Vitamin Ppt

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Vitamin Ppt as PDF for free.

More details

  • Words: 2,711
  • Pages: 87
PAIROJ LEELAHAKUL

VITAMIN – กลุ่มสารอินทรีย์เคมีที่ไม่จัดอยู่ในกลุ่มของ กรดอมิโน ไขมัน และ คาร์โบฮัยเดรท – คาร์บอนที่เป็นองค์ประกอบมาจากสิ่งมีชีวิตเช่นพืชหรือ สัตว์ หรือจากสิ่งที่เคยมีชวี ิต – ร่างกายต้องการสารเหล่านี้ในจำานวนน้อย เพื่อให้ ปฎิกิริยาต่างๆในร่างกายดำาเนินไปได้ตามปกติ PAIROJ LEELAHAKUL

VITAMIN – ร่างกายไม่สามารถสร้างได้ หรือสร้างได้ก็ไม่เพียงพอกับความต้องการ – เป็นสารจำาเป็นสำาหรับการดำารงชีวิต

PAIROJ LEELAHAKUL

PAIROJ LEELAHAKUL

ชนิ ดและกา รเรี ยก ชื่ อ

 วิตามินแต่ละตัวสูตรเคมีที่แตกต่างกัน

ด้วยคุณสมบัติการละลายตัวของวิตามิน ทำาให้แบ่งไว้วิตามินออกได้เป็น 2 พวก 1. fat-soluable vitamins A , D , E , K 2. water-soluable vitamins B complex , C

 การเรียกชื่อวิตามินเป็นตัวอักษรตามลำาดับของการค้นพบก่อนหรือหลัง

PAIROJ

LEELAHAKUL

วิธีกา รออ กฤท ธิ์

• วิตามินทุกตัวเมื่อเข้าสู่ร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ทางเคมีที่อวัยวะภายในร่างกาย จึงจะสามารถออกฤทธิ์ได้ • การออกฤทธิ์ใน water-soluable vitamins ส่วนใหญ่แล้วเป็นไปในรูปของ coenzymes • การออกฤทธิ์ของ fat-soluable vitamins เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์โปรตีนบางชนิดและcell differentiation

PAIROJ LEELAHAKUL

Water Soluble Vitamins

•Thiamin (B1) B1 Deficiency and Disease •Riboflavin (B2) •B2 Deficiency and Disease •Niacin (B3) •B3 Deficiency and Disease •Pantothenic Acid (B5) •Pyridoxal, Pyridoxamine, Pyridoxine (B6) 7.Biotin •Cobalamin (B12) •B12 Deficiency and Disease 9.Folic Acid 1.Folate Deficiency and Disease 10.Ascorbic Acid

Fat Soluble Vitamins

2.Vitamin A 1.Gene Control by Vitamin A 2.Role of Vitamin A in Vision 3.Additional Roles of Vitamin A 4.Clinical Significances of Vitamin A 3.Vitamin D 1.Clinical Significances of Vitamin D 4.Vitamin E 1.Clinical Significances of Vitamin E 5.Vitamin K 1.Clinical Significance of Vitamin K

PAIROJ LEELAHAKUL

หน้า ที่ ของวิตามิน • โดยการรวมกับสารต่างๆ เช่น เกลือแร่ โปรตีน และ เอ็นไซม์แล้วเกิดปฎิกิริยาทางเคมี • ทำาให้ร่างกายสามารถนำาเอาสารอาหารต่างๆเช่น คาร์โบฮัยเดรท ไขมัน โปรตีน เกลือแร่ มาใช้ประโยชน์โดยขบวนการ metabolism • นอกจากการป้องกันการขาดวิตามินแล้ว วิตามินยังมีบทบาทในการรักษาโรคโดยเฉพาะในขนาด สูงๆ ซึ่งเคยเชื่อว่าเป็นโรคที่หลีกเลี่ยงไม่ได้เนื่องจากความชรา

PAIROJ LEELAHAKUL

สาเหตุก ารข าดวิตาม ิน  1. ได้จากอาหารไม่เพียงพอทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ  2. มีความผิดปกติเกี่ยวกับการย่อยและ การดูดซึมของ ระบบทางเดินอาหาร  3. มีความผิดปกติของวิตามินในร่างกาย ไม่สามารถเปลี่ยนวิตามินให้อยู่ในรูปที่สามารถออกฤทธิ์ได้

PAIROJ LEELAHAKUL

สาเหตุก ารข าดวิตาม ิน

 4. ความต้องการของวิตามินเพิ่มขึ้นมากกว่าภาวะปกติ  5. มีการทำาลายวิตามินในร่างกายเพิ่มขึ้น  6. มีการขับถ่ายเพิ่มมากขึ้น  primary vitamin deficiency เป็นผลของการได้รับจากอาหารไม่เพียงพอ  secondary vitamin deficiency เกิดจากการเจ็บป่วย การใช้ยาบางชนิด โรคทางพันธุกรรม PAIROJ LEELAHAKUL

ผลข องกา รข าดวิ ตามิน • ระดับวิตามินในเนื้อเยื่อที่เป็นแหล่งสะสมของวิตามินตัวนั้น ๆ จะลดตำ่าลง • มีการเปลี่ยนแปลงหน้าที่ทางชีวเคมี และทางสรีร วิทยาที่ขึ้น กับวิตามินนั้นๆ • ปรากฎอาการแสดงทางคลินิก

