เทคโนโลยีพื้นเพื่อการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้สำหรับครู

  • Uploaded by: pum
  • 0
  • 0
  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View เทคโนโลยีพื้นเพื่อการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้สำหรับครู as PDF for free.

More details

  • Words: 2,993
  • Pages: 79
เทคโนโลยีพื้นเพื่อการศึกษา เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้สำาหรับคร้ เทคโนโลยีการศึกษา ........คำาว่า "เทคโนโลยี”(Technology) มาจากราก

ศัพท์ "Technic" หรือ "Techno" ซึ่งมี ความหมายว่า วิธีการ หรือการจัดแจง

อย่างเป็ นระบบ รวมกับ "logy" ซึ่งแปล ว่า “ศาสตร์” หรือ “วิทยาการ” ดังนั้ น คำา

ว่า "เทคโนโลยี" ตามรากศัพท์จึงหมายถึง ศาสตร์ว่าด้วยวิธีการหรือศาสตร์ท่ีว่าด้วย

การจัดการ หรือการจัดแจงสิ่งต่าง ๆ เข้า ด้วยกันอย่างเป็ นระบบ เพื่อให้เกิดระบบ

ใหม่และเป็ นระบบที่สามารถนำาไปใช้ตาม

วัตถุประสงค์หรือเจตนารมณ์ท่ีต้ ังใจไว้ได้ ซึ่งก็มีความหมายตรงกับความหมายที่ ปรากฏในพจนานุ กรม คือ

วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ดังนั้ น เทคโนโลยี การศึกษาจึงเป็ นการจัดแจงหรือการ

ประยุกต์หลักการทางวิทยาศาสตร์กายภาพ มาใช้ในกระบวนการของการศึกษา ซึ่งเป็ น พฤติกรรมศาสตร์ โครงสร้างมโนมติของ

เทคโนโลยีการศึกษาจึงต้องประกอบด้วย

มโนมติทางวิทยาศาสตร์กายภาพ มโนมติ ทางพฤติกรรมศาสตร์ โดยการประสม ประสานของมโนมติอ่ ืนที่เกี่ยวข้อง

ตัวอย่างเช่น การประยุกต์หลักการทาง

วิทยาศาสตร์กายภาพทางวิศวกรรมและ ทางเคมีได้เครื่องพิมพ์และหมึกพิมพ์

สามารถผลิตหนั งสือตำาราต่างๆ ได้ และ จากการประยุกต์หลักพฤติกรรมศาสตร์

ทางจิตวิทยา จิตวิทยาการเรียนร้้ ทฤษฎี

การเรียนร้้และหลักความแตกต่างระหว่าง บุคคล ทำาให้ได้เนื้ อหาในลักษณะเป็ น

โปรแกรมขั้น ย่อย ๆ จากง่ายไปหายาก เมื่อรวมกันระหว่างวิทยาศาสตร์กายภาพ

และพฤติกรรมศาสตร์ในตัวอย่างนี้ ทำาให้ เกิดผลิตผลทางเทคโนโลยีการศึกษาขึ้น คือ "ตำาราเรียนแบบโปรแกรม"

.........อีกตัวอย่างหนึ่ งการประยุกต์

วิทยาศาสตร์กายภาพเกี่ยวกับแสง เสียง และอิเล็กทรอนิ กส์บนพื้ นฐานทาง

คณิ ตศาสตร์ ใช้ระบบเลขฐานสองทำาให้ได้ เครื่องคอมพิวเตอร์ เมื่อประสมประสาน

กับผลการประยุกต์ทาง พฤติกรรมศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยาการเรียนร้้ ทฤษฎี การเรียนร้้ หลักความแตกต่างระหว่าง

บุคคล หลักการวิเคราะห์งาน และทฤษฎี สื่อการเรียนการสอนแล้วทำาให้ได้ผลผลิต

ทางเทคโนโลยีการศึกษา คือ คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction: CAI) .......จากข้อพิจารณาดังกล่าวข้างต้นจะ เห็นได้ว่า ความหมายของเทคโนโลยีการ

