You are here:
POSITIONING : MAGAZINE : BUSINESS DATA
คนไทยนิยมอาหารสำาเร็จรูปท่ีสุดใน โลก
G o t o m a
a g e r . c o m R e s o u r c e s
F ภัยเงียบจากการไม่กิน o o อัตราการบริ โภคผัก d
“ผัก”
ภัยเงียบคุกคามเด็กไทย -ผลไม้ด่ิงเหวติดต่อกันตัง้แต่ปี 2544 เพ่ม ิ ความ a เส่ียงต่อการเป็ นโรคร้ายหลายชนิ ด ขณะท่ีกระ n ทรวงสาธารณสุขยืนยันมะเร็งdคร่าชีวิตคนไทย เป็ นอันดับหน่ึงมาตัง้แต่ปี 2545 แนะควรสร้าง B นิสัยการกินผักผลไม้เร่ิมตัง้แต่ e วันนีเ้พ่ ือสุขภาพท่ีดี
v e ข้อมูลล่าสุดจากการประชุมวิชrาการส่งเสริม สุขภาพแห่งชาติครัง้ท่ี 2 ประจำag าปี 2550 ของกระ e ทรวงสาธารณสุข พบว่า โรคมะเร็ งกลายเป็ นสาเหตุ
การตายอันดับหน่ึงของคนไทยในปั จจุบัน เอาชนะ M a อุบัตเิ หตุและโรคหัวใจท่ีเคยครองอันดับหน่ึงสาเหตุ r การตายมาหลายสิบปี แล้ว โดยมะเร็ งลำาไส้กำาลังก้าว k e ขึ้นมาเป็ นสาเหตุการตายอันดัtบต้นๆ โดยท่ค ี นไทยเ ราไม่ค่อยตระหนักถึงภัยของโรคนี ก ้ ันเท่าไรนัก i n g
นางอลิสรา วิจารณกรณ์ ผู้จัดการด้านโภชนา การและสุขภาพ บริษัท ยูนิลีเวอร์ ไทย เทรดดิง้ จำากัด เปิ ดเผยว่า สถิติล่าสุดจากกระทรวงสาธารณสุขระบุชัดว่า คนไทยเสียชีวิตจากโรคมะเร็งถึงปี ละกว่า 50,000 ราย โดยท่ีมะเร็งลำาไส้ขึ้นมาเป็ นอันดับ 3 รองจากมะเร็ง ปอดและเต้านม นอกจากนีค ้ นไทยยังเป็ นโรคเบา หวานท่ีรู้ตัวแล้วถึงกว่า 3 ล้านราย และกว่า 10 ล้านราย มีอัตราความเส่ียงสูงเน่ ืองจากมีปริมาณน้ำาตาลในเลือด สูงเกินกำาหนด ภาวะเส่ียงท่ีกำาลังคุกคามชีวิตของคน ไทยในขณะนี้ 85% เกิดจากส่ิงแวดล้อมท่ีเป็ นพิษ การรับประทานอาหารไม่สมดุล รับประทานอาหาร ท่ีมีแป้ ง ไขมัน น้ำาตาล และเน้ือสัตว์มากเกินไป และบริโภคผักผลไม้น้อยลง ทำาให้เกิดอาการ ท้องผูก มีการคัง่ค้างของอุจจาระในลำาไส้ใหญ่
เย่ ือบุลำาไส้จึงสัมผัสกับสารก่อมะเร็งท่ีมักพบ มากในกากอาหารจำาพวกไขมันได้นานขึ้น ท่ีสำาคัญคือ สถานการณ์การบริโภคผัก ผลไม้ของคนไทยอยูใ่ นขัน ้ น่าเป็ นห่วงมาก ปั จจุ บันคนไทยรับประทานผักผลไม้เฉล่ียวันละประมาณ 186 กรัมต่อวันเท่านัน ้ ขณะท่ีองค์การอนามัยโลก แนะนำาให้ผู้บริโภครับประทานผักผลไม้วันละประมาณ 400 กรัม ซ่ึงเท่ากับว่าคนไทยบริโภคผักผลไม้เพียง ประมาณหน่ึงในสามของท่ีควรจะได้รับเท่านัน ้ และ จากสถิติท่ียูนิลีเวอร์เก็บย้อนหลังไปประมาณ 10 ปี พบว่า ตัง้แต่ พ.ศ.2544 เป็ นต้นมา ปริมาณการบริโภค ผักและผลไม้ของคนไทยลดต่ำาลงอย่างมาก นอกจากนีย ้ ูนิลเี วอร์ยังได้ศึกษาแนวโน้มการ บริโภคอาหารใน 4 ประเทศของภูมิภาคเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ คือ ไทย เวียดนาม อินโดนีเซีย และฟิ ลิปปิ นส์ โดยเก็บสถิติย้อนหลัง 10 ปี พบว่าแนวโน้มการบริโภค อาหารในทัง้ 4 ประเทศมีความคล้ายคลึงกัน คือ รับประ ทานผักผลไม้น้อยลงอย่างเห็นได้ชัดตัง้แต่ปี 2544 เป็ นต้นมา แต่รับประทานแป้ ง น้ำาตาล ไขมันและเน้อ ื สัตว์เพ่ิมขึ้น นอกจากนี ค ้ นไทยยังหันไปรับประทานพืชมีหัวท่ีเป็ น แป้ งมากขึ้น เช่น มันฝรัง่ จึงทำาให้ปริมาณผักใบเขียว, ผลไม้ท่ีรบ ั ประทานในแต่ละวันลดลงอย่างเห็นได้ชัด ด้านนางกฤษฎี โพธิทัต นักกำาหนดอาหารชัน ้ นำาของประเทศไทยเปิ ดเผยว่า ในส่วนของเยาวชนไทยนัน ้ การรับประทานผักผลไม้น้อยทำาให้สุขภาพของเด็กแย่ลง ท่ีเห็นชัดเจนคือเป็ นหวัดบ่อย ติดเช้อ ื ง่าย เจ็บคอ ทำาให้ตอ ้ ง กินยา เสียเงินค่ารักษาพยาบาลโดยไม่จำาเป็ น บางครอบ ครัวต้องพาลูกเข้าๆ ออกๆ ในโรงพยาบาลปี ละหลายครัง้ เสียค่าหมอเป็ นเรือนพันเรือนหม่ ืนต่อปี อาการเหล่านีส ้ ามารถ ป้ องกันได้ง่ายๆ โดยการเพ่ิมภูมิต้านทานให้กบ ั เด็กๆ ได้ทุกวันโดยการกินผักผลไม้เพ่ิมขึ้น นอกจากจะได้รบ ั วิตามิน เกลือแร่จากผักผลไม้แล้ว เขายังจะได้รบ ั เส้น ใยอาหารท่ีช่วยจับไขมันและสารพิษต่างๆ ท่ีเส่ียงต่อ การเป็ นโรคร้ายแรงเช่น มะเร็ง ออกไปจากร่างกาย และช่วยให้การขับถ่ายดี ไม่เป็ นโรคท้องผูก “สาเหตุเล็กๆ จากการรับประทานอาหารไม่สม ดุลเพียงแค่นีอ ้ าจนำาไปสู่ภัยอันใหญ่หลวง เช่น โรคมะเร็งลำา ไส้ ท่ท ี ำาลายชีวิตคนไทยเพ่ิมขึ้นทุกขณะ, โรคอ้วนซ่ึงจะเพ่ิม
ความเส่ียงต่อการเป็ นโรคต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นโรคหัวใจ ความดัน โลหิตสูง เบาหวาน ซ่ึงในอดีตมักพบในผู้ใหญ่ แต่ปัจจุบน ั เด็ก อายุ 3 ขวบ ก็เป็ นโรคร้ายแรงเหล่านีไ้ด้เช่นกัน” แพทย์หญิงอัมพร เบญจพลพิทักษ์ ผู้อำานวยกา ร ศูนย์สุขภาพจิตท่ี 13 กรุงเทพมหานคร กล่าวว่า การแก้ไข หรือป้ องกันปั ญหานีส ้ ามารถทำาได้ โดยเร่ิมจากการปลูก ฝั งนิสัยการรับประทานอาหารท่ีถูกต้องตัง้แต่ยังเด็ก “พ่อแม่ควรชักชวนให้ลูกกินผัก อย่าปล่อยให้พ่ีเลีย ้ ง ทำาอาหารง่ายๆ แต่ไม่ถูกหลักโภชนาการให้ลูกกิน พ่อแม่ควร ใ ส่ใจ พิถีพิถันในการเลือกปรุงแต่งเมนูผักให้หลากหลาย และถูกใจเด็ก ๆ มากขึ้น เปิ ดโอกาสให้เด็กมีส่วนร่วมตัง้แต่ การเลือกซ้ือ การปรุง และมีเทคนิคท่ท ี ำาให้เด็กสนุกกับการ รับประทานผัก รู้สก ึ ว่าผักอร่อย ไม่ได้เหม็นหรือกินยากอย่าง ท่ค ี ิด และควรรับประทานอาหารร่วมกันในครอบครัวอย่าง น้อยวันละ 1 ม้ือ จะช่วยให้เด็กมีทัศนคติท่ีดีและรับประ ทานผักได้ง่ายขึ้น เติบโตขึ้นเป็ นผู้ใหญ่ท่ีมีสุขภาพดีทัง้กายและใจ”
คุณทานผักเพียงพอแล้วหรือยัง ในแต่ละวันเราทานผักเข้าไปมากน้อยเท่าไหร่ทราบกันไหมคะ จากการสำารวจพบว่าคนในวันทำางานอายุ 20 - 40 เป็นกว่า 100 กรัม เพื่อสุขภาพที่สมบูรณ์ ร่างกายที่แข็งแรง มาทานผักมากๆ กันดีกว่าค่ะ ( เป้าหมายใน 1 วัน = 35 คนไทยทานผักกันน้อยเกินไป
อายุขัยเฉลี่ยของคนไทยอยู่ที่ประมาณ 70 ปี ในขณะที่อายุขัยเฉลี่ยของคนญี่ปุ่นอยู่ที่ 82 ปี ( สูงสุดที่สุดในโลก ) ว วัฒนธรรมในการกินอาหารที่จะต้องมีนำ้าซุป 1 ชนิด ผัก 3 ชนิดในทุกๆมื้ออาหาร บวกกับการทานข้าว ปลา ซึ่งทำา อย่างดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทานผักหลากหลายชนิดที่อุดมไปด้วยวิตามิน แร่ธาตุ เส้นใยอาหาร นับว่าเป็นเรื่องท
เสี่ยงปัญหาอัตราการทานผักที่ลดน้อยลงไปจนตำ่ากว่ามาตราฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำาหนด สืบเนื่องมาจากว ที่แพร่หลายเข้ามา เน้นการทานเนื้อมากกว่าผัก รวมถึงภาวะอันรีบเร่งในปัจจุบันที่ทำาให้ต้องพึ่งพาอาหารง่ายๆ เช สะดวกซื้อเพื่อประหยัดเวลา ทำาให้ก่อเกิดโรคภัยไข้เจ็บที่มีสาเหตุมาจากการขาดสมดุลในชีวิตประจำาวันสูงขึ้นเรื่อ ศอื่นๆในเอเซียก็ดูเหมือนจะซึมซับวัฒนธรรมการกินอาหารแบบนี้มาไม่แตกต่างไปจากประเทศญี่ปุ่น ทำาให้ปัจจ และโรคอื่นๆ ตามมาอีกมากมาย สำาหรับประเทศบริโภคเนื้อเป็นหลักอย่างอเมริกานั้นก่อนหน้านี้ในปี พ.ศ.2543 มีการรณรงค์ให้ทานผักกันทั่วปร A day ) " ซึ่งหมายถึงให้ทานผักหรือผลไม้ให้ได้ 5 ชนิด ( ปริมาณต่อชนิดประมาณ 1 กำามือ ) ขึน้ ไปใน 1 วัน ผลล โรคยอดฮิตที่เกิดจากการขาดสมดุลในการทานอาหารลดลงอย่างเห็นได้ชัด เราจึงควรเรียนรู้และพยายามทานผักกันให้ได้มากขึ้น เพื่อสุขภาพและความสุขของตัวเราเอง การทานผักให้ได้มากกว่า 350 กรัม ใน 1 วัน