PAIROJ LEELAHAKUL

ภาว ะที่ต อ้ งก าร วิ ตามินมาก กว ่า ปกติ (vitamin dependency) • เป็นความผิดปกติเฉพาะหน้าที่ใดหน้าที่หนึ่งที่ ขึ้นกับวิตามิน นั้นๆ ใน vit def เกิดขึ้นกับทุกหน้าที่ ของวิตามินนั้น • อาการของผู้ป่วยที่เป็น vitamin dependency จะดีขึ้นได้ต้องได้รับการรักษาด้วยวิตามินนั้นๆใน pharmacologic dose ( 5-500เท่า ของที่ควรจะได้รับใน แต่ละวัน) ซึ่งต่างจากผู้ป่วยที่มี vitamin deficiency ที่ต้องการเพียง physiologic dose

PAIROJ

LEELAHAKUL

สาเหตุ ของ vitamin dependency ความผิดปกติทางพันธุกรรม ( hereditary vitamin dependency ; vitamin responsive inborn error of metabolism )  transport ผิดปกติ  ร่างกายไม่สามารถเปลี่ยนให้อยูใ่ น active form  apoenzyme ผิดปกติ  การรวมตัวของ apoenzyme กับ coenzyme เป็นไปได้ไม่ดี

*การให้ pharmacologic dose กระตุน้ alternate pathway* PAIROJ LEELAHAKUL

สา เหตุ ของ vitamin dependency ความผิดปกติจากการใช้ยาบางชนิด เช่น  oral contraceptive มีผลต่อ vit B6 folic acid  anticovulsant มีผลต่อ folic acid และ vitD

PAIROJ LEELAHAKUL

วิตามิ นที ่ล ะลายใน ไขมัน • วิตามิน A, D, E ,K มีความแตกต่างกันในบทบาทที่มีต่อสรีรวิทยาของ ร่างกาย • วิตามินเหล่านี้จะถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายต้องอาศัยควบคู่ไป กับไขมัน นำ้าดีและนำ้าย่อยจากตับอ่อนจะเป็นตัวช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ การดูดซึม วิตามินจะถูกส่งผ่านจากตับไปสู่เนื้อเยื่อต่างๆ โดยผ่านท่อนำ้าเหลืองโดยรวมตัวไปกับไลโปโปรตีน วิตามินเหล่านี้ไม่ถูกขับออกทางปัสสาวะ PAIROJ LEELAHAKUL

วิต าม ิ น เ อ

วิตามิน เอ เป็นกลุ่มของสารประกอบที่มี biological activity ในรูป all-tran retinol สารประกอบในกลุม่ นี้ที่สำาคัญคือ retinol ซึ่งใชัเป็นมาตรฐานในการวัดเทียบ activity ของสารประกอบตัวอื่นๆ ในกลุ่มนี้ วิตามิน เอ ที่มาจากอาหาร แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม  pre-formed vitamin A ซึ่งอยู่ในรูปของ retinol หรือ retinal พบในอาหารที่เป็นผลิตภัณฑ์จากสัตว์  pro vitamin A มีสารประกอบที่อยู่ในกลุม่ นี้ประมาณ 50 ชนิด เป็นสารที่ทำาให้เกิดสีในพืช เช่น carotenes หรือ carotenoids

PAIROJ LEELAHAKUL

วิต าม ิ น เ อ 1 retinol equivalent ( RE ) = 1 mcg retinol = 6 mcg beta carotene = 3.33 IU vit A จาก retinol = 10 IU vitA จาก beta carotene ปริมาณที่ควรได้รับในเด็ก = 375-500 RE ปริมาณที่ควรได้รับในผู้ใหญ่ = 500-1000 RE PAIROJ LEELAHAKUL

คุณสม บัติข องวิ ตามิน เอ • ทนต่อความร้อนและแสง • ถูกทำาลายด้วยปฎิกิริยา oxidation ความพร้อมในการที่ ร่างกายจะนำาไปใช้จะเพิ่มขึ้นในกรณีที่มีสาร antioxidants อยู่ด้วย • การปรุงอาหารช่วยเพิ่ม bioavialabilityแก่ carotene • การเสียนำ้าของ ผัก ผลไม้ ทำาให้ carotene ลดลง

LEELAHAKUL

PAIROJ

กา รย่ อย การดูด ซึ ม และ กา รขน ส่ ง retinyl esters (อาห าร )

beta carotenes (อา หาร )

retinal (ลำา ไส ้ )

RBP-cell surface receptor retinal (ตา )

retinol

retinol-binding protein (เล ือด ) retinoic acid (cell เยื ่อบุ ผิ ว)

retinyl ester intestinal mucosa chylomicron beta lipoprotein

(ระบบนำ้า เหลือ ง ) retinyl ester ( ตั บ) PAIROJ LEELAHAKUL

การ สะสมวิ ตามิน เอ • ร้อยละ 90 ของวิตามิน เอ ถูกเก็บไว้ที่ตับ ที่เหลือสะสมที่เนื้อเยื่อไขมัน ปอด ไต • การเก็บสะสมที่ตับเป็นไปอย่างช้าๆ ถึงจุดอิ่มตัวในวัยหนุ่มสาว • จะถูกปล่อยออกมาชดเชยในกรณีที่ได้รับในแต่ละวันที่ไม่พอ เพียง PAIROJ LEELAHAKUL