ศึกษามีสองลักษณะที่เน้นหนั กแตกต่างกัน คือ

......1. เทคโนโลยีการศึกษา หมายถึง การประยุกต์หลักการวิทยาศาสตร์กายภาพ

และวิศวกรรมศาสตร์ให้เป็ นวัสดุ เครื่องมือ

และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่สามารถนำามาใช้ใน การเสนอ แสดง และถ่ายทอดเนื้ อหา ทางการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ความหมายนี้ พัฒนามาจากความคิดของ กล่ม ุ นั กโสต-ทัศนศึกษา

......2. เทคโนโลยีการศึกษามีความหมาย โดยตรงตามความหมายของเทคโนโลยี คือ ศาสตร์แห่งวิธีการ หรือการประยุกต์

วิทยาศาสตร์มาใช้ในการศึกษา โดยคำา ว่า”วิทยาศาสตร์”ในที่น้ ี มุ่งเน้นที่วิชา

พฤติกรรมศาสตร์ เพราะถือว่าพฤติกรรม ศาสตร์เป็ นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่ งเช่น

เดียวกับวิชาฟิ สิกส์ เคมี ชีววิทยา เป็ นต้น ........เทคโนโลยีการศึกษามีความสำาคัญ

และมีความจำาเป็ นที่เด่นชัดในปั จจุบันนี้

คือ การนำาเทคโนโลยีและนวัตกรรมต่าง ๆ มาใช้ในกระบวนการศึกษาด้วยเหตุผล สำาคัญดังต่อไปนี้

.......1. ความเจริญอย่างรวดเร็วทางด้าน วิชาการต่างๆ ของโลก โดยเฉพาะระยะ หลังสงครามโลกครั้งที่สองเป็ นต้นมา

วิทยาการใหม่ ๆ และสิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ ได้ถก ้ ค้นคิดประดิษฐ์ข้ ึนมาใช้ในสังคม

มากมายเป็ นทวีค้ณ ซึ่งมีผลโดยตรงต่อ การเปลี่ยนแปลงและปรับตัวทางด้าน

หลักส้ตรการเรียนการสอนของสถานศึกษา และส่งผลเป็ นล้กโซ่ต่อไปถึงปั ญหาการ

เรียนการสอน การเลือกโปรแกรมและการ ทำาความเข้าใจกับเนื้ อหาสาระใหม่ๆ ของ

นั กเรียน ความรุนแรงและความสลับซับ

ซ้อนของปั ญหาเหล่านี้ มีมากขึ้นอย่างต่อ เนื่ อง ปริมาณเนื้ อหาวิชาการใหม่ ๆ มี

มากมายเกินความสามารถของผ้้เกี่ยวข้อง จะเลือกบันทึกจดจำาและนำาเสนอใน

ลักษณะเดิมได้ จึงมีความจำาเป็ นต้องใช้ เครื่องมือทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่

เหมาะสมกับสถานการณ์เข้ามาช่วย เช่น การเสนอข้อม้ลทางวิชาการโดยเทปบันทึก เสียง เทปบันทึกภาพ ไมโครฟอร์ม และ แผ่นเลเซอร์ การแนะแนวการเรียนโดย ระบบคอมพิวเตอร์ เป็ นต้น

.......2. การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ของสังคม ซึ่งเป็ นผลกระทบมาจาก

พัฒนาการทางด้านวิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยีดังกล่าวมาแล้ว มีผลกระทบ

โดยตรงต่อการดำารงชีวิต การปรับตัว และ พัฒนาการของนั กเรียน การแนะแนวส่วน ตัวและสังคมแก่นักเรียน จำาเป็ นต้องใช้

เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมาะสมกับ

สถานการณ์น้ ั น ๆ จึงจะสามารถให้บริการ ครอบคลุมถึงปั ญหาต่าง ๆ ได้

........3. ลักษณะสังคมสารสนเทศหรือ สังคมข้อม้ลข่าวสาร ซึ่งเป็ นผลมาจาก พัฒนาการทางด้านอิเล็กทรอนิ กส์

คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีโทรคมนาคม

ทำาให้ข่าวสารทุกร้ปแบบ คือ เสียง ภาพนิ่ ง ภาพเคลื่อนไหว กราฟฟิ ก และข้อม้ล คอมพิวเตอร์สามารถถ่ายทอดและส่ง

