United Nations Summit Climate Change

  • Uploaded by: Nattapol Kengkuntod
  • 0
  • 0
  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View United Nations Summit Climate Change as PDF for free.

More details

  • Words: 714
  • Pages: 4
สหประชาชาติวางแผนที่จะใช้การบาบัดรักษา แบบ ช็อก เธราปี กับบรรดาผู้นาของโลก ในเรือ ่ งสิง ่ แวดล้อม Highlight

เลขาธิการองค์การสหประชาชาติ นายบัน คี มุน และนักเจรจาต่อ รองกล่าวว่า นอกเสียจากว่า พวกเขาสามารถเปลี่ยนผู้นาระดับโลกไปเป็นนักรณรงค์ทอ ี่ ุทศ ิ ตนเพือ ่ ปฏิบต ั ิการแบบถอนราก ถอนโคน มันจะเป็นเรื่อ งยากมากทีจ่ ะเข้าถึงข้อ ตกลงทีบ ่ งั คับใช้ได้และน่าเชื่อ ถือ เพือ ่ หลีกเลี่ยง ผลกระทบทีจ่ ะเกิดตามมาของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอ ากาศซึ่งจะล้างผลาญทาลายล้าง อย่างใหญ่หลวงทีส ่ ุด

รายละเอียด การประชุม สุดยอดกลุ่ม ย่อ ยจะบีบคั้นให้บรรดาผู้นาชาติร่ารวยฟังเสียงชาติยากจน โดยหวังจะ เป็นการเริ่ม ในปฏิบต ั ิการแบบถอนรากถอนโคน องค์การสหประชาชาติกาลังวางแผนทีจ ่ ะจัดการบาบัดรักษาแบบอกสั่นขวัญหนีหรือ ทีเ่ รียกว่า ช็อ ค เธราปีในเชิงการทูต (Diplomatic shock therapy) สาหรับผู้นาในสัปดาห์นี้ โดยหวังใจว่า จะอัดใส่ความเร่งด่วนอั นจาเป็นอย่างมากในเรื่อ งการเจรจาเพือ ่ สนธิสัญญาเกีย ่ วกับการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอ ากาศซึ่งตอนนี้รับรู้กน ั ในวงกว้างแล้วว่าเป็นเรื่อ งปล่อ ยปละละเลยตามน้า ไปเรื่อ ย ๆ ทีอ ่ ันตรายยิง่ เลขาธิการองค์การสหประชาชาติ นายบัน คี มุน และนักเจรจาต่อ รองกล่าวว่า นอกเสียจากว่า พวกเขาสามารถเปลี่ยนผู้นาระดับโลกไปเป็นนักรณรงค์ทอ ี่ ุ ทศ ิ ตนเพือ ่ ปฏิบต ั ิการแบบถอนราก ถอนโคน มันจะเป็นเรื่อ งยากมากทีจ ่ ะเข้าถึงข้อ ตกลงทีบ ่ งั คับใช้ได้และน่าเชื่อ ถือ เพือ ่ หลีกเลี่ยง ผลกระทบทีจ ่ ะเกิดตามมาของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอ ากาศซึ่งจะล้างผลาญทาลายล้าง อย่างใหญ่หลวงทีส ่ ุด ขณะทีเ่ ครื่อ งบอกเวลาระบบดิจิทล ั กาลังนับถอยหลังชั่วโมงทีเ่ หลือ อยูก ่ อ ่ นจะถึงการประชุม สุด ยอดทีก ่ รุงโคเปนเฮเกน (ซึ่งถูกคาดหวังว่าจะปิดฉากการเจรจาในเรื่อ งการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอ ากาศได้) ขณะเดียวกันความก้าวหน้าในการประชุม สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติในกรุง นิวยอร์คก็ถก ู มองว่าเป็นเรื่อ งสาคัญยิง่ ยวด ประมุขและหัวหน้ารัฐบาลของรัฐต่าง ๆ เกือ บร้อ ย ชีวิตเข้าร่วมประชุม นี้ โดยมีรูปแบบการประชุม กลุ่ม ย่อ ยเข้ามาเพือ ่ การนี้