หน้า ที ่ ขอ งวิตา มิ นเอ • เป็นองค์ประกอบของ visual pigment และขั้วรับ รายละเอียดและรับสี ของภาพชนิดโคน (cone ) ขั้วรับในแสงสลัวชนิดร้อด ( rod ) rhodopsin

dark

opsin - 11 cis retinal (active)

11 cis retinol (active)

isomerase

blood

light

all trans retinal + opsin ( inactive)

all trans retinol (inactive)

liver

PAIROJ LEELAHAKUL

หน้า ที ่ ขอ งวิตา มิ นเอ • มีความจำาเป็นในการเจริญเติบโตและการพัฒนาโครงกระดูกแล ะเนื้อเยื่อ โดยผ่านการสังเคราะห์โปรตีน , cell กระดูก , enamel ของฟัน • มีบทบาทสำาคัญในการคงสภาพ cell บุผิว และการแบ่งตัวของ basal cell ไปเป็น mucus epithelial cell • มีความสัมพันธ์กับการป้องกันการเกิดมะเร็ง โดยเฉพาะที่ปอด PAIROJ LEELAHAKUL

กา รขาด วิต ามิ นเอ • ตาบอดกลางคืน ( night blindness -Nycteropia ) ไม่สามารถปรับแสงในที่มืดหรือสว่างได้ เนื่องจาก retina ไม่สามารถสร้าง rhodopsin ได้ • xerophthalmia ( xerosis conjunctivae ) มีภาวะ hyperkeratosis ของ conjunctiva และมีการอ่อนตัวของเยื่อบุตาดำา ( keratomalacia ) ซึ่งทำาให้ตาบอด

PAIROJ

LEELAHAKUL

กา รขาด วิต ามิ นเอ • ติดเชื้อได้ง่าย เนื่องจากการเสื่อมลงของ mucus membrane และ T - cell ลดจำานวนลง • การเปลี่ยนแปลงที่ผิวหนัง เนื่องจากการ follicular hyperkeratosis โดยจะเริ่มที่ตน้ แขน ขา และในที่สุดเป็นทั่วตัว

PAIROJ LEELAHAKUL

Vitamin A deficiency diseases The severity of the effects of vitamin A deficiency is inversely related to age. • • • •

Growth retardation is a common sign in children. Impaired dark adaptation and night blindness; xerosis of the conjunctiva and cornea; xerophthalmia keratomalacia; Keratinization of lung, GI tract, and urinary tract epithelia; increased susceptibility to infections; and sometimes death. Follicular hyperkeratosis of the skin is common. When can vitamin A deficiency PAIROJ LEELAHAKUL

Classification of xerophthalmia XN X1A

Night blindness Conjunctival xerosis

Xl B

Bitot’ S spot

X2

Corneal xerosis

X3A Corneal ulceration’keratomatacua < 1/3 corneal surface X3B Corneal ulceration’keratomalacia >1/3 corneal surface XS

Corneal scar

XE

Xerophthalmic fundus PAIROJ LEELAHAKUL

PAIROJ LEELAHAKUL

X1A

X1B (FOAMY)

PAIROJ LEELAHAKUL

X1B (CHEESY)

X2 HAZE: inflammation PAIROJ LEELAHAKUL

X3A ULCER

X3A ULCER INFECTION PAIROJ LEELAHAKUL

X3B NECROSIS

XS SCAR PAIROJ LEELAHAKUL

XF XEROPTHALMIC FUNDUS PAIROJ LEELAHAKUL

Follicular hyperkeratosis

PAIROJ LEELAHAKUL

PAIROJ LEELAHAKUL

Who are considered to be at increased risk for subclinical vitamin A deficiency include:

• • • •

toddlers and preschool age children; children living at or below the poverty level; children with inadequate health care or immunizations;

children living in areas with known nutritional deficiencies;



children with high incidence of vitamin A deficiency or measles;



children with diseases of the pancreas, liver, or intestines, or with inadequate fat digestion or absorption.

PAIROJ LEELAHAKUL

Evaluation of Vit. A status Plasma Vit.A NUTR STATUS

plasmaVit. A level µ mol/L

µ g/dL

deficient

< 0.35

marginal

0.35-0.70

10 - 20

satisfactory

0.70-1.75

20 - 50

excessive

1.75-3.50

50 - 100

toxic

> 3.5

< 10

>100

PAIROJ LEELAHAKUL

• • • •

สา เหต ุ ที่ สำา คัญ ของ กา รขา ด วิ ตามิน เอ

การรับประทานที่ไม่เพียงพอ ขาด โปรตีน ภาวะ abeta lipoproteinemia ขาดกรดนำ้าดี ทำาให้การดูดซึมของวิตามินผิดปกติ