ถึงกันได้อย่างรวดเร็วทุกมุมโลก สังคมใน

ปั จจุบันและอนาคตจะเป็ นสังคมที่ท่วมท้น ด้วยกระแสข้อม้ลและข่าวสาร

ข้อม้ลและข่าวสารจำานวนมหาศาลจะอย่้ท่ี ความต้องการของผ้้ใช้อย่างง่ายดายมาก ความจำาเป็ นที่สถานศึกษาจะต้องเป็ น

แหล่งให้ข้อม้ลข่าวสารจะหมดความสำาคัญ ลง การแนะแนวในสถานศึกษาจะต้อง

เปลี่ยนบทบาทจากการทำาตัวเป็ นแหล่งให้ ข้อม้ลมาเป็ นการแนะแหล่งข้อม้ล แนะนำา

การเลือกและการใช้ข้อม้ลในการแก้ปัญหา และการคิดสร้างสรรค์ ซึ่งบทบาทอย่างนี้ จะทำาให้สำาเร็จได้ยากหากไม่สามารถใช้

เทคโนโลยีและนวัตกรรมเชื่อมต่อกับระบบ สารสนเทศในปั จจุบัน

มีผู้ใหูคำานิ ยามของคำาว่า เทคโนโลยีการ ศึกษา (Educational

Technology) ไวูดังนี้

วิจิตร ศรีสอ้าน (วิจิตร ,2517)ห้ความ หมายว่า เทคโนโลยีการศึกษาเป็ นการ

ประยุกต์เอาเทคนิ ควิธีการ แนวความคิด อุปกรณ์และเครื่องมือใหม่ๆ มาใช้เพื่อช่วย แก้ปัญหาทางการศึกษาทั้งในด้านการ

ขยายงานและด้านการปรับปรุงคุณภาพ ของการเรียนการสอน

สำานั กงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (สำานั กงานคณะกรรมการการศึกษาแห่ง

ชาติ,2546)ยังได้สรุปเพื่อความเข้าใจที่ ชัดเจนว่า "เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา" มี

ความหมายครอบคลุมการผลิต การใช้

และการพัฒนาสื่อสารมวลชน(อันได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุ

โทรทัศน์) เทคโนโลยีสารสนเทศ(คอมพิวเ ตอร์ อินเทอร์เน็ต มัลติมีเดีย) และ โทรคมนาคม (โทรศัพท์ เครือข่าย

โทรคมนาคมและการสื่อสารอื่นๆ) เพื่อให้ เกิดกระบวนการเรียนร้้ได้ตามความ

ต้องการของผ้้เรียนในทุกเวลาและทุก สถานที่

ทบวงมหาวิทยาลัย (ทบวง

มหาวิทยาลัย,2546) นิ ยามว่า "เทคโนโล ยีเพื่อการศึกษา" เป็ นเครื่องมือในการ

พัฒนาการศึกษา โดยการนำาสื่อสารมวลชน

เทคโนโลยีสารสนเทศ โทรคมนาคม และ การจัดแหล่งทรัพยากรการเรียนร้้ มาใช้

เพื่อจัดให้การศึกษาที่สามารถผสมผสาน

ระหว่างการศึกษาในระบบการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เอื้ อ

อำานวยให้ผ้เรียนสามารถศึกษาค้นคว้าได้ ตามความต้องการ เพื่อให้การเรียนร้้และ

การพัฒนาคุณภาพชีวิตเกิดขึ้นได้อย่างต่อ เนื่ องตลอดชีวิตทั้งด้านการศึกษาสาระ

ความร้ท ้ างวิชาการ ทางศาสนา และศิลปะ วัฒนธรรม สื่อเทคโนโลยีทางการศึกษา

ตามความหมายของทบวงมหาวิทยาลัยนั้ น ครอบคลุมสื่อวิทยุกระจายเสียง สื่อวิทยุ

โทรทัศน์ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ เครือ ข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตโทรสาร

โทรศัพท์ และโทรคมนาคมอื่นรวมทั้ง

แหล่งการเรียนร้้ทัว่ ไป โดยมุ่งเน้นที่จะส่ง เสริมให้เกิดการเรียนร้้ และการพัฒนา ทรัพยากรมนุ ษย์ได้เต็มตามศักยภาพ

