Pummmmm

  • Uploaded by: pum
  • 0
  • 0
  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Pummmmm as PDF for free.

More details

  • Words: 1,507
  • Pages: 15
<embed width="350" src="http://www.clocklink.com/clocks/world001-green.swf? TimeZone=ICT&" height="375" wmode="transparent" type="application/xshockwave-flash">

<embed quality="high" align="3" type="application/octet-stream" height="370" src="http://imgfree.21cn.com/free/flash/155.swf" style="left: 0px; width: 820px; position: absolute; top: 0px; height: 370px;" width="1" wmode="transparent">

หน่ วยที่ 1........เทคโนโลยีพ้ืนเพื่อการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ สำาหรับคร้........ หน่ วยที่ 2........คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา........ หน่ วยที่ 3........อินเตอร์เน็ตเพื่อการศึกษาและสืบคูน........ หน่ วยที่ 4........เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและสืบคูนขูอม้ล........ หน่ วยที่ 5........ฝึ กปฏิบต ั ิการใชูเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและสืบคูน ขูอม้ล

หน่ วยที่ 2........คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา........ คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา 1. ความหมายของคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา ปัจจุบันมีคำำศัพท์ท่ีเกี่ยวข้องระหว่ำงคอมพิวเตอร์และกำรศึกษำคือ "คอมพิวเตอร์ศึกษำ" (Computer Education) หมำยถึง กำรศึกษำหำควำมร้้เกี่ยวกับศำสตร์ด้ำนคอมพิวเตอร์ เช่น กำรเขียนภำษำโปรแกรมต่ำง ๆ กำร ผลิต กำรใช้ กำรบำำรุงรักษำ เครื่องคอมพิวเตอร์ (Hardware) และซอฟแวร์ (Software) รวมถึงกำรศึกษำวิธีกำรใช้ระบบ คอมพิวเตอร์เพื่อกิจกำรด้ำนต่ำง ๆ สรุปแล้วกำรใช้คอมพิวเตอร์เพื่อกำรศึกษำ คือ กำรนำำคอมพิวเตอร์มำใช้ในกิจกำรด้ำนกำรศึกษำ ประกอบด้วยงำนหลัก 4 ระบบ 1. คอมพิวเตอร์เพื่อบริหารการศึกษา (Computer for Education Administration) เป็ นกำรนำำคอมพิวเตอร์มำใช้ในกำรบริหำรงำนด้ำนต่ำง ๆ เช่น กำรบริหำรงำนด้ำนกำรศึกษำ ประกอบด้วยคร้ ผ้้เรียน และเจ้ำหน้ำที่บุคลำกรที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ เป็ นต้น 2. คอมพิวเตอร์เพื่อบริการการศึกษา (Computer for Education Service) หมำยถึง กำรบริกำรกำรศึกษำ ด้ำนต่ำง ๆ เช่น กำรบริกำรสำรสนเทศกำรศึกษำ 3. คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน (Computer Assisted Instruction) หมำยถึง กำรนำำคอมพิวเตอร์มำช่วยในกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนในเนื้ อหำวิชำต่ำงๆ 4. การรู้คอมพิวเตอร์ (Computer Literacy) เป็ นกำรศึกษำ กำรสอน/กำรฝึ กอบรมเกี่ยว กับควำมร้้ควำมสำมำรถ และทักษะกำรใช้คอมพิวเตอร์โดนตรงรวมทั้งกำรประยุกต์ใช้ และเจตคติ ต่อคอมพิวเตอร์และ ICT ทีม ่ า http://vod.msu.ac.th รศ.ดร.ไชยยศ เรืองสุวรรณ

2. วัตถุประสงค์ของการใชูคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา ในกำรนำำคอมพิวเตอร์มำใช้ในกำรศึกษำโดยทั่วไปมี 3 ลักษณะคือ 1.ใช้เพื่อทบทวนบทเรียน 2.ใช้เป็ นเครื่องมือในกำรเรียน 3.ใช้เป็ นเครื่องมือฝึ ก ทีม ่ า http://vod.msu.ac.th รศ.ดร.ไชยยศ เรืองสุวรรณ 3.

ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์

ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์

ส่วนประกอบทัว่ ไปของคอมพิวเตอร์จะประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้

1. หน่วยรับขูอม้ล input Unit เป็ นส่วนที่ทำาหน้าที่รบ ั ข้อมูลเข้าสู่หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) เพื่อทำาการประมวลต่อไป

2. หน่วยประมวลผลกลาง หรือ CPU (Central Processing Unit) ทำาหน้าที่ในการประมวลผล ข้อมูล

เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ และทำาหน้าที่ควบคุมการทำางานต่างภายในคอมพิวเตอร์

3. หน่วยแสดงผล Output Unit เป็ นหน่วยที่แสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลข้อมูล ซึ่งมีรูปแบบ การแสดง

ผลอยู่ 2 แบบ คือ แบบทีส ่ ามารถเก็บไว้ดูภายหลังได้ และแบบที่ไม่มีสำาเนาเก็บไว้ ทีม ่ า http://www.obec.go.th คร้สมเกียรติ แสนปู อ 4.

คอมพิวเตอร์ช่วยสอน

คอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมำยถึง กำรนำำคอมพิวเตอร์มำใช้เป็ นเครื่องมือในกำรเรียนกำรสอน โดยที่ เนื้ อหำวิชำ แบบฝึ กหัด และแบบทดสอบจะถ้กพัฒนำขึ้นในร้ปของ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ลักษณะสำำคัญของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ช่วย สอน คือ 1) สำมำรถเรียนแบบกำรสอนได้ และ 2) มีสมรรถภำพในกำรรวบรวมสำรสนเทศและข้อม้ลต่ำง ๆ 4.1.