PAIROJ LEELAHAKUL

การ เก ิด พิษ จาก วิ ต าม ิน เอ • ภาวะวิตามิน เอ เกินแบบเฉียบพลัน ได้รับ retinol เกินกว่า 200 mg ในผู้ใหญ่ และเกินกว่า 100 mg ในเด็ก • ภาวะวิตามิน เอ เกินแบบเรื้อรัง ได้รับเป็นสารเสริม 10 เท่าของ RDA ประมาณ 4.2 mg ของ retinol สำาหรับเด็ก และประมาณ 10 mg ของ retinol สำาหรับผู้ใหญ่ PAIROJ LEELAHAKUL

วิต ามิ น ดี

• พบในส่วนที่เป็น sterol ในเนื้อเยื่อของสัตว์และพืชซึ่งอยู่ในรูปของ 7dehydrocholesterol และ ergosterol 7-dehydrocholesterol ตามลำาdiet ดับ (Skin exposure to sunlight) GI tract PO4=

Ca++

vitamin D3 LIVER 25-OH-D3 KIDNEY 1,25-(OH)2D3

blood

( UV )

BONE PTH PO4 Ca parathyroid gland monitor serum calcium =

++

serum calcium PAIROJ LEELAHAKUL

คุณส มบัต ิ วิต าม ินด ี • มีความคงตัวมาก มีความคงทนในอาหารมาก ไม่ถูกทำาลายโดยการเก็บถนอมอาหาร หรือจากขบวนการ การปรุงอาหาร

PAIROJ LEELAHAKUL

การ ดูด ซึ ม การ ขนส ่ง การส ะส ม • วิตามิน ดี ที่ได้จากการดูดซึมจากอาหารที่ลำาไส้หรือที่ได้จาก ผิ วหนัง

จะรวมกับโปรตีนที่อยู่ในเลือด (vitamin D- plasma binding protein DBP ) ถูกนำาไปสะสมที่ตับ ผิวหนัง สมอง กระดูก และเนื้อเยื่ออื่นๆ ผู้สูงอายุ สามารถดูดซึมได้ดีเท่ากับหนุ่มสาวแต่ ไม่สามารถ เพิ่มประสิทธิภาพ การดูดซึม calcium ในกรณี ที่รับประทาน อาหารทีม่ ี calcium ตำ่า ซึง่ เป็นผลมาจากความ เสือ่ มของไต • การประเมินภาวะของ วิตามินดี โดยทางอ้อมทำาได้จากการตรวจหาระดับของ serum alkaline phosphatase , serum calcium

PAIROJ LEELAHAKUL

หน้า ที่ ขอ ง วิ ตาม ิน ดี • ควบคุมระดับ calcium , phosphate ในร่างกาย • ภูมิคุ้มกัน • การเจริญพันธุ์ • การหลั่ง insulin • differentiation ของ keratocyte PAIROJ LEELAHAKUL

กา รวั ดปริ มาณวิต าม ิ น ด ี • 1 mcg = 40 IU • วิตามิน ดี 3 ( 1,25 dihydroxycholecalciferol หรือ calcitriol ) และวิตามิน ดี 2(1,25 dihydroxyergocalciferol หรือ ercalcitriol ) มีความสามารถ biological activity เท่าเทียมกันมักจะ เรียกรวม เป็น วิตามิน ดี 3 • ปริมาณที่ควรได้รับ 5 - 15 mcg / วัน PAIROJ LEELAHAKUL

การ ขาด วิ ต าม ิน ด ี • โรคกระดูกอ่อนในเด็ก (rickets) ความล้มเหลวในการดูดซึมของ calcium จากลำาไส้ ทำาให้ renal threshold ของ phosphorus ลดลง จึงขับ phosphorus ออกทางปัสสาวะเพื่อรักษาสมดุลย์กับ calcium ในเลือด และอาจจะมีการดึง phosphorus จากกระดูกเพิ่มมากขึ้น เพื่อรักษาดุลย์กับ calcium ในเลือด • โรคกระดูกอ่อนในผู้ใหญ่ ( osteomalacia ) พบในผู้ที่บริโภคอาหารไม่เพียงพอ หรือ ไม่ได้รบั แสงแดด มักพบในผูส้ ูงอายุ PAIROJ LEELAHAKUL

การ เก ิด พิษ จาก วิต าม ิ น ด ี • การได้รับวิตามิน ดี เกินทำาให้เกิดพยาธิสภาพขึ้น เนื่องมาจากการที่ระดับของ calcium สูงอยู่ในเลือด ทำาให้มีการสะสม calcium ที่กระดูกและเนื้อเยื่อต่างๆเช่นที่ไต รวมทั้งการเกิดนิ่วที่ไต ปอด และแก้วหู ( หูหนวก ) • ในเด็กทารก ทำาให้ไม่สบายท้อง กระดูกเปราะ การเติบโตช้า การพัฒนาทางสมองช้า PAIROJ LEELAHAKUL

การ เก ิด พิษ จาก วิต าม ิ น ด ี • ขนาดที่เกิดพิษมีความแตกต่างกันในแต่ละบุคคลและช่วงอายุ เกิดได้ง่ายในทารก และเด็ก • 45mcg /วัน หรือ ควรเฝ้าระวัง ในผู้ที่ได้รับ > 25 mcg/วันเป็นระยะ เวลานานๆ