ปราศจากข้อจำากัดด้านโอกาส ถิ่นที่อย่้ ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม

"เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา" ตามความ

หมายของร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งสถาบัน เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแห่งชาติ หมาย ถึง การนำาสื่อตัวนำา คลื่นความถี่ และ

โครงสร้างพื้ นฐานอื่นๆ ที่จำาเป็ นต่อการ

แพร่เสียง ภาพ และการสื่อสารในร้ปแบบ อื่น ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ท้ ังการศึกษาใน

ระบบการศึกษานอกระบบ การศึกษาตาม

อัธยาศัย การทำานุ บำารุงศาสนา ศิลปะและ

วัฒนธรรมเพื่อให้การจัดการศึกษาเป็ นกระ บวนการเรียนร้้อย่างต่อเนื่ องตลอดชีวิต

โดยครอบคลุมสื่อสารมวลชน เทคโนโลยี สารสนเทศ โทรคมนาคม สื่อโสตทัศน์

แบบเรียน ตำารา หนั งสือทางวิชาการและ แหล่งการเรียนร้้หรือเทคโนโลยีเพื่อการ ศึกษาอื่นตามที่คณะกรรมการสถาบัน

เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแห่งชาติกำาหนด Carter V. Good(good,1973) กล่าว ว่า เทคโนโลยีการศึกษาหมายถึง การนำา หลักการทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้

เพื่อการออกแบบและส่งเสริมระบบการ เรียนการสอน โดนเน้นที่วัตถุประสงค์

ทางการศึกษาที่สามารถวัดได้อย่างถ้กต้อง แน่นอน มีการยึดหลักผ้้เรียนเป็ น

ศ้นย์กลางการเรียนมากกว่ายึดเนื้ อหาวิชา มีการใช้การศึกษาเชิงปฏิบัติโดยผ่านการ

วิเคราะห์และการใช้โสตทัศน้ ปกรณ์รวมถึง เทคนิ คการสอนโดยใช้อุปกรณ์ต่างๆ เช่น

เครื่องคอมพิวเตอร์ สื่อการสอนต่างๆ ใน ลักษณะของสื่อประสมและการศึกษาด้วย ตนเอง Gagne' และ Briggs (gagne',1974) ให้ความหมายว่า เทคโนโลยีการศึกษานั้ น พัฒนามาจากการออกแบบการเรียนการ สอนในร้ปแบบต่างๆ โดยรวมถึง

.......1.ความสนใจในเรื่องความแตกต่าง

ระหว่างบุคคลในเรื่องของการเรียนร้้ เช่น บทเรียน แบบโปรแกรม และ บทเรียน การสอนใช้คอมพิวเตอร์ช่วย เป็ นต้น

.......2.ด้านพฤติกรรมศาสตร์และทฤษฏี การเรียนร้้ เช่น ทฤษฏีการเสริมแรงของ B.F. Skinner .......3.เทคโนโลยีด้าน วิทยาศาสตร์กายภาพ เช่น โสตทัศน้ ปกรณ์ ประเภทต่างๆ รวมถึงสื่อสิ่งพิมพ์ด้วย

Heinich,Molenda และ Russel(Heini ch,1989) เสนอว่า เทคโนโลยีการศึกษา คือการใช้ความร้้ทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับ การเรียนร้้ของมนุ ษย์ให้ปฏิบัติได้ในร้ป

แบบของการเรียนและการสอนอีกนั ยหนึ่ ง ก็คือ การใช้ความร้้ทางวิทยาศาสตร์ (ทั้ง

ด้านยุทธวิธี Tactic และด้านเทคนิ ค)

เพื่อแก้ปัญหาทางการสอนซึ่งก็คือความ พยายามสร้างการสอนให้มีประสิทธิภาพ

มากขึ้น โดยการออกแบบ ดำาเนิ นการและ ประเมินผลการเรียนการสอนอย่างเป็ น

ระบบ บนพื้ นฐานของการศึกษาวิจัยในการ เรียนและการสื่อสาร

กิดานั นท์ มลิทอง(2545) ปั จจุบันนี้ สมาคมเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและการ

สื่อสารได้ให้ความหมายว่า เทคโนโลยีเพื่อ การศึกษา เป็ นทฤษฏีและการปฏิบัติของ การออกแบบ การพัฒนาการใช้ การ

จัดการ และการประเมิน ของกระบวนการ และทรัพยากรสำาหรับการเรียนร้้

แนวคิดของเทคโนโลยีการศึกษาจึง

ประกอบด้วยส่วนสำาคัญ 5 กลุ่ม คือ การ ออกแบบ(design) การพัฒนา

(Development) การใช้(utilization) การจัดการ (management)และการ

ประเมิน(evaluation)ซึ่งแต่ละกลุ่มจะ โยงเข้าส่้ศ้นย์กลางของทฤษฏีและปฏิบัติ ดังนั้ นเทคโนโลยีการศึกษาจึงเป็ นผสม

ผสานกันระหว่างความร้้ด้านวิทยาศาสตร์ และสังคมศาสตร์เป็ นการประยุกต์เอา

แนวคิดความคิด เทคนิ ค วิธก ี าร วัสดุ

อุปกรณ์ และสิ่งต่างๆ อันสืบเนื่ องมาจาก เทคโนโลยีมาใช้ในวงการศึกษานั้ นเอง เห็นได้ชัดเจนว่า "เทคโนโลยีการศึกษา"

ครอบคลุมความหมายกว้างขวาง ซึ่งใน ภาษาสากลนั้ น คำาว่า Educational Technology มีความหมายรวมถึง

เทคโนโลยีการสอน(Instructional Technology) เทคโนโลยีการเรียนร้้

(Learning Technology) สื่อการศึกษา (Educational Media) และคำาอื่นๆ ที่

มีความหมายอย่างเดียวกันเข้าไว้ด้วย แต่ คำาว่า Educational Technology)

และ Instructional Technology ด้จะ ได้รบ ั การยอมรับมากที่สุด โดยมักจะถ้กใช้ ในความหมายอย่างเดียว

ประวัติและพัฒนาการของเทคโนโลยีการ ศึกษา

ประวัติของเทคโนโลยีการศึกษา

.........เทคโนโลยีได้ถก ้ นำามาใช้ทางการ ศึกษานั บตั้งแต่สมัยก่อนคริสตกาล มีการ กล่าวถึงนั กเทคโนโลยีทางการศึกษาพวก แรก คือกลุ่มโซฟิ สต์ (The Elder

sophist) ที่ใช้วิธีการสอนการเขียน เช่น การใช้มือวาด การเขียนสลักลงบนไม้ ส่วน การใช้ชอล์คเขียนบนกระดานดำาได้เริม ่ ขึ้น ในทศวรรษที่ 1800 สำาหรับการใช้ เทคโนโลยีทางสื่อโสตทัศน์(audio

visual) นั้ น สามารถนั บย้อนหลังไปได้ถึง ต้นทศวรรษที่ 1900 ในขณะที่โรงเรียน

และพิพิธภัณฑ์หลายๆ แห่งเริม ่ มีการจัด สภาพห้องเรียนและการใช้ส่ ือการสอน

ประเภทต่างๆ เช่น ใช้ส่ ือการสอนประเภท

ต่างๆ เช่น ใช้ส่ ือภาพ ภาพวาด ภาพ ระบายสี สไลด์ ฟิ ล์ม วัตถุ และแบบ

จำาลองต่างๆ และแบบจำาลองต่างๆ เพื่อ เสริมการบอกเล่าทางคำาพ้ด

ต่อ Thomas A. Edison ได้ผลิตเครื่อง

ฉายภาพยนตร์ข้ ึนในปี ค.ศ. 1913 เขาได้ เล็งเห็นประโยชน์ของภาพยนตร์ในการ เรียนการสอนเป็ นอย่างมาก จนถึงขั้น

เขียนไว้เป็ นหลักฐานว่า "ต่อไปนี้ หนั งสือ จะกลายเป็ นสิ่งที่หมดสมัยในโรงเรียน

เพราะเราสามารถใช้ภาพยนตร์ในการสอน ความร้ท ้ ุกสาขาได้ ระบบโรงเรียนจะต้อง เปลี่ยนแปลงโดยสิ้นเชิงภายในสิบปี ข้าง