“เราจาเป็นต้อ งให้พวกผู้นาเหล่านี้อ อกจากเขตสะดวกสบายอย่างทีเ่ ขาเคยชิน ” นักการทูตคน หนึ่งกล่าว “เหตุผลของเราก็คือ ว่า บรรดาผู้นาได้อิ่ ม เอมกับความสะดวกสบายเกินไปหน่อ ย พวก เขาต้อ งรับฟังจากประเทศอื่ น ๆ ทีเ่ สี่ยงและกาลังทนทุกข์เสียบ้าง” คุณราเชนทร์ พาชอรี ประธานองค์ประชุม รัฐบาลร่วมว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอ ากาศ (Rajendra Pachauri, head of the Intergovernmental Panel on Climate Change) ทีไ่ ด้ รางวัลโนเบิลสาขาสันติภาพร่วมกับอดีตรองประธานาธิบดีอัลกอร์ (Al Gore) เห็นด้วยในเรื่อ งนี้ คุณราเชนทร์ให้ความเห็นว่า บรรดาผู้นาทีจ ่ ะเข้าร่วมประชุม สุดยอด จี 20 ทีเ่ มือ งพิตต์สเบิร์กใน สัปดาห์หน้านั้น และกล่าวอี กว่า “เราจาเป็นต้อ งเตือ นคนเหล่านี้ในเรื่อ งผลกระทบของการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอ ากาศ ข้อ เท็จจริงทีว่ ่า ผลกระทบทีเ้ กิดขึ้นนั้นไม่เท่าเทียมกันและมันก็ ตกอยูก ่ บ ั ผู้คนยากจนทีส ่ ุดบางกลุ่ม ในโลกอย่างสาหัสสากรรจ์ เรามีโอกาสทีจ ่ ะเห็นรัฐล้ม เหลว หลายรัฐจานวนมาก หากเราไม่ลงมือ ทาให้ทน ั เวลา” บรรดาประมุขของรัฐทีจ ่ ะเข้าร่วมประชุม สมัชชาสหประชาชาติ จะถูกลดจานวนคณะบุคคล ผู้ติดตาม แต่ละท่านจะได้รับอนุญาตให้มีแค่ผู้ชว่ ยคนเดียวเข้าร่วมประชุม ในวาระ โดยทัว่ ๆ ไป ผู้ชว่ ยคน นั้นก็คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสิ่งแวดล้อ มของแต่ละชาตินั่นเอง แทนทีจ ่ ะมีการกล่าวสุนทรพจน์ตามทีถ ่ ก ู วางไว้ บรรดาผู้นาจะถูกจับคู่เพือ ่ เป็นประธานกลุ่ม อภิปราย เช่น สหราชอาณาจักรจะจับคู่กบ ั ประเทศกายานา ตูวาลูจะจับคู่กบ ั ประเทศ เนเธอร์แลนด์ และมองโกเลียกับคณะกรรมาธิการยุโรป บรรดาผู้นาจะทานอาหารกลางวันกับนักเคลื่อ นไหวทางสิ่งแวดล้อ มและกับเหล่าหัวหน้าฝ่าย บริหารของบรรษัทต่าง ๆ ทีไ่ ด้เคลื่อ นไหวกดดันรัฐบาลของตนให้ลงมือ ทาบางอย่าง ส่วนอาหาร เย็น บรรดาผู้นาจากชาติทป ี่ ล่อ ยก๊าซมากทีส ่ ุดจะทานอาหารเย็นกับผู้นาจากบังกลาเทศ คิริบาติ และคอสตาริกา-ซึ่งประเทศเหล่านี้เป็นหนึ่งในเหยือ ่ อั นดับต้น ๆ ของการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอ ากาศ ในช่วงท้ายของวัน หลักเหตุผลมีอ ยูว่ ่า บรรดาผู้นาจะถูกอบรมไปด้วยเหตุผลใหม่ของ วัตถุประสงค์ บรรดาผู้นาจากชาติร่ารวยจะถูกกระตุ้นให้รับเอาการลดการปล่อ ยก๊าซคาร์บอน ขนานใหญ่คือ ราว ร้อ ยละ 25-40 ตลอดช่วงทศวรรษต่อ ไป, ร้อ ยละ 80 ภายในปี 2050- จาเป็น ทีต ่ ้อ งจะรักษาอุ ณหภูมิไม่ให้สูงขึ้นไปมากกว่าสององศา สูงกว่าระดับก่อ นยุคอุ ตสาหกรรม , อุณหภูมินี้ถก ู ตั้งไว้โดยวิทยาศาตร์เพือ ่ หลีกเลี่ยงผลหายนะใหญ่หลวงทีส ่ ุดของการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอ ากาศ มันถูกหวังไว้ว่า บรรดาผู้นาจะมีความเข้าใจบางอย่างในเรื่อ งภัยคุกคามต่อ ประเทศยากจน และ อย่างน้อ ยทีส ่ ุด พวกเขาจะมีเป้าหมายร่วมในการจัดการปัญหา “เราจาเป็นต้อ งรวมกลุ่ม กัน เรา ไม่ต้อ งการกล่าวโทษหรือ ชี้นิ้วใส่กน ั และกัน” กล่าวโดย ยาคุบ อัล -ซานาดา ผู้ให้คาปรึกษาแก่ ทีม ของประเทศคูเวตในพันธกิจทีส ่ หประชาชาติ (Yaqoub al-Sanada, counsellor at the Kuwaiti mission to the UN. Kuwait) คูเวตเป็นหนึ่งในประเทศผู้ผลิต น้ามันรายใหญ่ทส ี่ ุดของ โลก ซึ่งคูเวตจะนั่งเป็นประธานร่วมกับประเทศฟินแลนด์ ในวาระการอภิปราย