PAIROJ LEELAHAKUL

วิ ตาม ิน อี

• พบอยูใ่ นอาหารในรูปของ tocopherol ( alpha ,beta , gamma ,delta ) และ tocotrienols • alpha tocopherol มี biological activity สูงที่สุด • คุณสมบัติ : antioxidant ทนกรด ทนความร้อนได้ดี ไม่คงทนต่อด่าง รังสี UV และoxygen ถูกทำาลายเมื่อรวมกับกรดไขมันที่ไม่อิ่มตัว ตะกั่ว เหล็ก ในกลุ่ม tocopherol ester ไม่ถกู ทำาลายใน deep - fat frying และ deep freeze

PAIROJ LEELAHAKUL

หน้าที ่ขอ ง วิ ตาม ิน อี • ป้องกันการเกิด peroxidation ของ polyunsaturated fatty acid • ในทางเดินอาหาร ป้องกัน วิตามิน เอ จากการถูก oxidized • ในระดับcell ป้องกันcell และcell membrane จาก free radical • ร่วมกับ selenium ในระบบ antioxidant โดยอาศัย selenoenzyme และ glutathione peroxidase

PAIROJ LEELAHAKUL

การ วัด ปร ิม าณขอ ง วิต าม ิน อ ี • 1mgd-alpha-tocopherol (alpha-TE) = 1 alpha-tocopherol equivalents • 1 mg d-alpha-tocopherol = 0.74 alpha-TE • 1 mg d-alpha-tocopherol = 1.49 IU • การหาค่า alpha-TE เนื่องจากวิตามินอี ในอาหารมีอยูห่ ลายรูปและมี biological activity แตกต่างกัน ดังนั้นต้องคำานึงถึงปริมาณ และbiological activity ของแต่ละรูปแบบ •

PAIROJ LEELAHAKUL

การ วัด ปร ิม าณขอ ง วิต าม ิน อ ี • จำานวน milligram ของแต่ละรูป alpha , beta , gamma, และ alpha-tocotrienol คูณด้วย 1.0, 0.5, 0.1, และ 0.3 ตามลำาดับ • ถ้ารู้จำานวน milligram ของ alpha เท่านั้นให้คูณด้วย 1.2

PAIROJ LEELAHAKUL

ปร ิม าณวิ ตาม ิน อี ที ่ค วร ได ้ร ับ

• ความต้องการของร่างกายขึ้นอยู่กับปริมาณกรดไขมันที่ไม่อิ่ มตัว (PUFA)ที่บริโภค • ปริมาณที่จำาเป็นเพื่อให้สมดุลย์กับปริมาณของ PUFAตำ่าสุดที่ควรบริโภค ประมาณ 3-4 mg alpha-TE ต่อวัน หรือ อัตราส่วนของ alpha-TE / PUFA ควรจะเป็น 0.4 PAIROJ LEELAHAKUL

การ ขาด วิต าม ิน อ ี • พบได้น้อยมาก • มักจะเกิดจาก ความผิดปกติของการดูดซึม การขนส่งไขมัน เช่น abetalipoprotein • ทารกแรกเกิดมีปริมาณตำ่า แต่ ในนำ้านมแม่มีปริมาณเพียงพอ PAIROJ LEELAHAKUL

การ เก ิด พิษ จากวิ ตาม ิน อี • พิษที่เกิดจากวิตามิน อี มีค่อนข้างตำ่าแม้ว่าจะได้รับในขนาดสูง • แต่สิ่งที่พงึ ระวังในการบริโภควิตามินที่ละลายในไขมันในขน าดสูงกับสารกันเลือดแข็ง เช่น caumadin ทำาให้เกิด bleeding

PAIROJ LEELAHAKUL

วิต าม ิน ที่ ละล ายใน นำ้า • กลุ่มวิตามินที่มีความสำาคัญในระบบการทำางานของ enzyme ซึ่งหลายๆตัวมีความเกี่ยวข้องกับ ปฏิกิริยาที่ให้ พลังงาน • วิตามินเหล่านี้จะเก็บสะสมในร่างกายในจำานวนเล็กน้อย และมีการขับออกมาทางปัสสาวะในจำานวนเล็กน้อย • การได้รับวิตามินเหล่านี้ในแต่ละวันจึงมีความจำาเป็นที่จะ ช่วยหลีกเลี่ยงการเกิดภาวะ พร่องหรือเกิดการรบกวนต่อ ระบบ การทำางานปกติของร่างกาย PAIROJ LEELAHAKUL

วิต าม ิน บี รวม • วิตามิน บีรวม เป็นกลุ่มของวิตามินที่มีความใกล้เคียงกันใน 1. แหล่งที่มา 2. ความสัมพันธ์กันทั้งที่อยู่ในเนื้อเยื่อ พืช และ สัตว์ 3. มีหน้าที่ที่มีความสัมพันธ์กัน

• วิตามิน บีรวม มีบทบาทที่สำาคัญขบวนการ metabolism ของ cell ที่มี ชีวิตทั้งพืชและสัตว์ โดยเป็น 1. coenzyme 2. prosthetic group รวมกับ apoenzyme