4.2.

หลักการของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประกอบด้วย

ใชูเป็นรายบุคคล (Individualized) ไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ ออกแบบเพื่อใช้ส่วนบุคคล นับว่ำเป็ นเครื่องมือที่ใช้ได้ผลดีท่ีสุด 1.

2.

มีการตอบโตูอย่างทันที

(Immediate Feedback)

3. เป็นกระบวนการติดตามความกูาวหนูาของผู้เรียน (Track Learners Process) 4.

ปรับใหูทันสมัยไดูง่าย

(Each of Updating)

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ไม่สำมำรถทำำงำนได้ทุกอย่ำง เหมือนคน ด้วยเหตุน้ี จึงนำำมำเป็ นส่วนนึ่ งหรือช่วยสอนเท่ำนั้น กำรแก้ 5.

ปั ญหำเหล่ำนี้ ขึ้นอย่้กับกำรเขียนโปรแกรมให้สอดคล้องกับหลัก จิตวิทยำ 6.

การเขียนโปรแกรมทีด ่ ีตูองอาศัยความชำานาญอย่างมาก ทีม ่ า http://vod.msu.ac.th รศ.ดร.ไชยยศ เรืองสุวรรณ

5. การวัดประเมินผลคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา ในกำรวัดประเมินบทเรียน มีข้ันตอนในกำรพิจำรณำอย่้ 3 ขั้น คือ 1. การประยุกต์ใชู 1.1 บทเรียนนี้ ออกแบบและผลิตขึ้นมำเพื่อใช้ในหลักส้ตร วิชำอะไรและในหลักส้ตรนี้ ผ้้เรียนจะได้รับประโยชน์พิเศษเฉพำะ จำกบทเรียนนี้ อย่ำงไรบ้ำง 1.2 บทเรียนนี้ บทบำททำงกำรศึกษำอย่ำงไรบ้ำง เป็ นบทเรียนที่ใช้ในกำรเรียนกำรสอนโดยตรงหรือเป็ นบทเรียนที่ ใช้ประกอบหรือเสริมกำรเรียนเท่ำนั้น ถ้ำบทเรียนนี้ มีบทบำทเพียงเพื่อเสริมกำรเรียนกำรสอน มีส่ ือหรือ กิจกรรมกำรสอนอื่นที่ออกแบบไว้ให้บทเรียนสนับสนุนหรือไม่ 1.3 บทเรียนนี้ ออกแบบมำสำำหรับผ้้เรียนนะดับใด และผ้้เรียนควรมีควำมร้้เบื้องต้นระดับใดและอย่ำงไรบ้ำง 1.4 บทเรียนนี้ ควรใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์แบบใด 2. การใชูโปรแกรม 2.1 ประสิทธิผลทำงกำรเรียนกำรสอน กำรที่จะวัด ประสิทธิผลทำงกำรเรียนกำรสอนของบทเรียนนั้นเรำจะต้อง 1) วิเครำะห์คุณลักษณะของบทเรียน 2) วิเครำะห์แนวปฏิบัติของคร้ในกำรใช้บทเรียนนั้น 3) ทบทวนประสิทธิผลของบทเรียนที่มีต่อกำร เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผ้้เรียนตำมจุดประสงค์กำรเรียน 2.2 กำรบำำรุงรักษำบทเรียน ในกำรประเมินเกี่ยวกับ กำรบำำรุงรักษำบทเรียนนี้ จะเน้นในเรื่องกำรปรับปรุงบทเรียน ให้เข้ำกับสภำพกำรสอน ว่ำทำำได้หรือไม่เพียงใด ทั้งนี้ เนื่ องจำก มีบำงบทเรียนที่เปิ ดโอกำสให้คร้ดัดแปลงเพิ่มเติม ตัดบำงส่วนออกหรือจัดลำำดับใหม่ได้ เพื่อให้คร้สำมำรถดัดแปลง บทเรียน ให้สอดคล้องกับควำมสำมำรถของผ้้เรียนบำงคนได้ 2.3 ควำมสะดวก ควำมสะดวกของบทเรียนในที่น้ี หมำยถึง กำรที่เรำสำมำรถใช้บทเรียนกับเครื่องคอมพิวเตอร์รุ่นต่ำงๆ ได้ เช่น เล่นได้ท้ังเครื่อง XTAT และหรือจอภำพสี 3. ราคา กำรเปรียบเทียบรำคำของบทเรียน อำจจะพิจำรณำได้ยำก เพรำะมีข้อจำำกัดเช่น เรื่องเวลำ ควำมต้องกำรในกำรใช้บทเรียน และประสบกำรณ์ของผ้้ใช้เป็ นต้น นอกจำกนั้น กำรผลิตบทเรียน เรื่องเดียวกันจำกผ้้ผลิตหลำยๆ แหล่งนั้นมีนอ ้ ย ดังนั้น กำรพิจำรณำเปรียบเทียบในเรื่องรำคำของ บทเรียนจึงอย่้ในดุลยพินิจของผ้้ท่ีประสงค์ จะใช้บทเรียนนั้นๆพิจำรณำเอง ทีม ่ า http://vod.msu.ac.th รศ.ดร.ไชยยศ เรืองสุวรรณ

ทีมา http://apportion.blogspot.com/2007/08/blog-post.html

หน่ วยที่ 3........อินเตอร์เน็ตเพื่อการศึกษาและสืบค้น........

การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษา โดย นางสาวสดสวย กาวี

ยุคแห่งสังคมความรู้เป็ นยุคทีน ่ ักการศึกษามีบทบาทต่อการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์อย่างยิง่ อินเทอร์เน็ตเป็ นช่องทางของการส่งขูอม้ล ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทัว ่ ทัง้ โลก เราต่างกูาวหนูาผ่านยุคแห่ง

สังคมข่าวสารมาแลูวซึง่ ทำาใหูประจักษ์ไดูว่าข่าวสารต่าง ๆ นัน ้ จะ เป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศทัง้ ดูานเศรษฐกิจ สังคม การ ศึกษา และอืน ่ ๆ ไดูนัน ้ ตูองอาศัยความรู้ในการจัดการ

การใชูอินเทอร์เน็ตเพือ ่ การศึกษามีความหมายครอบคลุมกิจกรรม ดูานการศึกษาทีถ ่ ้กวางร้ปแบบโดยคร้ผู้ทำาหนูาทีถ ่ ่ายทอดความรู้

ผ่านทางอินเทอร์เน็ต เนือ ่ งจากร้ปแบบการสือ ่ สารและการควบคุม นักเรียนทางไกลแบบ Online มีลักษณะพิเศษทีแ ่ ตกต่างจากการ

เรียนการสอนในหูองเรียนซึง่ ทำากันเป็ นปกติ ดังนัน ้ เปูาหมายของ การศึกษาผ่านอินเทอร์เน็ตจึงประกอบดูวยวัตถุประสงค์หลัก 3 ประการ ไดูแก่

1. การสรูางกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านเครือข่าย

อินเทอร์เน็ตใหูเหมาะสมกับระดับผู้เรียน

2. การเสริมทักษะและความรู้เพือ ่ ใหูคร้สามารถดำาเนิน

การเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไดูอย่างมี ประสิทธิภาพ

3. การกำาหนดเปูาหมายการศึกษาเพือ ่ สนับสนุนการเรียน การสอน -2การสร้างกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

กิจกรรมการศึกษาในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสามารถแสดง ความสัมพันธ์ของกิจกรรมต่าง ๆ เพราะจำานวนของผู้ใชู

อินเทอร์เน็ตต่อการใชูอินเทอร์เน็ตเพือ ่ การศึกษามีความสัมพันธ์กัน ในอัตราส่วนทีล ่ ดลงโดยพบว่าขัน ้ พืน ้ ฐานจะมีจำานวนประชากรทีใ่ ชู อินเทอร์เน็ตมาก จำานวนของผู้ใชูทีม ่ ีทักษะ หรือความสามารถใน การใชูประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตกลับมีจำานวนทีล ่ ดลง

จากขูอเท็จจริงดังกล่าวทำาใหูวิธีการทีจ ่ ะสรูางใหูมีกิจกรรมเพือ ่ การ ศึกษาผ่านอินเทอร์เน็ตอย่างไดูผล จึงจำาเป็ นอย่างยิง่ ทีจ ่ ะตูอง ดำาเนินการวางแผนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใหูเป็ นบริการ

สาธารณ้ปโภคของประเทศทีม ่ ีประสิทธิภาพใหูครอบคลุมทุกพืน ้ ที ่

ในเวลาอันรวดเร็วทีส ่ ุดเท่าทีจ ่ ะทำาไดูซึง่ ปั จจุบันมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ไดูรับการสนับสนุนจากทบวงมหาวิทยาลัย (Uninet) ส่วนโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษาก็ไดูรับการสนับสนุนจาก Schoolnet Thailand เช่นกัน

การบริการอินเทอร์เน็ตระดับพื้นฐาน แต่ละขัน ้ จะมีร้ปแบบของ กิจกรรมการศึกษาทีแ ่ ตกต่างกัน การใชูระบบเครือข่ายระดับพืน ้

ฐานคือการใชูอินเทอร์เน็ตตามโครงสรูางของสาธารณ้ปโภคทีม ่ ีใชู กันอย่้ในทุกแห่ง สาเหตุทีจ ่ ะทำาใหู กลุ่มผู้ใชูทีย ่ ังไม่รู้จักเครือข่าย อินเทอร์เน็ตเปลีย ่ นเจตคติมายอมรับเพือ ่ เขูาร่วมในการใชูระบบ

เครือข่ายอินเทอร์เน็ตน่าจะเป็ นเพราะความสามารถในการสือ ่ สาร ระหว่างบุคคล และความสามารถของอินเทอร์เน็ตในการเขูาถึง

ขูอม้ลทีม ่ ีอย่้ในคอมพิวเตอร์เครือ ่ งอืน ่ ๆ ทัว ่ โลกดูวยเวลาอันรวดเร็ว ดูวยเหตุนีจ ้ ึงสามารถแบ่งบริการทีม ่ ีอย่้ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไดู ว่า

o

เป็ นบริการดูานการสือ ่ สารระหว่าง

บุคคลต่อบุคคล และบุคคลต่อกลุ่มบุคคล o

เป็ นบริการเพือ ่ การเขูาถึงแหล่งขูอม้ล

การใชูอินเทอร์เน็ตในปั จจุบันทีส ่ ามารถนำามาเป็ นตัวอย่างไดูแก่

การใชู e-mail ในการสือ ่ สารระหว่างบุคคล การใชู WWW เพือ ่ สืบหาและเขูาถึงแหล่งขูอม้ลต่าง ๆ

