่ผูใชตองการขอมูลใดก็ตาม เขาตองสามารถ เขาถึงไดโดยงาย โดยที่ไมจําเปนตองรูถึงเบื้องหลังในการหาขอมูลนั้น o Open Technologies – มีการเปดกวางในการพัฒนาแอพลิเคชั่นในการใชงานตางๆ ในรูปแบบของ Open-source ที่อนุญาตใหมีการนําไปพัฒนาตอยอดกันได o Open Identity – ขอมูลของผูใชจะสามารถถายโอนไปยังเว็บไซตอื่นได ทั้งนี้รวมไปถึงการทําใหมีบัญชี ผูใชเพียงชุดเดียว (Single Sign-on Account) แลวสามารถเขาไดทุกเว็บไซต o World Wide Database - ฐานขอมูลของแตละเว็บไซตจะเชื่อมตอกันเปนฐานขอมูลขนาดใหญ มโหฬาร o Natural Language Processing – ในการจะสั่งใหเว็บไซตทํางานอยางใดอยางหนึ่ง ผูใชจะสามารถใช คําสั่งดวยภาษาธรรมชาติของมนุษย หมายความวาผูใชไมจําเปนตองมีความรูในระดับที่สามารถเขียน โปรแกรมคอมพิวเตอรเลยก็ยังสามารถสราง application ขึ้นมาใชงานเองได NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

26

P a g e | 27

o

o

Semantic Web – เปนกุญแจสําคัญในเว็บ 3.0 ดวยองคประกอบที่กลาวมาทั้งหมดขางตน จะทําให เว็บไซตมีลักษณะเปน Aggregator อยางเต็มตัว โดยจะทําการเชื่อมโยงฐานขอมูลตางๆทั่วโลก และมี ปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence) หรือเรียกงายๆวาโปรแกรมนั้น “คิดดวยตัวเอง” ในการที่จะ ประมวลผลและวิเคราะหขอมูลจากผูใชงานที่สั่งการดวยภาษาที่มนุษยเขาใจได ไมจําเปนตองเปน ภาษาทางคอมพิวเตอร นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาทางดานกราฟฟคสําหรับแสดงผลบนเว็บเชนมาตรฐานSVG (Scalable Vector Graphic) ที่จะทําใหรูปภาพและกราฟฟคตางๆนั้นสามารถปรับเปลี่ยนไปตามขอมูลที่สัมพันธ กับรูปภาพนั้นได

สวนในมุมมองของ Tim O’Reilly – CEO ของ O’Reilly Media เจาพอสื่อสิ่งพิมพเกี่ยวกับวงการ คอมพิวเตอรที่มียอดจําหนายสูงสุดในโลก และยังเปนคนริเริ่มจัดการประชุมเกี่ยวกับWeb 2.0 กลับแสดง ความเห็นที่ขัดแยงกับ Nova Spivack วา ไมควรใสใจกับคําวา Web 3.0 เพราะมันเปนเพียงศัพททาง การตลาดเพื่อใชในวัตถุประสงคทางธุรกิจที่เกี่ยวของกับ Semantic Web เทานั้น Tim ไดกลาวถึงในอดีตที่ผานมาเมื่อมีการประชุม Web 2.0 ขึ้นและมีการใชคําวา Web 2.0 ครั้งแรก ในโลกนั้น จุดประสงคเพื่อฟนฟูสภาวะธุรกิจที่เกี่ยวของกับเว็บไซตหลังฟองสบูของยุค dot com แตก หาใช การพูดถึงการพัฒนาเทคโนโลยีไม ดังนั้นถาจะพูดถึงเทคโนโลยีก็ขอใหพูดถึง Semantic Web โดยตรงเลย ไมใช Web 3.0 ณ ปจจุบันก็ยังไมมีขอสรุปที่เปนทางการรวมกันในระดับองคกร สําหรับการจัดมาตรฐาน Web 3.0 แตไมวาเราจะเรียกยุคของเว็บไซตตอไปวาเปนอะไรก็ตาม Keyword สําคัญก็คอื Semantic Web เพราะเปน คําเรียกถึงเทคโนโลยีของเว็บไซตที่นิยามคอนขางชัดเจนและถูกบรรจุเปนมาตรฐานขององคกรเว็บไซตสากล (World Wide Web Consortium – W3C)