PAIROJ LEELAHAKUL

วิต าม ิน บี รวม • thiamin , niacin , riboflavin , panthothenic acid มีความสำาคัญในการสร้างพลังงานจาก glycolysis , tricarboxylic acid cycle • ด้วยความสัมพันธ์กันระหว่างสมาชิกของวิตามิน บี การที่บริโภคตัวหนื่งตัวใดไม่เพียงพอ อาจจะทำาให้เกิความบกพร่องในการใช้วิตามิน บีตัวอื่นๆ ดังนั้นการขาด วิตามิน บี ตัวใดตัวหนึ่งในทาง clinic จึงเป็นไปได้ยาก PAIROJ LEELAHAKUL

วิตามิน บ ี 1 (THIAMIN)

• เป็นส่วนหนึ่งใน ระบบ enzyme อยู่ในรูปของ thiamin pyrophosphate ซึ่งมีความสำาคัญกับทุกๆcellในร่างกาย ในการใช้สร้างพลังงานจากขบวนการ metabolismของ กรดไขมันและ คาร์โบฮัยเดรท • พลังงานที่ได้มีความสำาคัญต่อการเจริญเติบโต การสืบพันธุ์ ระบบภูมิคุ้มกัน และอื่นๆ • บทบาทเกี่ยวกับ membrane และ nerve conduction

PAIROJ LEELAHAKUL

คุณ สมบ ั ต ิ ของ วิ ตามิน บี 1 • ผลึกสีขาว ละลายได้ดีในนำ้า ไม่ละลายในไขมัน • ถูกทำาลายด้วยความร้อนเมื่ออยู่ในสารละลายที่เป็นกลาง 0 และเป็นด่าง ในสารละลายที่เป็นกรดทนได้ถึง 120 C • ในภาวะที่เป็นด่าง และมี oxidizing agent จะเปลี่ยนเป็น thiochrome ที่เรืองแสงและหมดสภาพความเป็นวิตามิน PAIROJ LEELAHAKUL

การด ูด ซึ ม กา รสัง เคราะ ห์ กา รสะ สม

• มีการดูดซึมที่ลำาไส้เล็ก และผ่านเข้าสู่กระแสเลือด ไปยังเนื้อเยื่อต่างๆ • ในร่างกายมีวิตามิน บี 1 อยู่ประมาณ30 mg พบมากในกล้ามเนื้อลาย หัวใจ ตับ ไต สมอง โดยพบในกล้ามเนื้อลาย 50% • เนื้อเยื่อในร่างกายจะเก็บวิตามินเอาไว้เท่าที่ต้องการเท่านั้น ที่เหลือจะถูกขับออกมาในปัสสาวะ PAIROJ LEELAHAKUL

การด ูด ซึ ม กา รสัง เคราะ ห์ กา รสะ สม

• ระดับของวิตามิน บี1 จะลดลงอย่างรวดเร็วในเนื้อเยื่อต่างๆ หากได้รับวิตามิน บี1ไม่เพียงพอ • ที่เหลืออยู่ในร่างกายจะถูกเปลี่ยนไปเป็น thiamin pyrophosphate (TPP) 80% เป็น thiamin triphosphate ( TTP) 10% อีก10 % เป็น thiamin monophosphate (TMP) และ thiamin PAIROJ LEELAHAKUL

หน้า ที่ ของว ิตา มิน บ ี 1 (THIAMIN) • รูปของวิตามิน บี1ที่ทำาหน้าที่ในร่างกายได้แก่ TPP และ TTP ทำาหน้าที่เป็น coenzyme ใช้ในการเปลี่ยน pyruvate ไปเป็น acetyl CoA โดย oxidative decarboxylation เพื่อเข้าสู่ Kreb’s cycle • TPP ทำาหน้าที่เป็น coenzyme ในการเปลี่ยน alpha keto acid ที่ได้จาก amino acid ไปเป็น acetyl CoA

PAIROJ LEELAHAKUL

หน้า ที่ ของว ิตา มิน บ ี 1 (THIAMIN) • TPP เป็น coenzyme ของ transketolase reaction ใน pentose phosphate shunt ซึ่งเป็น alternate pathway สำาหรับ glucose oxidation • TTP มีความสำาคัญต่อการนำา nerve impluse

PAIROJ LEELAHAKUL

ปร ิม าณที ่ค วร ได ้ร ับ

• thiamin มีสว่ นสัมพันธ์ใกล้ชิดกับกับการใช้พลังงานอย่างมาก ดังนั้นความต้องการ thiaminจึงขึ้นอยู่กับการใช้กำาลังงาน • US RDA กำาหนดให้ thiamin 0.5 mg/ 1000 kcal • ในเด็กทารก 0.3-0.5 mg/วัน • ในเด็ก 0.7-1.4mg/วัน • ในผูใ้ หญ่ 1-1.5 mg/วัน • หญิงมีครรภ์ และ ให้นมบุตร เพิ่มอีก 0.3 mg/ วัน PAIROJ LEELAHAKUL

กา รขา ดวิ ตา มิ น บี 1 (THIAMIN) • เกิดจาก การบริโภคไม่เพียงพอ การดูดซึมผิดปกติ การเก็บสะสมบกพร่อง • อาจแบ่งได้เป็น 2 แบบ 1. dry beriberi มี peripheral neuropathy , loss of function หรือ paralysis ของ ขา , mental confusion 2. wet beriberi เกิดจากการบริโภคคารืโบฮัยเดรทมากเกินไป และใช้กำาลังงานมาก จะมีอาการ บวม หัวใจวาย และมี lung congestion PAIROJ LEELAHAKUL