คำาว่า " 350 กรัม " อาจดูเหมือนปริมาณที่มากโขอยู่ แต่จริงๆ แล้วมีปริมาณเท่าๆกับจำานวนผักบนตาชั่งเท่านั้นเอง ใช่ใหมคะ ไม่ว่าจะแปลงไปเป็นอาหารจานผัด นำ้าแกงจืด หรือสลัดก็แล้วแต่ ข้อสำาคัญคือควรทานคละๆ กันไปท ชนิดก็มีความแตกต่างของสารอาหารที่จะมาเสริมสมดุลของกันและกันได้ดีกว่าค่ะ วิธีการปรุงก็สร้างความแตกต่างให้กับการทานได้เช่นกัน การนำาผักมาผัดหรือทำาเป็นนำ้าซุปทำาให้สามารถทานได เท่าเชียวค่ะ หรือจะนำาผัก - ผลไม้ที่ชอบมาปั่นรวมกัน คั่นออกมาดื่มเป็นนำ้าได้ ในวันที่ยุ่งเหยิงไม่มีเวลาจริงๆ ผล Supplement ก็เป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่ไม่เลวค่ะ สารอาหารสำาคัญๆ ที่พบได้ในผัก
สารอาหารแต่ละชนิดที่พบในผักนั้นถึงแม้จะมีปริมาณเพียงน้อยนิด แต่ก็อยู่ในรูปที่พร้อมดูดซึมได้ทันที สมกับท Calcium
เป็นแร่ธาตุที่คนส่วนใหญ่มักได้รับไม่เพียงพอ นอกจากเป็นส่วนประกอบที่สำาคัญของกระดูกและฟันแล้วยังช่วย ประสาทและกล้ามเนื้อ วิตามินดีที่พบมากในอาหารจำาพวกเห็ดนั้นจะช่วยดูดซึมแร่ธาตุชนิดนี้ได้ดีขึ้น พบมากในผักจำาพวกตัวกุย, ผักชีฝรั่ง, ผักในตระกูลสนแคระ Vitamin B Complex
วิตามินบีมี 8 ชนิดได้แก่ B1, B2, B6, Niacin, Folic Acid, Pantothenic Acid, Biotin เกี่ยวข้องกับระบบเสริมสร้าง สร้างเซลล์ใหม่ พบมากในผักจำาพวกกระเทียม, ถั่วแขก, ถั่วยาง ( ถั่วปากอ้า ), ถั่วงอก Lron
ช่วยลำาเลียงออกซิเจนในเลือด เป็นส่วนประกอบของเอนไซน์บางชนิดและเฮโมโกลบิลในเม็ดเลือดแดง ป้องกันโ ดูดซึมได้ดีน้อยกว่าธาตุเหล็กจากสัตว์แต่หากบริโภคพร้อมกับวิตามินดีจะช่วยเพิ่มอัตราการดูดซึมให้ดีขึ้นได้ พบมากในผักจำาพวกพักโขม, โมโลเฮยา ( Mulukhiya ), ผักสลัด Vitamin C
สารแอนตี้ออกซิแดนท์ที่ขาดไม่ได้ในการช่วยให้ผิวพรรณกระจ่างใส่อย่างเป็นธรรมชาติ และยังเกี่ยวข้องกับการก ซีที่อยู่ในพืชจำาพวกหัวมันจะทนทานต่อความร้อนได้ดี ความเครียดและ การใช้ชีวิตที่ไม่สมดุลมักทำาให้ร่างกายข พอ พบมากในผักจำาพวกมะเขือเทศ, พริกหยวก, มะระ, หัวไชเท้า, มันเทศ Phytochemical
สารสังเคราะห์จากพืชเพื่อป้องกันตนเองจากอันตรายของรังสียูวี จึงมักมีคุณสมบัติแอนตี้ออกซิแดนท์ ช่วยปกป้อ สาเหตุของการเกิดโรคภัยไข้เจ็บและความชราได้ ที่รู้จักกันดีอย่างเช่น สารไลโคปีนในมะเขือเทศ สารลูทีนในผัก Magnesium
ช่วยในการทำางานของกล้ามเนื้อระบบประสาท ปรับระบบการไหลเวียนของโลหิตให้สมดุล หากได้รับแร่ธาตุชน เพียงจะช่วยป้องกันโรคภัยไข้เจ็บต่างๆได้ พบมากในผักจำาพวกมันฝรั่ง, กระเจี๊ยบ β - Carotene
มีมากในผักจำาพวกที่มีสีเหลือง - ส้มเมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วจะเปลี่ยนรูปไปเป็นวิตามินเอ มีสรรพคุณในด้านช่วยบำา ต้านทานให้สูงขี้นด้วย
พบมากในผักจำาพวกแครอท, Baby Bok Choy ( ผักกาดประเภทหนึ่งที่มีขนาดเล็ก ), โหระพา Vitamin E
ช่วยกระตุ้นการไหลเวียนโลหิต ทำาให้เม็ดเลือดแดงแข็งแรง สุขภาพดีแลดูอ่อนเยาว์อยู่เสมอ โดยเฉพาะวิตามินอีจ ได้ทีเมื่อถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย พบมากในผักจำาพวกหน่อไม้ฝรั่ง, ฟักทอง, ข้าวโพด Potassium
ทำางานร่วมกับโซเดียมคอยควบคุมสมดุลของนำ้าในร่างกาย รักษาความดันโลหิตให้เป็นปกติ ช่วยให้เลือดแข็งตัว พบมากในผักจำาพวกแตงกวา, มะเขือม่วง, พริกขี้หนู Dietary Fiber
ไฟเบอร์แบ่งได้เป็น 2 ชนิด ชนิดที่ละลายนำ้าจะมีประโยชน์ในการรักษาสุขภาพ ส่วนชนิดที่ไม่ละลายนำ้าจะช่วยใน ระบบทางเิิดินอาหารทำาให้รู้สึกอิ่ม จีงสามารถใช้เป็นตัวช่วยในการไดเอ็ตได้ด้วย พบมากในผักจำาพวกบัลดอค( Burdock ), ถั่วลันเตา, คืน่ ช่าย ข้อมูลจาก
กินผักและผลไม้ให้มากขึน ้ เพ่ ือสุขภาพ
!!