-3การเข้าถึงแหล่งข้อมูลและความรู้ ในปั จจุบันอินเทอร์เน็ตถ้กนำา มาใชูเพือ ่ การสืบคูน ขูอม้ลมากทีส ่ ุด ซึง่ ผู้ใชูทีม ่ ีอาชีพแตกต่างกัน

ย่อมใชูบริการทีม ่ ีอย่้ในปริมาณต่างกัน บูางเป็ นการสืบคูนขูอม้ลที ่ เป็ นตัวอักษร บูางก็เป็ นขูอม้ลทีน ่ ำาเสนอในร้ปแบบของมัลติมีเดีย ที ่ ลูวนแต่แปลงเป็ นสัญญาณดิจิตอลแลูวทัง้ สิน ้

ทางดูานการศึกษา อาจจะคลูายคลึงกับการไปหูองสมุดทีห ่ าตำารา

วารสาร โดยทีม ่ ีบรรณารักษ์คอยใหูคำาปรึกษา เพือ ่ จะไดูขูอม้ลและ ความรู้ทีต ่ ูองการ การใชูขูอม้ลต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ตก็เช่นเดียว เพราะผู้ใชูสามารถเขูาถึงขูอม้ลทีม ่ ีอย่้ทันที สามารถเขูาร่วม

กิจกรรมทางอินเทอร์เน็ตไดูแมูจะอย่้ต่างสถานทีก ่ ็ตาม เวูนเสียแต่ ว่าในการศึกษาครัง้ นัน ้ มีจุดประสงค์แตกต่างกัน

การร่วมกันใช้ข้อมูล แหล่งความรู้ การร่วมใชูขูอม้ลและแหล่ง ความรู้เป็ นเรือ ่ งปกติของกลุ่มผู้ใชูทีต ่ ูองการจะมีประสบการณ์ดูาน การแลกเปลีย ่ นความคิดเห็นและขูอม้ลต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต โดย ทัว ่ ไปแลูวผู้ใชูจะไม่เพียงแต่มีปฏิสัมพันธ์กับขูอม้ลหรือผู้เชีย ่ วชาญ

เพียงลำาพังเท่านัน ้ แต่จะเขูาร่วมกิจกรรมทางอินเทอร์เน็ต เช่น การแสดงความคิดเห็น การสนทนา ผ่านเครือข่ายกบผู้ทีม ่ ีความ

สนใจในเรือ ่ งเดียวกัน การสมัครเขูาเป็ นสมาชิกองค์กรต่าง ๆ เพือ ่ ร่วมกันใชูขูอม้ลหรือร่วมแสดงความคิดเห็น

การร่วมมือ ร่วมตัดสินใจ และร่วมกันบริหาร ปั จจุบันมีร้ปแบบ ของการร่วมกันในเครือข่ายอย่้ 3 ร้ปแบบ ไดูแก่ การร่วมมือ ร่วม

ตัดสินใจ และร่วมกันบริหาร ซึง่ เป็ นการทำางานระหว่างบุคคล ทีย ่ ัง บกพร่องในร้ปแบบทีเ่ หมาะสมแมูจะมีจุดหมายเพือ ่ การใชูขูอม้ล

ร่วมกันก็ตาม ยูอนกลับไปยังประเด็นการศึกษาซึง่ เป็ นการรวมกัน ระหว่างการเรียนในโรงเรียนหรือการเรียนทางไกลสำาหรับผู้ใหญ่ที ่ จำาเป็ นจะตูองมีการสือ ่ สารกันตลอดเวลา คร้ผส ู้ อนตูองจัด

โปรแกรม กิจกรรมการเรียนการสอน และการแลกเปลีย ่ นขูอม้ล

เพือ ่ ใหูกระบวนการเรียนรู้ สำาหรับการเรียนของนักเรียนก็เช่นกันที ่ ตูองจัดใหูมีกิจกรรมทีจ ่ ะร่วมกันทำางานกับผู้อืน ่ เพือ ่ ใหูเกิด

บุคลิกภาพของการร่วมกันทำางาน หรือตูองการใหูสรูางสังคมของ การเรียนรู้แบบร่วมมือนัน ้ เอง

-4การใช้แหล่งทรัพยากรในอินเทอร์เน็ตเพือ ่ การศึกษา การใชู อินเทอร์เน็ตเพือ ่ การศึกษามีความสัมพันธ์ กับทุกส่วนของการ

ศึกษาเช่นลักษณะการเรียนการสอน หลักส้ตร เนือ ้ หาเวลาเรียน หูองเรียน ทัง้ นีเ้ พือ ่ เป็ นประโยชน์ส้งสุดของผู้เรียน ดังนัน ้ จึงจำาเป็ น ตูองสรูางร้ปแบบของกิจกรรม การอบรม การวิจัย กิจกรรมเสริม อืน ่ ๆ ใหูสอดคลูองกับการใชูอินเทอร์เน็ต

ในระหว่าง 2 จุดประสงค์ดังกล่าว เราพบการประยุกต์เนือ ้ หาหลาย ร้ปแบบซึง่ นำาไปส่้เปูาหมายทางการศึกษา (ทักษะและความ

สามารถทีไ่ ดูจากการเรียน) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์จึงอาจเป็ น ทัง้ เนือ ้ หาและเครือ ่ งมือในเวลาเดียวกัน

จากเหตุผลดังกล่าวขูางตูน ปั จจุบันจึงมีการเนูนใหูเกิดการประยุกต์ การศึกษาในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ดังนัน ้ การสอนเพือ ่ ใหูเกิดทักษะ และความรู้ตูองมาจากการออกแบบโครงการทีม ่ ีเฉพาะเจาะจงเพือ ่