วิ ตาม ิน ซ ี

( ASCORBIC ACID )

• เป็นผลึกสีขาว ละลายนำ้าได้ ถูก oxidize ได้ง่ายในรูปของสารละลาย โดยเฉพาะเมื่อถูกความร้อน • การถูก oxidize เกิดได้เร็วในกรณีที่มี เหล็ก หรือ ทองแดง ในภาวะที่เป็นด่าง • เป็นอนุพันธ์ของ hexose มีความใกล้เคียงกับ monosaccharides PAIROJ LEELAHAKUL

วิ ตาม ิน ซ ี

( ASCORBIC ACID )

• พืชและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหลายชนิด สามารถสังเคราะห์ วิตามิน ซี จาก glucose แต่มนุษย์ไม่สามารถทำาได้ • reduce form ของ ascorbic acid เป็น active form และเป็น antiscorbutic

PAIROJ LEELAHAKUL

กา รด ู ด ซึม ก าร สะส ม • ดูดซึมได้ง่ายที่ลำาไส้เล็ก ถ้ามีการบริโภค 20-120 mg จะมีการดูดซึมได้ถึง 90% และจะลดลงเหลือ 16% ถ้าบริโภค 12 g และถูกนำาไปที่เนื้อเยื่อต่างๆ ทางเลือด • พบมากในต่อมหมวกไต ไต ตับ และ ม้าม เมื่อเนื้อเยื่อ อิ่มตัวแล้วจะถูกขับออกมาในรูปของ oxalic acid

PAIROJ LEELAHAKUL

หน้าท ี่ ของ วิต าม ิ นซี • เป็น coenzyme และ cofactor ในการ hydroxylation ในการสังเคราะห์ collagen

เปลี่ยน proline ไปเป็น hydroxyproline

เปลี่ยน tryptophan เป็น 5-OH tryptophan ซึ่งจำาเป็นในการสร้าง serotonin ช่วยในการสร้าง norepinephrine

• ช่วยควบคุม oxidation reduction potential • ช่วยในmetabolism อื่นๆ เช่น ช่วยการดูดซึมเหล็กในลำาไส้ • เป็น antioxidant ช่วยปกป้อง วิตามิน เอ อี และ PUFA PAIROJ LEELAHAKUL

ปร ิม าณที ่ค วร ได ้ร ับ • • • •

เด็ก 35 mg/วัน ผู้ใหญ่ 45 mg/วัน หญิงมีครรภ์และให้นมบุตร 60 mg/วัน ร่างกายมี saturation pool 1500 mg มีการใช้ไป 3% ของ pool /วัน คิดเป็น 45 mg /วัน • จะเริ่มมีอาการลักปิดลักเปิด เมื่อpool size ตำ่ากว่า 300mg PAIROJ LEELAHAKUL

การ เก ิด พิษ จาก วิต าม ิน ซี • ท้องเสีย จาก osmotic effect • hemolytic anemia ในทารกคลอดก่อนกำาหนด ที่ได้รับ วิตามินรวมไม่สามารถขับวิตามิน ซี ออกทางไตได้เนื่องจากมี GFR ตำ่า เกิด oxidative damage • false positive sugar ในปัสสาวะ • เกิดนิ่ว urate และ oxalate stone • rebound scurvy

LEELAHAKUL

PAIROJ

Riboflavin (B2) • ดูดซึมได้ดีที่ duodenum ด้วย saturable transport system โดยอัตราเร็วขึ้นอยู่กับ ปริมาณที่รับประทาน การรับประทานร่วมกับอาหารอื่น bile salt • ในกรณีที่มีปริมาณของ riboflavin ที่บริโภคตำ่าการดูดซึมเป็นแบบ Na+ active transport

PAIROJ LEELAHAKUL

Riboflavin (B2) หน้าที่ของ vitamin B2  กระตุ้น redox reaction  FMN เปลีย่ น vitamin B6ให้อยู่ในรูปของ phosphorylated pyridoxin  FAD เปลี่ยน tryptophan เป็น niacin  ป้องกันการทำาลายเนื้อเยื่อจากขบวนการ oxidation PAIROJ LEELAHAKUL

ปริมาณที่ร่างกายต้องการ RDA 0.6 mg/1000 Kcal ในทุกอา ยุ ถ้าได้รับอาหารน้อยกว่า 2000 Kcal ควรได้รับอย่างน้อย 1.2 mg หญิงตั้งครรภ์ ควรได้รับเพิ่มขึ้นอีก 0.3mg หญิงที่ให้นมบุตร ควรได้รับเพิ่ม 0.5mg PAIROJ LEELAHAKUL

การขาด vitamin B2 • ในระยะเริ่มแรกไม่มีอาการ ตรวจพบได้จากการตรวจเลือด

• อา กา รที ่ ตร วจพ บ

เจ็บคอ มีการอักเสบของเยื่อบุในช่องปาก ลิ้น ริมฝีปาก มุมปาก(angular stomatitis) , normochromic normocytic anemia อาการของการขาด niacin vitaminB6 PAIROJ LEELAHAKUL