Health Advice to Eat More!! The Case for More Fruit and Vegetables" FFA Issue 25, November 2005, "
11
พฤศจิกายน
2548
คนส่วนใหญ่แล้วต้องการท่ีจะมีพฤติกรรมการรับประทานเพ่ ือสุขภาพ เพียง แต่การจัดลำาดับความสำาคัญยังอาจเป็ นปั ญหาท่ีทา้ ทาย ด้วยข้อมูลท่ีมากมาย จากหลายแหล่ง ทัง้จากครอบครัว จากเพ่ ือน และส่ ือต่างๆ และข้อมูลจำานวน ไม่น้อยท่ีขัดแย้งกัน จึงไม่น่าสงสัยเลยว่า บางครัง้ผู้บริโภคก็ลืมนึกถึงคำา แนะนำาด้านโภชนาการท่ม ี ีพ้ืนฐานจากงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์อันหลากหลาย
รวมทัง้สถาบันสุขภาพชัน ้ นำาต่างๆรองรับ ตัวอย่างเร่ ืองหน่งึ คือ “คำาแนะนำา เร่ ือง วัน–ละ–ห้า” (5-a-day message) ซ่งึ ผู้เช่ียวชาญด้านสุขภาพทัง้ในะดับ ประเทศ และนานาชาติ ต่างก็มีความเห็นในทิศทางเดียวกันว่า การรับ ประทานผักและผลไม้ เป็ นประจำา วันละ 5 ส่วน (คิดเป็ นประมาณ 400 กรัมต่อวัน) จะเป็ นประโยชน์ต่อสุขภาพมากทีเดียว ดังนัน ้ ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร ด้านอาหารแห่งเอเชีย (AFIC) จึงได้สรุปสาระสำาคัญทางวิทยาศาสตร์เก่ียวกับผล ดีของ “วัน-ละ-ห้า” ต่อสุขภาพของคนเราไว้ดังนี้ นักวิทยาศาสตร์ และคุณแม่ต่างมีความเห็นพ้องต้องกัน ทานผัก ทานผลไม้ซะ” นัน ่ คือ คำาพูดท่ีเราได้ยินคุน ้ หูจากในบ้าน และก็ยังเป็ น คำาแนะนำาด้านโภชนาการท่ีมีการศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์รองรับ “
จากสถิติทัว่โลก, องค์การอนามัยโลกได้ประเมินว่า การบริโภคผักผลไม้น้อย เป็ นสาเหตุให้เกิดมะเร็งในทางเดินอาหาร ร้อยละ 19, โรคหัวใจร้อยละ 31, และ โรคลมปั จจุบน ั ร้อยละ 11 ผู้เช่ียวชาญได้จัดทำารายงานซ่ึงตีพิมพ์โดยกองทุนวิจัย มะเร็งโลก (World Cancer Research Fund, WCRF) ในปี พ.ศ. 2540 ว่า โดยประมาณร้อย ละ 30 - 40 ของกรณีการเกิดมะเร็งทัว่โลก (ราวๆ 3-4 ล้านกรณี ท่ีเกิดใหม่ทุกปี ) สามารถป้ องกันได้ ด้วยวิธีการปรับเปล่ียนรูปแบบการกินอาหาร ในรายงาน ของกองทุนวิจัยมะเร็งระบุว่าหลักฐานท่ีแสดงให้เห็นถึงบทบาทของอาหารโดย เฉพาะผักและผลไม้ ในการช่วยป้ องกันมะเร็งนัน ้ มีความหนักแน่นมาก เหล่า ผู้เช่ียวชาญสรุปออกมาได้ว่า การบริโภตผักผลไม้อย่างหลากหลาย วันละไม่ น้อยกว่า 400 กรัม จะสามารถช่วยลดโอกาสการเกิดมะเร็งโดยรวมได้อย่างน้อย ร้อยละ 20 ไม่ว่า คนๆนัน ้ จะมีรูปแบบการบริโภค หรือ การใช้ชีวิตอย่างไร ก็ตาม เม่ ือปี พ.ศ. 2546 มีรายงานของกลุ่มผู้เช่ียวชาญ จากองค์อนามัยโลก (World Health Organization, WHO) และ องค์การอาหารและเกษตร (Food and Agricultural Organization, FAO) เก่ย ี วกับโภชนาการ กับการป้ องกันโรคแห่งความเส่ ือม ได้ ระบุอย่างมั่นใจว่ามีหลักฐานอย่างชัดเจนว่าผักและผลไม้ช่วยลดความเส่ียงต่อ โรคอ้วนและโรคหลอด เลือดหัวใจ และยังอาจช่วยลดความเส่ียงของเบา หวานได้ ถึงแม้จะเช่ ือกันว่าผักและผลไม้ทุกอย่างจะให้ประโยชน์แก่รา่ งกาย แต่ผักใบ เขียวอย่างเช่น ผักกาดหอม ผักโขม พืชตระกูลกะหล่ำา เช่น บรอคโคลี, กะหล่ำา ดอก หรือ กะหล่ำาปลี และผลไม้ท่ีมีรสเปรีย ้ ว เช่น ส้มชนิดต่างๆ , มะนาว ( รวมทัง้น้ำาส้ม น้ำามะนาว ) มีประโยชน์มากกว่าผักอย่างอ่ ืนๆ แต่ในประเด็นท่ี