ใหูสอดคลูองกับจุดประสงค์ วิธีการ และเป็ นเครือ ่ งมือเพือ ่ ใหูบรรลุ เปู าหมายส้งสุดทางการศึกษา

อินเทอร์เน็ตเพือ ่ การศึกษาทางไกลเป็ นประโยชน์อย่างยิง่ ใน

กระบวนการเรียนการสอนและนำามาประยุกต์ใชูกับการอบรมไดู อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะมีแหล่งทรัพยากรดูานการศึกษามาก ขึน ้ เท่าใด ยิง่ เป็ นการเพิม ่ คุณค่าของการศึกษาอย่างแทูจริง

ความรู้และทักษะทีจ ่ ำาเป็ นของครูผู้สอน การใชูระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์เป็ นประโยชน์ต่อการศึกษาโดยตรง เพราะเป็ นการใชู เทคโนโลยีการสือ ่ สารผ่านเครือ ่ งคอมพิวเตอร์มาแกูปัญหาทางการ ศึกษา ประโยชน์ของการใชูระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือความ สามารถในการสือ ่ สารทีห ่ ลากหลายระหว่างทีม ่ ีกิจกรรมทางเครือ

ข่าย เหตุผลนีส ้ อดคลูองกับความสามารถและการจัดการเพือ ่ การ แลกเปลีย ่ นขูอม้ล ระหว่างสถานทีห ่ นึง่ ไปยังสมาชิกทีอ ่ ย่้ ณ สถาน

ทีอ ่ ืน ่ ความจำาเป็ นทีพ ่ ึงระวังของผู้ใชูในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการเปลีย ่ นขูอม้ลระหว่างสมาชิกนัน ้ เอง

เป้าหมายของการศึกษาในระบบเครือข่าย กระบวนการทางดูาน การศึกษาใชูระบบเครือข่ายเป็ นพืน ้ ฐานในการพัฒนามีการเชือ ่ ม

โยงกับมิติทัง้ 3 อันไดูแก่ 1.) การบริการขูอม้ลและสาธารณ้ปโภค 2.) ความรู้ และทักษะในการใชูบริการทัง้ สองเพือ ่ ฝึ กฝนและเพือ ่ วิธี

การและจุดประสงค์ทีก ่ ารศึกษาตูองการไปถึง 3.) เปูาหมาย ทางการศึกษาทีส ่ ้งสุด -5สรุป เพือ ่ ส่งเสริมใหูเปูาหมายทางการศึกษาทางอินเทอร์เน็ตประสบ

ความสำาเร็จ เราจำาตูองจัดกิจกรรมทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์และ พัฒนาความสามารถของคร้ เพือ ่ นำาไปส่้การเขูาถึงขูอม้ลและการ

ใชูบริการต่างๆ เพือ ่ เทคโนโลยีการสือ ่ สารในการศึกษาดังสรุปเป็ น ตาราง 1

การทีจ ่ ะนำานักเรียนไปถึงเปูาหมายของการศึกษาซึง่ สัมพันธ์กับ เครือ ่ งมือต่างๆ ทางอินเทอร์เน็ต คร้จะตูองทดลองใชูปฏิสัมพนธ์

ทางอินเทอร์เน็ตเสียก่อนไม่เพียงแต่เพือ ่ ใหูเป็ นผู้นำาและผู้ออกแบบที ่ ประสบผลสำาเร็จในดูานนีเ้ ท่านัน ้ แต่เป็ นการใชูเครือข่ายจากความ ตูองการของตนเองและเพือ ่ ไปส่้เปูาหมายของกิจกรรม โดยไดูรับ การปรับหลักส้ตรและจุดประสงค์ ใหูสอดคลูองกับการเรียนแบบ บรรยายอีกดูวย

นอกจากนีก ้ ารศึกษาทีใ่ ชูอินเทอร์เน็ตสามารถแยกไดูเป็ น 2 ประเด็น คือ

1. การศึกษาระบบเครือข่าย หมายถึง ขูอม้ลและ

เทคโนโลยีการสือ ่ สารถ้กมองว่าเป็ นแขนงวิชาหนึง่ ใน การกระบวนการเรียนการสอน

2. การใชูเครือข่ายเพือ ่ การศึกษา หมายถึง ขูอม้ลและ

เทคโนโลยีการสือ ่ สารถ้กใชูเป็ นเครือ ่ งมือและองค์

ประกอบในระบบการศึกษา เช่น การเรียนผ่าน อินเทอร์เน็ต ผู้นำาโครงการทางการศึกษาผ่านอินเทอร์เน็ตตูองมีความรู้และความ สามารถจัดใหูมีการใชูอินเทอร์เน็ตขัน ้ พืน ้ ฐานกับสมาชิกในกลุ่มไดู

โดยมีการปรับปรุงการบริหาร การร่วมกันใชูขูอม้ล การจัดการของ กลุ่มการเรียน และการหาเครือข่าย ดูวยการใชูคุณสมบัติต่างๆ ของเครือ ่ งมือทีม ่ ีอย่้แลูวจัดใหูเป็ นแหล่งความรู้และนำาไปส่้ความ สำาเร็จของกระบวนการศึกษา ทีมา http://www.school.net.th/library/create-web/10000/generality/1000012033.html