การป ระเมินภ าว ะการขาด Vitamin B2 1.การวัดปริมาณ riboflavin ที่ขับออกมาในปัสสาวะ 24 ชั่วโมงต่อปริมาณ creatinin ในปัสสาวะ 24ชั่วโมง • ผู้ใหญ่ > 120 ug/cr 24 hrs • เด็ก > 80 ug/cr 24 hrs 2. การวัดระดับ riboflavin จากเม็ดเลือดแดง • ค่าปกติ > 15 ug • ถ้า < 10 ug ถือว่าขาด riboflavin PAIROJ LEELAHAKUL

การประเมินภาวะการขาด Vitamin B2 3. การวิเคราะห์หา activity coefficient (AC) ของFDA-dependent glutathion reductase

• ค่าปกติ < 1.2 • ภาวะพร่อง 1.2 – 1.4 • ภาวะขาด > 1.4 PAIROJ LEELAHAKUL

การเกิดพิษจาก riboflavin • ไม่พบในคนเนื่องจากเมื่อถึงจุดอิ่มตัวในเลือด แล้วจะมีการขับออกมาทางไตเพิ่มขึ้น

PAIROJ LEELAHAKUL

Niacin • Active form = nicotinamide • Niacin เป็นองค์ประกอบที่สำาคัญของ coenzyme nicotinamide adenine dinucleotide ( NAD) nicotinamide adenine dinucleotide phosphate(NADP) kinase(liver enzyme) NAD

NADP phosphatase PAIROJ LEELAHAKUL

Niacin • Niacin ถูกดูดซึมผ่านลำาไส้เล็ก โดย simple diffusionและเปลี่ยนเป็น nicotinamide ซึ่งถูกนำาไปสร้างNAD,NADP • ถูกขับออกจากร่างกายทางปัสสาวะในรูปของ nicotirunic acid , N-methylnicotinamide

PAIROJ LEELAHAKUL

หน ้ า ที่ข องNiacin สารตั้งต้นในการสังเคราะห์ NAD,NADP ซึ่งมีความสำาคัญใน oxidation-reduction reaction ในการสลายพลังงานจาก carbohydrate, protein,fat เป็น coenzyme ของ dehydrogenase ในการสังเคราะห์ fatty acid , cholesterol ใช้ในการสร้าง ATP ใช้ในการสังเคราะห์ glycogen PAIROJ LEELAHAKUL

ปริมาณ ที ่ร่างก ายควรไ ด้ รับ ในแ ต่ล ะวัน อาย ุ • • • • •

0-0.5 0.5-1 1-3 4-6 7-10

อายุ

niacin equivalent 5 6 9 12 13

• • • • • • •

11-14 15-18 19-24 25-50 51+ Pregnancy Lactating

niacin equivalent M 17 20 19 19 15

F 15 15 15 15 13 17 20

PAIROJ LEELAHAKUL

การข าด Niacin • •

ระยะแรก อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร มีผื่นตามผิวหนัง ระยะรุนแรง (3d ของ pellagar)

1. 2. 3.



dermatitis ผิวแห้ง แตกเป็นเกล็ด diarrhea dementia

Hartnup ‘s syndrome : autosomal recessive tryptophan niacin PAIROJ LEELAHAKUL

การป ระ เมินการข าด Niacin • ตรวจหา N-methylnicotinamide ในปัสสาวะ 24 ชั่วโมง < 0.8 mg/day = ขาด niacin

PAIROJ LEELAHAKUL

การเก ิด พิษจาก Niacin • ใช้ในขนาดสูง 1-2 กรัม เป็นยาในการรักษา hypercholesterolemia อาจทำาให้เกิด หน้าแดง เนื่องจากการไปกระตุ้น การหลั่ง histamine • ทำาลายเนื้อเยื่อตับ

PAIROJ LEELAHAKUL

PANTOTHENIC ACID • เป็นส่วนประกอบของ coenzyme A ซึ่งมีบทบาทสำาคัญในacetyl CoA ซึ่งทำาหน้าที่ในการสร้างพลังงานจาก carbohydrate และการสลายfatty acid • ทำาหน้าที่ใน citric acid cycle ในการรับกลุ่ม acetate • เกี่ยวข้องกับ metabolism ของ amino acid • เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ cholesterol,phospholipid, steroid ,hemoglobin,etc. PAIROJ LEELAHAKUL

PANTOTHENIC ACID • ปริมาณที่ร่างกายควรได้รบั • ผู้ใหญ่ 4-7 mg • เด็ก 2-5 mg

PAIROJ LEELAHAKUL

PANTOTHENIC ACID • การขาดpantothenic acid ไม่พบในคนเนื่องพบมากในอาหารทั่วไป • การเกิดพิษโดยทั่วมักไม่พบ อาจทำาให้ท้องเสียได้ถ้าได้รับในปริมาณสูง

PAIROJ LEELAHAKUL

Related Documents

Vitamin Ppt
November 2019 12
Vitamin.
May 2020 28
Vitamin
May 2020 31
Vitamin
June 2020 28