องค์การสหประชาชาติหวังความช่วยเหลือ จาก ประธานาธิบดี บารัค โอบามา ซึ่งจะขึ้นพูดใน วาระการประชุม และคาดหวังว่า เขาจะส่งสัญญาณชัดเจนว่าอเมริกาจะอุ ทศ ิ ตนในการลงมือ ปฏิบต ั ิ ขณะเดียวกันก็มีความกังวลมากขึ้นในเรื่อ งการหาหลักประกันต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่าง

ยิง่ การเห็นตรงกันข้ามกับวาระประเด็นสีเขียวของประธานาธิบดีบารัค โอบามาในสภาคองเกรส คุณทอดด์ สเติร์น ทูตด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอ ากาศของสหรัฐอเมริกา ( Todd Stern, the State Department's climate change envoy) กล่าวว่า “ไม่ว่าผมจะพบใครและไม่ว่า เมื่อ ไหร่ คาถามแรกทีถ ่ ก ู ถามก็คือ กฎหมายอยูท ่ ไี่ หน? มันไปถึงไหนแล้วล่ะ?” มีรายงานหลายฉบับทีป ่ ระธานาธิบดี หู จินเทาของจีน ผู้ซึ่งจะปรากฏตัวเป็นครั้งแรกในสมัชชา องค์การสหประชาติครั้งนี้ (China's president, Hu Jintao) จะป่าวประกาศความรับผิดชอบอั น ใหม่เพือ ่ การควบคุม มลภาวะ–สัญญาณแบบนี้ จะเป็นสิ่งสาคัญเพือ ่ กระตุ้นการเจรจาในหลาย ๆ วันข้างหน้า นับเป็นการถางทางไปสู่การประชุม ทีโ่ คเปนเฮเกน “เราสามารถได้รับผลสัม ฤทธิ์ จากการประชุม ทีโ่ คเปนเฮเกน มันสามารถบรรลุเป้าหมายได้ แต่ ตอนนี้เรื่อ งก็ยงั ทรงตัว เราจาเป็นต้อ งปิดช่อ งว่างหลาย ๆ อย่าง” กล่าวโดย จอห์น แอชตัน ทูต ทางด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อ มของสหราชอาณาจักร (John Ashton, Britain's climate change envoy) ช่อ งว่างเหล่านั้นปกคลุม การเจรจาในช่วงฤดูร้อ นทีผ ่ า่ นมา มีอ ย่างหนึ่ง ทีค ่ ุณจอห์นเรียก นั่นคือ “ช่อ งว่างในเรื่อ งความทะเยอทะยาน” (ambition gap) ขยายความก็คือ ความล้ม เหลวของบรรดาผู้นาจากประเทศใหญ่ ๆ ทีป ่ ล่อ ยมลพิษในการทีจ ่ ะลงนามลดการปล่อ ย ก๊าซมากขึ้น และก็มี “ช่อ งว่างในเรื่อ งการเงิน” (finance gap) ขยายความคือ ความล้ม เหลว ของชาติอุตสาหกรรมในเรื่อ งแพ็คเก็จการจ่ายเงินชดเชยว่าจะเป็นอย่างไรสาหรับประเทศยากจน ทีต ่ ้อ งทนทุกข์กบ ั ผลกระทบทีจ ่ ะตามมาแบบทาลายล้างผลาญมากทีส ่ ุด สหราชอาณาจักร เปิดเผยตัวเลขเมื่ อ เดือ นมิถน ุ ายนทีผ ่ า่ นมา คือ ประมาณ 6 หมื่ น 1 พันล้าน