หน่ วยที่ 4........เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร และสืบค้นข้อมูล........ การสืบคูนขูอม้ลสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต กำรสืบค้นข้อม้ลสำรสนเทศบนอินเทอร์เน็ต แหล่งข้อม้ลสำรสนเทศบนอินเทอร์เน็ตเป็ นแหล่งข้อม้ล ทำงอิเล็กทรอนิ กส์ท่ีสำำคัญ และใหญ่ท่ีสุด มีกำรเปลี่ยนแปลงอย่้ตลอดเวลำแทบทุกวินำที ดังนั้น ในกำรสืบค้นข้อม้ลสำรสนเทศบนอินเทอร์เน็ตควร ดำำเนิ นกำรดังนี้ 1. กำำหนดวัตถุประสงค์กำรสืบค้น

ผ้้สืบค้นหรือผ้้วิจัยที่จะนำำข้อม้ลสำรสนเทศไปใช้ ควร ตั้งวัตถุประสงค์กำรสืบค้นที่ชัดเจน ทำำให้ สำมำรถกำำหนดขอบเขตของแหล่งข้อม้ลสำรสนเทศที่ จะสืบค้นให้แคบลง กำำหนดประเภทของเครื่องมือหรือ โปรแกรมสำำหรับกำรสืบค้นทำงอินเทอร์เน็ต ที่เรียกว่ำ Search Engine ให้เหมำะสม กำำหนดช่วงเวลำที่

ข้อม้ลสำรสนเทศถ้กสร้ำงขึ้น เช่น ช่วงปี ที่ตีพิมพ์ของ วำรสำรอิเล็กทรอนิ กส์ ทั้งนี้ เพื่อให้ผลกำรสืบค้นมี ปริมำณไม่มำกเกินไป มีควำมตรง (Validity) ตำม วัตถุประสงค์ และมีควำมน่ ำเชื่อถือ (Reliability) มำก ที่สุด

อีกทั้งยังสำมำรถสืบค้นได้ผลในเวลำอันรวดเร็ว 2. ประเภทของข้อม้ลสำรสนเทศที่สำมำรถสืบค้นได้ ข้อม้ลสำรสนเทศที่อย่้บนอินเทอร์เน็ตมีมำกมำยหลำย ประเภท มีลักษณะเป็ นมัลติมีเดีย คือ มีท้ังที่เป็ นข้อควำม(Text) ภำพวำด (Painting) ภำพ เขียนหรือภำพลำยเส้น (Drawing) ภำพไดอะแกรม (Diagram) ภำพถ่ำย (Photograph) เสียง(Sound)

เสียงสังเครำะห์ เช่น เสียงดนตรี (Midi) ภำพยนตร์ (Movie) ภำพเคลื่อนไหวอะนิ เมชัน (Animation) จำก

เทคโนโลยีกำรสืบค้นที่มีอย่้ในปั จจุบัน กำรสืบค้นที่เร็ว

ที่สุด มีประสิทธิภำพที่สุด และแพร่หลำยที่สุด คือ กำร สืบค้นข้อม้ลสำรสนเทศประเภทข้อควำม สำำหรับ กำรสืบค้นข้อม้ลที่เป็ นภำพ (Pattern Recognition)

และเสียง ยังมีข้อจำำกัดอย่้มำก ใช้เวลำนำน และยัง ไม่มี ประสิทธิภำพ จึงยังไม่มีกำรสืบค้นข้อม้ลประเภทอื่นๆ นอกจำกประเภทข้อควำมในกำรให้บริกำรกำรสืบค้น บนอินเทอร์เน็ต 3. กำรสืบค้นต้องอำศัยอุปกรณ์และควำมร้้ ก่อนที่ผ้สืบค้นจะสำมำรถสืบค้นข้อม้ลสำรสนเทศทำง อินเทอร์เน็ตได้ ต้องมีกำรจัดเตรียม อุปกรณ์ดังต่อไปนี้ คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ต่อ เข้ำอินเทอร์เน็ตซึ่งอำจเป็ น Modem ในกรณีท่ีใช้ค่้กับ สำยโทรศัพท์ หรือแผ่น LAN Card ในกรณีท่ีใช้คก ่้ ับ ระบบเครือข่ำยที่ได้รับกำรติดตั้งไว้แล้ว ซอฟต์แวร์

กำรสื่อสำร (Communication Software) เช่น Dial-up Networking ในกรณีใช้ Modem หรือมีกำรติดตั้ง

Network Protocol ที่เหมำะสมกับระบบเครือข่ำยที่

เครื่องคอมพิวเตอร์น้ันติดตั้งอย่้และติดตั้ง Network Adapter ที่เหมำะสมสำำหรับ LAN Card นั้นๆ ต้อง

สมัครเป็ นสมำชิกขององค์กำรหรือบริษท ั ผ้้ให้บริกำร

อินเทอร์เน็ต (Internet Service Provider หรือ ISP)

เพื่อเป็ นช่องทำงออกส่้อินเทอร์เน็ต นอกจำกอุปกรณ์ ต่ำงๆ ดังกล่ำวข้ำงต้นแล้ว ยังต้องมีควำมร้้และทักษะ พื้นฐำนในกำรใช้งำนคอมพิวเตอร์(Computer

Literacy) ควำมร้้ภำษำอังกฤษเนื่ องจำกข้อม้ล

สำรสนเทศส่วนใหญ่ในอินเทอร์เน็ตเป็ นภำษำอังกฤษ และยัง ต้องมีกำรจัดสรรเวลำให้เหมำะสมอีกด้วย 4. บริกำรบนอินเทอร์เน็ต บริกำรบนอินเทอร์เน็ตที่สำมำรถใช้ช่วยในกำรสืบค้น ข้อม้ลสำรสนเทศมีมำกมำยหลำยบริกำร เช่น บริกำรเครือข่ำยใยแมงมุมโลก หรือ Word-WideWeb(WWW) บริกำรค้นหำข้อม้ล Gopher บริกำร นำำข้อม้ลมำจำก

www.research.bu.ac.th

ที่มา http://blog.eduzones.com/karaket/33535

หน่ วยที่ 5........ฝึ กปฏิบัติการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการสื่อสารและสืบค้นข้อมูล เทคโนโลยีการสืบค้นข้อมูล