หน้า" แต่ปัจจุบันแม้มีเทคโนโลยีสมัยใหม่ ก็ยังไม่สามารถล้มล้างเทคโนโลยีด้ ังเดิม

เช่น การใช้หนั งสือในการเรียนการสอนได้ .........ในช่วงทศวรรษที่ 1920 - 1930 เริม ่ มีการใช้เครื่องฉายภาพแบบข้ามศีรษะ (overhead projector) เครื่องบันทึก เสียง วิทยุกระจายเสียง และภาพยนตร์

เข้ามาเสริมการเรียนการสอนวิทยุกระจาย เสียงจึงเป็ นสื่อใหม่ท่ีได้รบ ั ความนิ ยม

สำาหรับกิจการกระจายเสียงในประเทศ สหรัฐอเมริกานั้ นได้เริม ่ ขึ้นตั้งแต่ราวปี

ค.ศ.1921 การเริม ่ ขออนุ ญาตประกอบ กิจการกระจายเสียงในยุคแรก ๆ มี

วัตถุประสงค์เพื่อการศึกษา และเริม ่ มีการ ใช้วิทยุกระจายเสียงเพื่อการสอนทางไกล ช่วงทศวรรษที่ 1930 แต่ต่อมาระบบ

ธุรกิจเข้าครอบงำามากขึ้นจนวิทยุเพื่อการ

ศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกาอย่ใ้ นสภาวะ ที่ตกตำ่าลง ........ในช่วงทศวรรษที่ 1950 วิทยุ โทรทัศน์เกิดเป็ นปรากฏการณ์ใหม่ในสังคม ตะวันตกซึ่งสามารถใช้เป็ นสื่อเพื่อการ

ศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิทยุโทรทัศน์ จึงมีบทบาทสำาคัญและกลายเป็ น

เทคโนโลยีแถวหน้าของสังคมนั บแต่บัดนั้ น นั กวิชาการบางท่านถือว่าช่วงระหว่าง

ทศวรรษที่ 1950 ถึง 1960 นี้ เป็ นการ

เปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในแวดวงเทคโนโลยี เพื่อการศึกษาเนื่ องจากการก่อกำาเนิ ดของ

วิทยุโทรทัศน์ และยังได้มีการนำาเอาทฤษฎี

ทางด้านสื่อสารมวลชนและทฤษฎีระบบเข้า มาใช้ในวงการเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอีก ด้วย ดังนั้ น ในช่วงต้นทศวรรษที่ 1950

จึงมีการใช้คำาว่า "การสื่อสารทางภาพและ เสียง" หรือ "audio-visual

communications" แทนคำาว่า "การ สอนทางภาพและเสียง" หรือ "audio-

visual instruction" ซึ่งย่อมเป็ นเครื่อง ชี้ชัดประการหนึ่ งว่า เทคโนโลยีการสื่อสาร

นั้ น คือเครื่องมือสำาคัญในการถ่ายทอดการ เรียนการสอนนั ่นเอง .........ในทวีปยุโรป วิทยุโทรทัศน์เพื่อ การศึกษาเริม ่ ต้นในช่วงต้นทศวรรษที่

1950 โดย British Broadcasting

Corporation หรือ BBC ในปี ค.ศ.

1958 ประเทศอิตาลีก็รเิ ริม ่ บ้างโดยมีการ สอนตรงผ่านสื่อวิทยุโทรทัศน์ผ่าน Telescuola (Television School of the Air) ส่วนประเทศในเครือ คอมมิวนิ สต์ได้มีโอกาสรับชมรายการ

โทรทัศน์เพื่อการศึกษาเป็ นครั้งแรกในปี 1960 นำาโดยประเทศย้โกสลาเวีย ตามติด ด้วยประเทศโปแลนด์ สำาหรับประเทศ โซเวียตนั้ น ได้เริม ่ ออกอากาศรายการ

ทัว่ ไปและรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา เมื่อปี 1962 ในปี 1965 ประเทศอื่นๆ

ในยุโรปตะวันออกก็ได้ทำาการออกอากาศ รายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาโดยผ่าน ดาวเทียมกันอย่างแพร่หลาย