ว่าให้ทานผักผลไม้อย่างน้อย 400 กรัมต่อวันนัน ้ ไม่นับรวมพืชหัว เช่น มัน ฝรัง่ มันสำาปะหลัง หรือมันเทศ เพราะพืชตระกูลหัวนัน ้ เป็ นพืชพวกท่ีให้แป้ ง ซ่ึงมีความสำาคัญต่อร่างกายในด้านอ่ ืน อุปสรรคขวางกัน ้ ไม่ให้เข้าถึงเป้ าหมาย วัน-ละ-ห้า จากสถิติขององค์การอนามัยโลกระบุว่า อัตราการบริโภคผักและผลไม้ของ ประชากรในประเทศแถบเอเชียต่ำากว่าคำาแนะนำามาก ประชากรจีนโดยเฉล่ีย แล้วรับประทานผักผลไม้วันละ 300 กรัม ในประเทศไทย มีรายงานว่าคนไทย บริโภคกันไม่ถึงวันละ 200 กรัม ด้วยซ้ำา ในประเทศอินเดียพบว่าย่ิงน้อยลงไป อีก เพียงแค่วันละประมาณ 130 กรัมเท่านัน ้ มีเหตุผลมากมายท่ท ี ำาให้คนไม่สามารถรับประทานผักผลไม้ให้มากเท่าคำา แนะนำาได้ และก็มีการศึกษาวิจัยอีกมากมาย ท่ก ี ำาลังพยายามกำาจัดอุปสรรค เหล่านีใ้ห้ได้เช่นกัน เร่ ืองของเงินและความสะดวกเป็ นปั จจัยสำาคัญของคนหลายคน แต่ความเข้าใจ ท่ีไม่ถูกต้องในเร่ ืองของผลได้ผลเสียท่ีจะเกิดจริงๆต่อสุขภาพ ก็เป็ นปั จจัย สำาคัญของอีกหลายคน มีผู้บริโภคบางคนท่ีกังวลเก่ียวกับผลตกค้างจากสาร กำาจัดศัตรูพืช จนลืมนึกถึงประโยชน์ท่ีจะได้รบ ั จากการบริโภคผักผลไม้ให้ได้ ปริมาณท่ีเพียงพอ แต่จริงๆแล้วก็ไม่มีหลักฐานท่ีหนักแน่นพอ ท่ีจะมาสนับ สนุนความกลัวนี้ มิหนำาซ้ำา มีรายงานเร่ ืองการป้ องกันมะเร็ง ของมหาวิทยาลัย ฮาวาร์ดเม่ ือปี พ.ศ. 2539 (1996 Harvard Report on Cancer Prevention) (ฉบับท่ี 1 สาเหตุ การเกิดมะเร็งในคน – Volume 1: Human Causes of Cancer) ได้สรุปไว้ว่า ร้อยละ 65 ของกรณีการเสียชีวิตจากมะเร็ง ในสหรัฐน่าจะมีสาเหตุเก่ียวข้องกับการสูบ บุหร่ี, อาหาร, โรคอ้วน และการขาดการออกกำาลังกาย , และมีเพียงร้อยละ 1 เท่านัน ้ ท่ีอาจมาจากสารเติมแต่งอาหาร และสารปนเป้ือนจากสารเคมี มีการศึกษาจำานวนมากท่ีมีหลักฐานยืนยันในเร่ ืองประโยชน์ของ “วัน-ละ-ห้า” และการศึกษาเพ่ ือสำารวจหาความเส่ียงของผลตกค้างของสารกำาจัดศัตรูพืชท่ีมี ต่อสุขภาพ จนถึงทุกวันนี ก ้ ็ยงั ไม่มีหลักฐานท่ีสามารถคิดคำานวนออกมาเป็ น ความเส่ียงท่รี ุนแแรงต่อสุขภาพได้ การเข้าสู่ความสำาเร็จเป้ าหมาย “วัน-ละ-ห้า” เพ่ ือท่ีจะให้ได้รับประโยชน์สูงสุดจากการบริโภคผักและผลไม้ หลักการ ประเด็นแรกท่ีอยากแนะนำา คือ รับประทานให้หลากหลายชนิดเท่าท่ีจะเป็ นไป ได้ เลือกรับประทานให้ได้ครบทุกสี ยกตัวอย่างเช่น ผักผลไม้ท่ีมีสีส้ม/
เหลืองหลายชนิด อย่าง ฟั กทอง มะม่วง จะเป็ นแหล่งแคโรตินอย (Carotenoids) ท่ีดี ผักท่ีมีสีขาว เช่นหอมหัวใหญ่ กระเทียม อุดมไปด้วยสารประกอบของ กำามะถัน (Sulphurous Compounds) และ พวกผักใบเขียวจะให้วิตามินบีต่างๆ ย่ิงไป กว่านัน ้ การเพ่ิมปริมาณการบริโภคผักผลไม้อาจ จะเข้าไปแทนท่ีอาหารท่ีมีไข มัน, เกลือ, และอาหารพลังงานสูง ซ่ึงเท่ากับเป็ นการปรับปรุงคุณภาพของ โภชนาการโดยรวมในชีวิตประจำาวันไปด้วย ผู้บริโภคไม่ควรยอมให้ความกลัว ในเร่ ืองของการปนเป้ือนในปริมาณน้อย มากลายเป็ นอุปสรรคขวางกัน ้ ไม่ให้ ร่างกายได้รับสารอาหารอย่างพอเพียง และทำาให้ไม่บรรลุเป้ าหมาย “วัน-ละ-ห้า” คำาแนะนำาให้บริโภคผักผลไม้ 400 กรัมต่อวัน (โดยไม่รวมพวกพืชหัว อย่างมัน ฝรัง่ มันเทศ) เพ่ ือเป็ นการป้ องกันโรคท่ีเกิดจากความเส่ ือมนัน ้ เทียบได้กับ ให้รับประทานผักผลไม้อย่างน้อยวันละ 5 ส่วน ทุกวัน หน่ึงส่วน หรือ หน่ึง เสริฟนัน ้ มีปริมาณประมาณเต็มอุ้งมือของเรา ดังนัน ้ คำาแนะนำา “วัน-ละ-ห้า” จึงหมายถึง 5 อุ้งมือเต็มๆ ของแต่ละบุคคล ไม่ว่าจะเป็ น วัยเด็ก วัยรุ่น รวมทัง้ พ่อแม่ หรือจะเป็ นวัยผู้ใหญ่ท่ีตัวเล็ก ก็เช่นกัน ตัวอย่างของขนาดสัดส่วนการบริโภคผักผลไม้ สำาหรับวัยผู้ใหญ่
สลัดผักสด
ผลไม้ชิน ้ ขนาดกลางๆ
น้ำาผัก หรือ น้ำาผลไม้
ผักปรุงสุก
ผักและผลไม้หัน ่
ผลไม้แห้ง
1
1/2
1/4
ถ้วยชา 1
ชิน ้
100% 1
แก้วเล็ก
(150 มล.)