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

27

P a g e | 28

Semantic Web - มาตรฐานสําหรับเว็บยุคถัดไป จากที่กลาวมาขางตนวา ในยุคถัดไปความสามารถของเว็บไซต จะเริ่มเรียกวา “ฉลาดขึ้น” ดวย บอยครั้งนักที่เรารูสึกไมพอใจกับการคนหาสิ่งที่ตองการ ทําใหผูใชงานตองเพิ่มจํานวนKeyword เขา ไปมากขึ้นเพื่อลดขอบเขตของการคนหาใหแคบ และตรงจุดมากขึ้น แนวคิดของ Semantic Web จะนํามาใช แกปญหาตรงจุดนี้ โดยปกติขอมูลบนเว็บไซตนั้นประกอบดวยสามองคประกอบหลักคือ - Content คือตัวเนื้อหา หรือขอมูลที่ตองการสื่อไปถึงมนุษย - Presentation คือการแสดงผล การจัดวาง สีสัน ลวดลาย - Metadata คือขอมูลที่บงบอกรายละเอียดอื่นๆเกี่ยวกับเนื้อหานั้น ถาเปรียบเทียบกับชีวิตประจําวันเปนหลอดยาสีฟน Content ก็คือเนื้อยาสีฟน Presentation ก็คือการ design ตัวหลอดยาสีฟนใหบีบใชงาย และ Metadata ก็คือฉลาก วิธีใช องคประกอบของเนื้อยาสีฟน ขอควร ระวัง ฯลฯ จากการเพิ่มจํานวนของเว็บไซตที่มากมายและเนื้อหาที่กระจัดกระจายนั้น Metadata จะเปนสวนที่ สําคัญของ Semantic Web ในการที่จะจัดการกับเนื้อหาเหลานั้น โดยใน Metadata จะแบงออกเปน สวนยอยๆตางๆ และมีหลักการในการ “เชื่อมโยง” และหาความสัมพันธกันระหวางชุดขอมูล เพื่อให application สามารถนําไปประมวลผลและแสดงผลไดตรงตามตองการ อธิบายงายๆโดยใชตัวอยางหลอดยาสีฟนหลอดเดิมไดวา บนฉลากจะมีระบุบอกวาตรงสวนนี้เปน วิธีใช สวนนี้เปนสารประกอบของเนื้อยาสีฟน สวนนี้เปนเลขใบรับรองของ อย. ตรงสวนนี้เปนสถานที่ผลิต เมื่อ มีชายคนหนึ่งมีประวัติการแพสารฟลูออไรดบนยาสีฟนเขามา ระบบก็จะทําการคัดเลือกตามฉลากเพื่ออเ ายา สีฟนที่ไมมีสารฟลูออไรดมาเสนอให ยิ่งไปกวานั้นระบบก็อาจจะทําการสงขอมูลกลับไปตามที่อยูในสถานที่ ผลิต เพื่อแจงเปนสถิติใหผูผลิตทราบวามีผูแพสารฟลูออไรดนี้เพื่อทําการปรับปรุงแกไขตอไป หลักการในเชิงเทคโนโลยีของ Semantic Web อยางละเอียดจะไมขอกลาวถึงในที่นี้ และเมื่อมาดู แนวโนมของ Semantic Web ในอนาคตอันใกล ก็จะพบวา เหลาบริษัทยักษใหญหลายแหงไดพากัน คาดการณและมีการดําเนินการเพื่อเตรียมพรอมแลวดังนี้ NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

28

P a g e | 29

ในป 2007 Thomson Reuters ยักษใหญอันดับ 1 ของโลกในดานขอมูลและขาวสารได เขาเจรจาซื้อกิจการของ ClearForest เจาของบริการ OpenCalais.com เพื่อใชนํามา จัดการ Content ทั้งในดานการเงิน การลงทุน การวิจัยตางๆที่มีอยูอยางมหาศาลโดยใช Semantic Technology ในการเชื่อมโยงขอมูลเหลานั้น เดือนพฤษภาคม ป 2008 Yahoo ไดเริ่มบริการ SearchMonkey ที่ใหนักพัฒนาสามารถพัฒนา Application ครอบบน Search Engine ของ Yahoo ไดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการคนหาโดยใชหลัก Semantic Markup ถัดมาในเดือนกรกฎาคม ปเดียวกัน ทาง Microsoft ไดเขาซื้อกิจการของ Powerset เพื่อนําเทคโนโลยี Natural Language Search Engine ไปปรับปรุงเขา กับ Live Search ของ Microsoft สิ่งตางๆเหลานี้แสดงใหเห็นวา พลังของ Semantic Web และเทคโนโลยีอื่นๆที่เกี่ยวของ ที่จะชวยพลิก โฉมอุตสาหกรรมเว็บไซตในอนาคตอันใกลนั้นเปนสิ่งที่หลายบริษัทคาดหวังเปนอยางยิ่งวาจะผลักดันใหยุครุง เรื่องของ dot com กลับมาอีกครั้ง แตจะสําเร็จหรือไมก็ยังคงตองติดตามกันตอไป… สรุป สิ่งที่เกิดขึ้นในวงการ Web2.0 ในป 2008 § § § § § §

แนวโนม Web2.0 ในป 2009

Social Media Blog Microblogging Social Networking Open Platform Mashup

§ Lifestreaming

§ Software as a Service

§ Semantic Web

§ Longtail Social Networking § Geolocation & Mobile Social Networking § Social Networking Portability § Cloud Computing

NIDA Competitiveness Review : Issue #3 | Web 2.0 Trends 2009

29

Related Documents

Web2 0
August 2019 38
Web2 0
October 2019 18
Web2 0 For Comment
October 2019 24
Parks-web2 0
August 2019 23
Web2 0 Accenture
October 2019 19

More Documents from ""