.........ปี ค.ศ. 1962 ประเทศจีน

คอมมิวนิ สต์รเิ ริม ่ ทำาการสอนในวิชาต่างๆ เช่น เคมี ฟิ สิกส์ในระดับมหาวิทยาลัย โดย ผ่านสถานี วิทยุโทรทัศน์เซี่ยงไฮ้ นอกจาก นั้ นสถานี วิทยุโทรทัศน์อ่ ืน ๆ เช่น ใน

ปั กกิ่ง เทียนสิน และกวางตุ้ง ต่างก็เผย แพร่รายการมหาวิทยาลัยทางโทรทัศน์

(Television Universities) เพื่อเป็ น แรงขับเคลื่อนในระดับชาติเพื่อการศึกษา สำาหรับประชาชน อย่างไรก็ตามประเทศ

ญี่ปุ่นได้รบ ั การยกย่องว่าเป็ นประเทศแรก ในโลกทีมก ี ารบ้รณาการการใช้วิทยุ

โทรทัศน์เข้ากับโครงสร้างของการศึกษานั บ ตั้งแต่ระดับอนุ บาลไปจนถึงมหาวิทยาลัย และยังรวมถึงการให้การศึกษาผ้้ใหญ่ใน

สาขาวิชาต่างๆ อย่างกว้างขวางด้วย ก่อน สิ้นปี 1965 ประเทศญี่ปุ่นมีสถานี วิทยุ โทรทัศน์เพื่อการศึกษาออกอากาศทัว่ ประเทศเป็ นจำานวนถึง 64 สถานี

.........ประเทศในอเมริกาใต้ เริม ่ ดำาเนิ น การวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษานั บตั้งแต่ ปลายทศวรรษที่ 1950 นำาโดยประเทศ

โคลอมเบีย ซึ่งทำาการออกอากาศวิชาต่างๆ ในระดับประถมศึกษาอย่างเต็มร้ปแบบ ระหว่างชัว่ โมงเรียนปกติโดยผ่านสถานี วิทยุโทรทัศน์แห่งชาติ ต่อมาประเทศ โคลอมเบียได้รบ ั ความช่วยเหลือจาก

โครงการอาสาสมัครเพื่อสันติภาพจาก ประเทศสหรัฐอเมริกา จึงเป็ นผลให้

ประเทศโคลอมเบียกลายเป็ นแบบอย่าง

ของวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษาในเวลาต่อ มา ........แม้ว่าการเติบโตของวิทยุโทรทัศน์ เพื่อการศึกษาจะเกิดขึ้นทัว่ โลกก็ตาม การ พัฒนาที่เด่นชัดที่สุดเห็นจะได้แก่ประเทศ สหรัฐอเมริกา การทดลองครั้งแรกใน

ประเทศสหรัฐอเมริกาเกิดขึ้นที่ lowa University ในช่วงระหว่างปี 1932-

1939 โดยมีการผลิตรายการในวิชาต่างๆ เช่น วิศวกรรมศาสตร์ พฤกษศาสตร์

ศิลปะ การละคร และชวเลข เป็ นต้น มหาวิทยาลัยในประเทศสหรัฐอเมริกา 5

แห่งที่ถ้กจัดว่าเป็ นผ้้บุกเบิกในวงการวิทยุ

โทรทัศน์เพื่อการศึกษาของประเทศ ได้แก่ lowa University ที่ lowa City,

lowa State University ที่ Ames, Kansas State University, University of Michigan และ American University การเติบโตของ วิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษาในประเทศ

สหรัฐอเมริกาในช่วง ค.ศ. 1953-1967 นั บว่าส้งมาก เพราะมีสถานี วิทยุโทรทัศน์ เพื่อการศึกษาทัว่ ประเทศเป็ นจำานวนถึง