ถ้วยชา 1/2
ถ้วยชา
ถ้วยชา
ตามคำาแนะนำาทางโภชนาการ แนะว่า ให้ทานเป็ นผัก 3 ส่วน และผลไม้ 2 ส่วน ผู้เช่ียวชาญเองยังแนะอีกว่าสัดส่วนดังกล่าวสามารถรวมถึงผัก หรือ ผลไม้แห้ง, อัดกระป๋ อง และโดยเฉพาะอย่างย่ิงแช่แข็ง ได้ด้วย ดังนัน ้ โดย ทัว่ไปแล้วแนะนำาว่าให้ถือผลิตผลท่ีอัดกระป๋ อง , แห้ง ,น้ำาผักและผลไม้ ให้ ถือเป็ น 2 ใน 5 ส่วน ท่ีเหลือ 3 ส่วน ควรจะเป็ นผักผลไม้สดหรือ แช่ แข็ง หรือผ่านการปรุงน้อยท่ีสุด เร่ ืองของความเช่ ือ และ ความจริงเก่ียวกับการใช้สารกำาจัดศัตรูพืชในเอเชีย สำาหรับผู้บริโภคชาวเอเชียแล้ว ผักผลไม้ท่ีซ้ือหาได้ในท้องตลาดส่วนใหญ่ปลูก
ด้วยการใช้สารกำาจัดศัตรูพืชช่วยในการป้ องกันแมลง , เช้ือรา, และศัตรูพืชต่างๆ ไม่ให้ทำาลายผลผลิต ต่อไปนี เ้ป็ นความจริงบางประการท่ีตอบคำาถามของ ความเช่ ือ ท่ีผู้บริโภคกังวลเก่ียวกับผลตกค้างของสารเคมี ความเช่ ือท่ี 1 เกษตรกรใช้สารกำาจัดศัตรูพืชมากเกินไป ทำาให้อันตรายต่อการ บริโภค ความจริง - แม้ว่าจะมีเหตุการณ์อย่างนีเ้กิดขึ้นเป็ นครัง้คราว ท่ีมีการใช้ผิดวิธี การใช้มากเกิน แต่เกษตรกรส่วนใหญ่แล้ว มีความรับผิดชอบ และปฏิบัติ ตามข้อแนะนำาดัานความปลอดภัย เพ่ ือให้ผลตกค้างในผลผลิตเหลือน้อยท่ีสุด ท่ีจะไม่ให้เป็ นอันตรายต่อสุขภาพ สารกำาจัดศัตรูพืชมีราคาแพง ถ้าไม่จำาเป็ น เกษตรกรก็คงพยายามใช้ให้น้อยท่ีสุด เพ่ ือลดต้นทุน ความเช่ ือท่ี
2
สารกำาจัดศัตรูพช ื ก่อมะเร็ง
ความจริง - จนถึงทุกวันนี้ ยังไม่มีหลักฐานท่ีพิสูจน์ออกมาได้ว่ามีความ เก่ียวโยงกัน ระหว่างระดับสารตกค้างท่ีอนุญาตให้มีปนอยู่ได้ในอาหารกับการ เจ็บป่ วย อย่างไรก็ตามมีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ท่ีแสดงถึงความเก่ียวโยง กันระหว่างการเกิดโรคแห่งความเส่ ือมของร่างกาย เช่น โรคหัวใจ และ โรค มะเร็ง เน่ ืองจากการรับประทานผักและผลไม้ไม่พอเพียงนัน ้ ชัดเจนมาก ความเช่ ือท่ี
3
เราไม่ทราบว่าเกษตรกรใช้สารเคมีอะไรบ้าง
ความจริง - ก่อนท่ีจะมีการอนุญาตให้ใช้สารกำาจัดศัตรูพืชชนิดใดก็ตามกับพืช อาหาร ต้องมีกฎในการกำาหนดปริมาณการใช้ ตลอดช่วงฤดูปลูก เสมอ รวม ทัง้มีการกำาหนดปริมาณท่ีปลอดภัย ของสารตกค้างบนผลผลิต ณ จุดขาย ความเช่ ือท่ี ต่อสุขภาพ
4
เราไม่ทราบว่าสารกำาจัดศัตรูพืชชนิดใดในอาหารท่ีก่อเกิดปั ญหา
ความจริง- ส่ิงท่ีสำาคัญมากท่ีสุดส่ิงหน่ึงในการประเมินค่าความปลอดภัยของ การใช้สารกำาจัดศัตรูพืชสำาหรับพืชอาหาร ก็คอ ื การคำานวณปริมาณการบริโภค ท่ียอมรับได้ (Acceptable Daily Intake, ADI) ค่า ADI สำาหรับสารกำาจัดศัตรูพืชใดก็ตาม คำานวณได้โดยการวัดปริมาณสารเคมีนัน ้ ๆในอาหาร ซ่ึงคนสามารถบริโภคได้ ตลอดชีวิต โดยไม่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพ การคำานวณ ค่า ADI นีม ้ ค ี ่าเผ่ ือไว้ (margin) สูงมาก ปกติจะประมาณ 100 เท่า ความเช่ ือท่ี
5
สารกำาจัดศัตรูพช ื เป็ นพิษบริโภค แม้แต่ในปริมาณเพียงน้อยนิด
ก็เป็ นอันตรายต่อร่างกาย ความจริง- สารกำาจัดศัตรูพืชถูกออกแบบมาให้สลายตัวได้ในระยะเวลาอันสัน ้ หลังจากการฉีดพ่น ดังนัน ้ พืชส่วนใหญ่ แม้จะฉีดพ่นก่อนเก็บเก่ียว ก็จะไม่มี สารตกค้างท่ี ณ จุดขาย นอกจากนี ส ้ ารกำาจัดศัตรูพืชบางชนิดถูกพัฒนามา เพ่ ือให้เป็ นพิษกับศัตรูพืชเฉพาะอย่างท่ีต้องการป้ องกัน และมีผลกระทบน้อย มากต่อร่างกายมนุษย์ ข้อสำาคัญท่ีต้องเข้าใจ คือ ร่างกายของมนุษย์นัน ้ มีกลไกการเรียนรูท ้ ่ีจะรับมือ กับสารเคมีท่ีเป็ นพิษท่ีมาจากพืชท่ีเรารับประทาน ในปริมาณน้อยๆ สารเคมีใน พืชเหล่านีถ ้ ูกผลิตขึ้นมาในลักษณะเป็ นกลไกป้ องกันตัวตามธรรมชาติ จาก แมลง และศัตรูพืชต่างๆ ข้อมูลเพ่ิมเติม