เทคโนโลยีการสืบคูนขูอม้ล (Information Retrieval) ก่อกำาเนิ ดมายาวนานพ รูอม ๆ กับวิชาการทางวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีนี้คือเทคโนโลยีท่ีมีเปู า หมายหลักสอง ประการคือความสามารถคูนคืน (Recall) ซึ่งหมายถึงการสืบคูน หาขูอม้ลข่าวสารสารสนเทศที่ มีความเกี่ยวขูองกับสิ่งที่เราสนใจใหูไดูมากที่สุด และ ความแม่นยำาในการสืบคูน (Precision) ซึ่ง หมายถึงความสามารถในการกำาจัด

ขูอม้ลข่าวสารที่ไม่เกี่ยวขูองออกไปใหูมากที่สุด เทคโนโลยีนี้ ไดูทำาใหูนิสิตธรรมดา ๆ คนหนึ่ งอย่าง “เจอร์ร่ี หยาง” กลายเป็ นมหาเศรษฐีของโลกภายในชัว่ ขูามคืนเมื่อ เขาร่วมกับเพื่อนประยุกต์นำาวิชาการดูานนี้มาสรูางแม่ข่ายสืบคูนขูอม้ลบน อินเตอร์เน็ตบริการผู้คนภายใตูช่ ือแปลก ๆ คือ “ยาฮ้” ซึ่งใชูเทคโนโลยีการสืบคูน ขูอม้ลของ บริษัท “อิงค์โทมิ” เป็ นหลัก ในปั จจุบันนอกจากยาฮ้แลูวยังมีผู้ใหูบริการสืบคูนขูอม้ลบนอินเตอร์เน็ตอีกหลาย รายที่ มีความสามารถไม่ย่ิงหย่อนไปกว่ากันยกตัวอย่างเช่น “แอลตาวิสตา” “อินโฟ ซีก” “ฮอทบอท” “ไลน์คอส” “เอกไซท์” เป็ นตูน และที่เด่นมากอีกรายคือ “เดจาส์” ซึ่งใหูบริการสืบคูนขูอ สนทนาของกลุ่มสนทนาต่าง ๆ ทัว่ โลก ความแม่นยำาและความสามารถค้นคืน ความตูองการการสืบคูนที่มีความแม่นยำาส้ง (high precision) หรือมีความ สามารถคูน คืนส้ง (high recall) อาจแปรเปลี่ยนไดูตามกาละและเทศะ กล่าวคือ ในบางกรณี ผู้ใชูงานอาจ ตูองการการสืบคูนที่มีความสามารถคูนคืนส้ง ซึ่งจะพบใน การสืบคูนแบบกวูาง ๆ ยกตัวอย่าง เช่นถูาเราตูองการสืบคูนประวัติของนายก รัฐมนตรีของไทยทุกคน และอีกตัวอย่างหนึ่ งที่ ตูองการการสืบคูนที่มีความแม่นยำา ส้งคือการสืบคูนแบบเฉพาะเจาะจง เช่นเราตูองการสืบคูน ประวัตข ิ องนายก รัฐมนตรีไทยที่เคยแสดงวิวาทะกับพระพุทธทาสเรื่อง “จิตว่าง” จะเห็นไดูว่า การ สืบคูนที่ตูองการความสามารถคูนคืนส้งมีความตูองการคำาสำาคัญ (keyword) นู อย เช่นจาก ตัวอย่างแรกเราตูองการคำาสำาคัญเดียวคือคำาว่า “นายกรัฐมนตรี” ก็ พอเพียงในขณะที่ตัวอย่างที่ สองเราอาจตูองใชูคำาสำาคัญหลายคำาเช่น “นายก รัฐมนตรี” “นั กปราชญ์” “ปากจัด” “รักสุนัข” เป็ นตูน การทำางานของระบบสืบคูนขูอม้ลทัว่ ไปเมื่อมีความแม่นยำาส้งจะมีความสามารถคูน คืน ตำ่าและในทางกลับกันถูาความสามารถคูนคืนส้งความแม่นยำาจะตำ่า เพื่อแกู ปั ญหานี ้ระบบการ สืบคูนขูอม้ลส่วนใหญ่จึงไดูมีการออกแบบภาษาการสืบคูน ขูอม้ล เพื่อสรูางส้ตรการสืบคูนที่ สามารถกำาหนดเงื่อนไขการสืบคูนเช่น “และ” “ห รือ” “ไม่” “ติดกัน” “รวม” “ไม่รวม” ภาษา สืบคูนนี้ทำาใหูไดูระบบที่ใหูความแม่นยำา และความสามารถคูนคืนส้งในเวลาเดียวกันแต่มีปัญหา ที่ความไม่เป็ นมาตรฐาน เดียวกันของผู้ใหูบริการแต่ละรายเช่น ยาฮ้ใชูสัญลักษณ์ต่าง ๆ แทน ส้ตรการสืบคูน เช่น เครื่องหมายบวกแทนการรวม เครื่องหมายลบแทนการไม่รวมคำาสำาคัญใน การ สืบคูน ขณะที่รายอื่นใชูตัวย่อแทนเช่น AND OR NOT EXC ADJ เป็ นตูน การ ใชูภาษาธรรม ชาติจึงเป็ นแนวทางหนึ่ งที่มีผู้ใหูความสนใจส้งทีเดียว การประมวลผลภาษาธรรมชาติกับการสืบค้นข้อมูล เทคโนโลยีการประมวลผลภาษาธรรมชาติมีประโยชน์เกี่ยวพันกับเทคโนโลยีการ สืบคูน ขูอม้ลมากเนื่ องจากฐานขูอม้ลที่จัดเก็บในระบบการสืบคูนขูอม้ลจะเป็ น ขูอม้ลที่ใชูภาษาธรรม ชาติอย่้แลูวไม่มีการจัดสรูางร้ปแบบการจัดเก็บเป็ นพิเศษแต่ อย่างไร นอกจากนี ้การประมวลผล ภาษาธรรมชาติมีส่วนช่วยใหูผู้ใชูงานมีความ สะดวกสบายที่จะสรูางร้ปแบบการสืบคูนที่ซับซูอน โดยจะช่วยแกูปัญหาความไม่มี มาตรฐานของภาษาสืบคูนดังกล่าวมาแลูว