ปอนด์สเตอร์ลิงต่อ ปีภายในปี 2020 ทีส ่ หราชอาณาจักรจะรับผิดชอบ เหล่านักเจรจาต่อ รองก็ รู้สึกหงุดหงิดทีป ่ ระเทศอุ ตสาหกรรมใหญ่ ๆ ไม่ได้กาหนดตัวเลขทีช ่ ด ั เจนว่าพวกเขาจะ รับผิดชอบเท่าไร หรือ วิธีการทีพ ่ วกเขาจะจัดหาทุนให้นั้นเป็นอย่างไร นักเจราจาต่อ รองและผู้เชี่ยวชาญบางคน ได้วางแผนสารองไว้แล้วหากการประชุม ในเดือ น ธันวาคม ทีก ่ รุงโคเปนเฮเกนล้ม เหลวทีจ ่ ะนามาซึ่งข้อ ตกลงทีแ ่ ข็งแกร่งเพียงพอ ทีก ่ รุงวอชิงตัน ตอนนี้เจ้าหน้าทีใ่ นรัฐบาลของประธานาธิบดีโอบามา พูดอย่างเปิดเผยเกีย ่ วกับ การเจรจาทีไ่ ปไกลเกินกว่าการประชุม รอบโคเปนเฮเกน คุณสติเวน ชู เลขาธิการด้านพลังงาน (Steven Chu, the energy secretary) บอกกับนักข่าวว่า “อยากให้พวกเราไม่ตั้งความหวังใน การประชุม ทีโ่ คเปนเฮเกนเป็นเช่นทุกสิ่งทุกอย่างแล้วก็จบกัน รวมถึงพูดต่อ อี กว่าถ้าหากมันไม่ เกิดขึ้นแล้วเราก็จบเห่” กลุ่ม คลังสมองหลายกลุ่ม กาลังเริ่ม ทางานในสิ่งทีถ ่ ก ู เรียกว่า แผนสอง (Plan B) – ขยายความก็ คือ สถานการณ์หลาย ๆ อย่าง ( scenarios) สาหรับโลกเท่าทีจ ่ ะสามารถคิดขึ้นมาในการ วางแผนปฏิบต ั ิการว่าทาอย่างไรก่อ นมันจะสายเกินไป แต่บางกลุ่ม ก็ไม่เชื่อ ว่าจะมีอ ะไรเกิดขึ้น

“สาหรับผมมันดูเหมือ นว่าการประชุม ทีโ่ คเปนเฮเกนไม่ใช่จุดสุดท้ายของเรื่อ งนี้ ” กล่าวโดยคุณ ทิม เวอร์ธ ประธานกองทุนสหประชาชาติ (Tim Wirth, the president of the UN Foundation, ผู้ซึ่งช่วยเขียนแผนการค้าขายและแลกเปลี่ยนก๊าซเรือ นกระจก 1

1

สาหรับฝนกรด

แผนการค้าขาย และแลกเปลีย ่ นก๊าซเรือนกระจก หรือ cap-and-trade plan สามารถอ่านเพิม ่ เติมได้ที่ http://www.measwatch.org/autopage/file/MonOctober 2009-18-21-53-

ฉบับแรก) เขากล่าวเสริม ว่า “เราจะมีงานประชุม โคเปนเฮเกนอี กหลายครั้งตลอดชีวิตทีเ่ หลือ อยู่ ของพวกเรา”

แหล่งทีม ่ า http://www.guardian.co.uk/environment/2009/sep/20/united-nations-summitclimate-change

VoluntaryCarbonMar ket_Jan_ 08.pdf, http://en.wikipedia.or g/wiki/Emissions_trading และ http://www.globalclimatelaw.com/

Related Documents


More Documents from "edo-peiraias.blogspot.com"