รายงานกองทุนวิจัยมะเร็งโลก ป้ องกันมะเร็ง”
(1997), “อาหาร, โภชนาการกับการ
องค์การอนามัยโลก (2002), รายงานเทคโนโลยีฉบับท่ี อาหาร , โภชนาการ กับการป้ องกันโรคแห่งความเส่ ือม
916
เร่ ือง
ข้อมูลจากศูนย์ข้อมูลข่าวสารด้านอาหารแห่งเอเชีย เร่ ือง ผลตกค้างของ สารกำาจัดศัตรูพืช www.afic.org/
โครงสร้างประชากรกับโอกาสทางการตลาด การรู้จักลูกค้าเป็ นหัวใจท่ีสำาคัญอย่างหน่ ึงของการทำาการตลาด เพราะการรู้จักลูกค้าเป็ นบันได ไปสู่การวางแผนกลยุทธ์ และการใช้เคร่ ืองมือทางการตลาดให้ประสบความสำาเร็จ อย่างไร ก็ตาม แหล่งข้อมูลเก่ียวกับลูกค้าในระดับมหภาคแหล่งหน่ ึงท่ีไม่ควรพลาด คือ สำานักงานสถิติ แห่งชาติ สำานักงานสถิติแห่งชาติมีหน้าท่ีจัดทำาโครงการสำารวจสำามะโนประชากรและเคหะ โดยเก็บ รวบรวมข้อมูลประชากรไทยจากทัว่ประเทศ ข้อมูลตัวเลขประชากรเหล่านี จ้ะทำาให้ผู้ประกอบ
การเห็นภาพรวมการเปล่ียนแปลงโครงสร้างของกลุ่มผู้บริโภคได้เป็ นอย่างดี จากจุดนี อ ้ งค์กร ธุรกิจทัว่ไปอาจนำาข้อมูลดังกล่าวไปใช้เป็ นพ้ืนฐานการวางแผนทางการตลาดในอนาคต เพ่ ือ ตอบรับกับกระแสของผู้บริโภคท่ีเปล่ียนแปรไป ตัวเลขประชากรบอกอะไรบ้าง ? ถ้าจำาแนกประชากรตามวัย จากข้อมูลปี 2543 จะพบว่า เด็กท่ีอายุ 0-14 ปี มีจำานวน 24.1u0E2D ายุ 15-59 ปี มีจำานวน 66.5u0E27ัยสูงอายุคือ 60 ปี ขึ้นไป มีจำานวน 9u0E41 ละอายุเฉล่ียของประชากรไทยอยู่ท่ี 29.7 ปี สูงขึ้นกว่าปี 2533 ซ่ ึงอยู่ท่ี 24.6 ปี นอกจากนัน ้ จากการสำารวจยังพบว่า คนไทยมีอัตราการแต่งงานช้าลงทัง้หญิงและชาย โดยผู้ หญิงแต่งงานครัง้แรกอายุเฉล่ีย 24.1 ปี ผู้ชาย 27.2 ปี จำานวนครัวเรือนในประเทศไทยปี 2543 มีจำานวน 15.7 ล้านครัวเรือน มีสมาชิกเฉล่ีย 3.9 คนต่อครัวเรือน เฉพาะครัวเรือน ท่ีมีผู้อยู่อาศัยเพียงคนเดียวจะมีจำานวน 8.6u0E41 ต่ท่ีน่าสนใจ คือ อัตราการเพ่ิมขึ้นของ หัวหน้าครัวเรือนท่ีเป็ นผู้หญิงในปี 2543 มี 25.5u0E40 ทียบกับปี 2533 มีแค่ 19.4u0E2B รือเพ่ิมขึ้นถึงกว่า 30u0E41 ละในแง่การตลาด ตัวเลขเหล่านีส ้ ามารถบ่งบอก นัยยะได้หลายประการ ดังนี้ ประการแรก ประเทศไทยกำาลังเข้าสู่ภาวะสังคม "ผู้ใหญ่มาก" คือ อายุเฉล่ียของคนในสังคม อยู่ท่ีประมาณ 30 ปี หลังจากนัน ้ อีกราว 15 ปี จากนีไ้ป สังคมคงจะเข้าสู่ภาวะ "คนแก่มาก" คนในสังคมจะมีอายุเฉล่ียอยู่ท่ีประมาณ 36 ปี ขึ้นไป เพราะฉะนัน ้ ถ้ามองในระยะยาวแล้วจะ พบว่า ตลาดของผู้สูงอายุจะขยายใหญ่ขึ้นเร่ ือย ๆ แม้วา่ คนวัยทำางานจะยังเป็ นสัดส่วนท่ีสูงสุด ของกลุ่มประชากร ในแง่การตลาด ตลาดของผู้สูงอายุจะขยายตัวมากขึ้น ขณะท่ีตลาดอ่ ืน ๆ ทรงตัว สินค้าและ บริการหลายชนิดท่ีเป็ นความต้องการของตลาดผู้สูงอายุจะมีโอกาสท่ีน่าสนใจ เช่น สินค้าและ บริการท่ีเก่ียวข้องกับการดูแลสุขภาพ การพักผ่อนหย่อนใจ ความบันเทิง การท่องเท่ียว การ เรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับวัย ฯลฯ แต่การทำาตลาดกับผู้สูงอายุนัน ้ ผู้ผลิตสินค้าหรือบริการควร หลีกเล่ียงการโฆษณาหรือการติดย่ีห้อว่า "สำาหรับผู้สูงอายุ" เพราะพฤติกรรมของคนทุกวัย ไม่ใช่เฉพาะผู้สูงอายุเท่านัน ้ ล้วนไม่ต้องการซ้ือสินค้าท่ีตอกย้ำาถึงความเป็ นคนมีปัญหาของผู้ ซ้ือ การทำาตลาดผู้สูงอายุจึงต้องพยายามมองและศึกษาว่า คนกลุ่มนีม ้ ีความต้องการท่ีแท้จริง อย่างไร จากนัน ้ ผู้ผลิตสินค้า-บริการจึงควรนำาความต้องการดังกล่าว สร้างเป็ นคุณลักษณะใส่ เข้าไปในตัวของผลิตภัณฑ์ ผู้ผลิตสินค้า-บริการต้องเข้าใจว่าคนวัยนีไ้ม่ต้องการ "การดูดี" แต่ ต้องการ "รู้สึกดี" ผู้สูงอายุจะต้องการสินค้าท่ีสะดวกและใช้งานง่าย เคร่ ืองใช้ไฟฟ้ าจึงควรเป็ น ระบบสัมผัสหรือมีรีโมตคอนโทรล ไม่ต้องออกแรงมาก มีปุ่มโต ๆ เน่ ืองจากสายตาไม่ดี นอกจากนี ผ ้ ู้สูงอายุจะต้องการสินค้าท่ีออกแบบโดยคำานึงหรือห่วงใยสุขภาพและสรีระของ เขา เช่น สุขภัณฑ์ท่ีนัง่สบาย กระเบ้ืองปูพ้ืนท่ีไม่ล่ืน เป็ นต้น กลุ่มท่ี 2 คือ กลุ่มผู้หญิง เป็ นอีกกลุ่มท่ีน่าสนใจ เพราะผู้หญิงมีบทบาทเป็ นหัวหน้าครอบครัว มากขึ้นทุกที ผู้หญิงเป็ นคนตัดสินใจซ้อ ื สินค้าหลายชนิด ดังนัน ้ สินค้าท่ีจะช่วยอำานวยความ สะดวกหรือผ่อนแรงของแม่บ้านจะขยายตลาดได้อีกมาก ไม่ว่าจะเป็ นอาหารพร้อมปรุง อุปกรณ์เคร่ ืองครัวอัตโนมัติ บริการรับดูแลเด็กอ่อน ฯลฯ นอกจากนัน ้ การท่ีผู้หญิงเป็ นตัว ของตัวเองและใช้ชีวิตด้วยตัวเองมากขึ้น จึงเป็ นโอกาสของธุรกิจเก่ียวกับท่ีอยู่อาศัย เฟอร์นิเจอร์ และอุปกรณ์รักษาความปลอดภัยในบ้านเรือน เป็ นต้น กลุ่มท่ี 3 กลุ่มเด็กในวัย 0-14 ปี แม้วา่ กลุ่มเด็กจะมีแนวโน้มอัตราการเพ่ิมลดลง เน่ ืองจาก พ่อแม่มีลูกน้อยลง แต่อัตราการใช้จ่ายต่อหัวสูงขึ้นมาก เพราะเม่ ือพ่อแม่มีลูกน้อย พ่อแม่ย่อม เอาใจใส่ลูกมากขึ้น การทำาตลาดสำาหรับเด็กสมัยใหม่จึงไม่ใช่เฉพาะตลาดเส้ือผ้า ของเล่น และ ขนมเท่านัน ้ ธุรกิจท่ีเฟ่ ืองฟูมากท่ีสุดประเภทหน่งึ คือ ธุรกิจการศึกษาทัง้นอกโรงเรียนและใน โรงเรียน การเติบโตของธุรกิจยังขยายไปสู่บริการสันทนาการ บวกความรู้อ่ืนๆ อีกหลายรูป แบบ รวมถึงสินค้าความบันเทิงทัง้หลาย และเคร่ ืองเล่นประเภทดิจิตอลอีกด้วย เพราะเด็กทุก วันนีม ้ ีพัฒนาการท่ีก้าวหน้ากว่าสมัยก่อน เด็กจึงมีความอยากรู้อยากเห็นมากขึ้น จับตาเพ่ ือเตรียมตัวล่วงหน้า
ลูกค้ากลุ่มหลักๆ ดังกล่าว เป็ นโอกาสทางการตลาดท่ีเกิดขึ้นจากการเปล่ียนแปลงโครงสร้าง ของประชากร และแม้โครงสร้างประชากรจะเกิดขึ้นอย่างค่อยเป็ นค่อยไป หากแต่นักการตลาด ทุกคนควรให้ความสนใจจับตามอง และเตรียมการไว้ล่วงหน้า และเม่ ือการเปล่ียนแปลงมาถึง นักการตลาดจะได้หยิบฉวยโอกาสนัน ้ มาใช้ก่อนใครๆ เรียบเรียงจาก วิทยา ด่านธำารงกูล. " ประชากรไทยกับโอกาสการตลาด " . นิตยสารเส้นทางเศรษฐี. ปี ท่ี 7 ฉบับท่ี 75 (พฤษภาคม 2544) : 75 - 76 . คำาไข : เคล็ดลับ-วิธี การบริหารการตลาด กลยุทธ์การวางแผนการตลาด โอกาสทางการตลาด โครงสร้างประชากรกับโอกาสทางการตลาด เป็ นการแนะนำาโอกาสทางการตลาดท่ีอาจเกิดขึ้น จากการเปล่ียนแปลงโครงสร้างของประชากร เหมาะสำาหรับผู้ประกอบการท่ีจะนำาไปวางแผน เชิงกลยุทธ์กับธุรกิจของตน แม้จะเป็ นการเปล่ียนแปลงท่ีค่อยเป็ นค่อยไปในระยะยาวแต่ นักการตลาดทุกคนควรให้ความสนใจ และเตรียมการล่วงหน้า
Air Dried Dehydrate Vegetables have always been our core business. Raw Materials are purchased from local farmers and instantly processed in order to preserve its freshness, color, nutrition and flavor. Fresh vegetables are cleaned, washed, sliced or diced, sterilize and dried in the air dried machine. The followings are Kingfood’s core products in this category, which are widely being used in the food industry. We also provide services to produce your desire air-dried vegetables and spices accordance with your specification.