การประมวลผลภาษาธรรมชาติแบ่งไดูเป็ นหกระดับใหญ่ ๆ คือ ระดับหน่ วยเสียง (Phonological) ระดับการผันเสียงเป็ นคำา (Morphological) ระดับ พจนานุกรม (Lexical) ระดับกฎเกณท์ (Syntactic) ระดับความหมาย (Semantic) และระดับเชิงปฏิบัติจริง (Pragmatic) ในโอกาสขูางหนู าผู้เขียน จะไดูกล่าวในรายละเอียดสำาหรับเทคโนโลยีดูานนี้และ ผลกระทบกับชีวิตของพวก เรา สำาหรับภาษาไทยมีกลุ่มนั กวิจัยคนไทยทำาการวิจัยการสืบคูนขูามภาษาไทยและต่าง ประเทศไดูเพื่อเพิ่มความสามารถคูนคืนในกรณี ของภาษาไทย เช่นผู้ใชูปูอนคำา สำาคัญว่า “สาร สนเทศ” ระบบสามารถใหูผลการสืบคูนกับเอกสารที่มค ี ำาต่าง ๆ เหล่านี ้ปรากฏอย่้คือ “ไอที” “Information Technology” เป็ นตูน สืบ เนื่ องจากปั จจุบันการใชูภาษาไทยทับศัพท์หรือการใชู ร่วมกับภาษาต่างประเทศ สามารถพบไดูอย่างกวูางขวางในชีวิตประจำาวัน การจัดเก็บฐานข้อมูลและการทำาดัชนี มีงานวิจัยของทัง้ คนไทยและต่างชาติพบว่าในเอกสารใด ๆ ไม่ว่าจะมีขนาดใหญ่เล็ก ต่าง กันเพียงใดโดยทัว่ ไปแลูวจะมีคุณสมบัติพิเศษที่น่าสนใจคือการใชูคำาศัพท์ใหม่ จะเพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็วในตอนตูน ๆ เอกสาร และจะค่อย ๆ เพิ่มขึ้นชูาลงจนเกือบ ไม่เพิ่มเลยที่ตอนกลาง ๆ ไป จนถึงทูายเอกสาร มีการทดลองใชูเอกสารภาษาไทย ในชีวิตประจำาวันหลาย ๆ เอกสารมีขนาด นั บลูานตัวอักษรมาวิเคราะห์ด้พบว่ามีการ ใชูคำาศัพท์ทัง้ หมดเพียงแค่สามพันกว่าคำาเท่านั ้นและ คำาที่มีความถี่ในการใชูงานส้ง และตำา่ มาก ๆ จะเป็ นคำาที่มีผลต่อเนื้ อหาใจความของเอกสารนู อย เช่นคำาว่า “และ” “ ที่” “ก็” “the” “of” “and” “to” เป็ นตูน ดังนั ้นในระบบการสืบคูนขูอม้ลจึงมีการทำาหมวดหม่้ ประเภทของขูอม้ลข่าวสารรวม ถึง การใชูคำาที่มีผลต่อเนื้ อหาใจความส้งมาทำาดัชนี ของขูอม้ลชีไ้ ปที่เนื้ อเอกสารจริง ๆ ที่กระจายกัน อย่้ตามแม่ข่ายขูอม้ลต่าง ๆ ทัว่ โลกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการ สืบคูนที่รวดเร็ว คุณภาพของ ดัชนี และประเภทของขูอม้ลของแม่ขา่ ยสืบคูนขูอม้ล แต่ละที่จึงแตกต่างกันไป สรุป เครื่องมือสืบคูนขูอม้ลมีประโยชน์มากกับชีวิตของเราในยุคขูอม้ลข่าวสารนี้ ความ เขูาใจ หลักพื้นฐานของเทคโนโลยีการสืบคูนขูอม้ลช่วยใหูเราสามารถใชูเครื่องมือนี้ ไดูอย่างมีประสิทธิ ผลและประสิทธิภาพเพื่อ งมเข็มเล่มที่พวกเราสนใจใน มหาสมุทรไอทีอันกวูางใหญ่ไพศาลนี้

ทีมา http://www.geocities.com/pisitp/irtech.htm

Related Documents

Pummmmm
June 2020 8

More Documents from "pum"

June 2020 5
Pummmmm
June 2020 8
June 2020 9
June 2020 8
June 2020 9