1
ปฏิบัติการ การดูแลสุขภาพระดับปฐมภูมิของประเทศไทย (Thailand Primary Health care in action)
Highlight
อาสาสมัครคือสวนสําคัญที่ขาดไมไดสําหรับความสําเร็จในเรื่องสุขภาพของ ประเทศไทย รายละเอียด “ปที่แลว ฉันยังตองนั่งอยูในรถเข็น เมื่อจะตองออกไปที่ไหน ๆ แตเดี๋ยวนี้ดูฉันซิ” คุณ ยายศุภรัตน ชนะกิต อายุ 57 ป กลาว ขณะที่ตนเองก็รําไทจี่ไปดวย ณ ลานวัดแคนอก จังหวัดนนทบุรี คุณยาย กลาวเสริมวา “ฉันรูสึกดีขึ้นและแข็งแรงขึ้นกวาเดิมแยะเมื่อไดมาออกกําลังกาย และทําสมาธิที่นี่” คุณยายศุภรัตนเคยเปนผูปวยที่ตองใชรถเข็น เนื่องเพราะอาการปวย โรคหัวใจและปญหาเกี่ยวกับขา วัดแคนอก เปนหนึ่งในหลาย ๆ วัดที่เขารวมโครงการวัดสรางเสริมสุขภาพ (Thailand’s Health Promotion Temple Project) ซึ่งริเริ่มในป 2003 โดยกระทรวงสาธารณสุข อัน เปนโครงการสวนหนึ่งของวาระเมืองไทยแข็งแรง หรือ Healthy Thailand การสรางเสริมสุขภาพคือกุญแจสําคัญ โปรแกรมดูแลสุขภาพในระดับปฐมภูมิ (ที่ซึ่งการสรางเสริมสุขภาพและการปองกันโรค เปนกุญแจสําคัญ) ไดประสบผลสําเร็จคอนขางมากนับไดกวาสามทศวรรษที่ผานมา ดัง ภาวะการเสียชีวิตในเด็กอายุต่ํากวาหาปลดลงจากราว 75 คนในทุก 1, 000 คน ในป 1975 เหลือที่ราว 8 คน ในป 2006
2 เจาหนาที่ทางดานสุขภาพกลาววา ความกาวหนาทางการแพทยไมสามารถที่จะรับหนา เอาเครดิตทั้งหมดในความสําเร็จนี้ไปได ความสําเร็จสวนใหญเกิดไดเนื่องมาจากความ พยายามของ อาสาสมัครสุ ขภาพชุ มชน ที่ทํ างานทามกลางประชาชนชาวไทยทั้ ง 64 ลานคน ยกตัวอยางเชน พระภิกษุและวัดวาอาราม ไดเขามารวมมือรวมไมอยางแข็งขัน ในเรื่องการศึกษาและการสรางเสริมสุขภาพ พวกเขาทํางานอยางหนักเพื่อปองกันผูคน ไมใหเจ็บไขไดปวยในเบื้องแรก โดยเฉพาะอยางยิ่งในชุมชนชนบทหางไกล กิจกรรมตาง ๆ เหลานี้อาจเขาขายตั้งแต การใหการศึกษาแกสตรีในเรื่องใหอาหารเด็ก ออนอยางไร เพื่อที่จะไดแนะนําใหผูคนไดรูเกี่ยวกับโภชนาการและวิถีการใชชีวิตที่ดีตอ สุขภาพ มีอาสาสมัครสุขภาพมากกวา 800,000 คนทั่วประเทศไทย พวกเขาเหลานี้มี บทบาทสําคัญอยางยิ่งในการควบคุมโรคที่ติดตอไดหลาย ๆ โรค ยกตัวอยางเชน เหลา อาสาสมั ค รสุ ข ภาพเป น ตั ว จั ก รสํ า คั ญ ที่ ทํ า ให เ กิ ด การลดลงในเรื่ อ งทุ โ ภชนาการด า น อาหารโปรตีน-แคลลอรี่จากหนามือเปนหลังมือในเด็กวัยกอนเริ่มเขาโรงเรียน การดูแลสุขภาพมีรากฐานตั้งอยูในชุมชน บทบาทแกนกลางสําหรับงานดานชุมชน ไดถูกจัดไวอยางมั่นคงในวาระสุขภาพสากล โดยองคการอนามัยโลกและประเทศสมาชิก ในปฏิญญา อัลมา-เอตา (Declaration of Alma-Ata) ในป 1978 เปาหมายที่ประเทศสมาชิกเหลานี้วางไวก็คือการทําใหการดูแล สุขภาพครอบคลุมทั่วโลกใหสําเร็จ หรือที่เรียกวา สุขภาพเพื่อมวลประชา (Health for all) โดยวิธีการทํางานดูแลสุขภาพในระดับปฐมภูมิ ภายในป 2000 แนวความคิด ‘สุ ข ภาพเพื่ อ มวลประชา’ ไม ไ ด เ ป น เรื่ อ งเกี่ ย วกั บ การทํ า ให โ รคทุ ก โรคมลายหายไป หากแต เ ป น เรื่ อ งที่ จ ะทํ า ให เ รื่ อ งสุ ข ภาพประสบความสํ า เร็ จ ในระดั บ ที่ พ อรั บ ได ขยาย ความก็คือ มีการกระจายในเรื่องสุขภาพอยางเทาเทียมกันทั่วทั้งโลก สําหรับ นายแพทยอมร นนทสูตร (หัวหนาโปรแกรมการดูแลสุขภาพระดับปฐมภูมิของ ประเทศไทย) กลาววา “แมวาเราไมสามารถประสบความสําเร็จในเปาหมายทุกอยางของ สุ ข ภาพในปฏิ ญ ญาทุ ก อั น เราก็ ป ระสบความสํ า เร็ จ เชิ ง ยุ ท ธศาสตร ใ นเรื่ อ งการสร า ง อาสาสมัครดานสุขภาพ” “ผลก็คือ ในปจจุบันระบบการดูแลสุขภาพระดับปฐมภูมิถูก วางรากฐานอยางลึกซึ้งในชุมชนทองถิ่น” -
ในระยะเวลา 30 ปที่ผานมา ประเทศไทยลดอัตราการเสียชีวิตของเด็กทารกได มากกวารอยละ 80 โปรแกรมรักษาทุกโรคของประเทศไทย จัดใหการดูแลสุขภาพเปนจริงสําหรับ ประชากรสวนใหญของประเทศ พระภิกษุมีสวนรวมอยางแข็งขันในเรื่องการศึกษาดานสุขภาพและการสรางเสริม สุขภาพ อาสาสมัครในชุมชน รวมถึงพระภิ กษุดวย มี บทบาทสํ า คัญในการดูแลสุข ภาพ ระดับปฐมภูมิ
3 ประเทศไทยกับตัวเลข -
อายุคาดเฉลี่ย (ของทั้งสองเพศ, ป 2006): 72 ป คาใชจายโดยรวมตอหัวทางดานสุขภาพ : 323 ดอลลาร จํานวนแพทย (ตอจํานวนประชากร 10, 000 คน) : 4 คน
แหลงที่มา http://www.who.int/whr/2008/media_centre/thailand.pdf