140 สถานี เมื่อเปรียบเทียบกับจำานวน ประชากร 140 ล้านคนในขณะนั้ น มีการ

คาดคะเนว่า ในช่วงเวลาดังกล่าว รายการ โทรทัศน์เพื่อการศึกษาสามารถเข้าถึง

โรงเรียนได้ไม่ต่ำากว่า 2,000 โรง และเข้า

ถึงนั กเรียนระดับประถมศึกษา

มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา ได้ไม่ตำ่ากว่า 15 ล้านคนทีเดียว .........เทคโนโลยีการศึกษาและการ สื่อสารได้มก ี ารเปลี่ยนแปลงและพัฒนาขึ้น อย่างมากในช่วงปลายทศวรรษที่ 1960

เมื่อโลกได้หน ั เข้ามาส่้ยุคของคอมพิวเตอร์ ในด้านการศึกษานั้ น ได้มก ี ารใช้เครื่อง

คอมพิวเตอร์ในโรงเรียนเป็ นครั้งแรกในปี

1977 ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อบริษัท APPLE ได้ประดิษฐ์เครื่อง APPLE II ขึ้น โดยการใช้ในระยะแรกนั้ นมีวัตถุประสงค์

หลักเพื่อการบริหารจัดการ ต่อมาได้มก ี าร พัฒนาโปรแกรมต่างๆ เพื่อให้ใช้ได้งา่ ย

และสามารถช่วยในการเรียนการสอนได้

มากขึ้น คอมพิวเตอร์จึงเป็ นสิ่งที่คร้และ นั กเรียนคุ้นเคย และมีการใช้กน ั อย่างแพร่ หลายจนทุกวันนี้

..........ยุคของมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา

ได้เริม ่ ขึ้นในปี 1987 เมื่อบริษัท APPLE ได้เผยแพร่โปรแกรมมัลติมีเดียครั้งแรก

ออกมา คือโปรแกรม HyperCard แม้ว่า โปรแกรมนี้ จะต้องใช้เครื่องที่มก ี ำาลังส้ง

ต้องใช้เวลาในการฝึ กหัดมาก แต่ผลงที่ได้ รับก็น่าประทับใจ การพัฒนามัลติมีเดีย

เพื่อการศึกษาได้มีการดำาเนิ นไปอย่างต่อ เนื่ อง มีการพัฒนาโปรแกรม Hyper

Studio มาใช้ และได้รบ ั ความนิ ยมมาก

ขึ้นในหลายๆ โรงเรียน อย่างไรก็ตาม

เพียงภายในสองปี มัลติมีเดียเพื่อการ ศึกษาก็ถ้กแทนที่โดยสิ่งที่น่าตื่นเต้น มากกว่า นั ่นก็คือ อินเทอร์เน็ต (Internet) นั ่นเอง .........ปั จจุบันนี้ อินเทอร์เน็ตมีอัตราการ เติบโตอย่างรวดเร็ว The Department of Commerce's Census Bureau ของประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ทำาการสำารวจ ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2544 พบว่าใน

ช่วงไม่ก่ีปีที่ผ่านมา จำานวนคนอเมริกันที่ ใช้อน ิ เทอร์เน็ตมีจำานวนเพิ่มขึ้นถึงเดือนละ สองล้านคน ซึ่งทำาให้ตัวเลขประชากรที่

ออนไลน์มีจำานวนกว่าครึง่ หนึ่ งของประเทศ สหรัฐอเมริกาผลการสำารวจรายงานว่า

ปั จจุบันนี้ คนอเมริกน ั ที่ใช้คอมพิวเตอร์มี

จำานวนถึง 174 ล้านคน (หรือร้อยละ 66 ของจำานวนประชากรทั้งประเทศ) และมี

ชาวอเมริกันใช้อินเทอร์เน็ตทั้งสิ้นประมาณ 143 ล้านคน (ราว ๆ ร้อยละ 54 ของ

ประชากร) ส่วนในประเทศไทยนั้ นบริษัท ACNielsen ซึ่งเป็ นบริษัทวิจัยการตลาด ระดับนานาชาติ ได้ทำาการสำารวจผ้้ใช้

อินเทอร์เน็ตในเขตเมืองใหญ่ในแต่ละภาค ของประเทศไทยเมื่อเดือนพฤษภาคม

2544 และพบว่าครอบครัวในเมืองใหญ่ท่ี มีคอมพิวเตอร์เป็ นของตนเองมีเพียงร้อย ละ 24 เท่านั้ น ส่วนจำานวนผ้้ใช้

อินเทอร์เน็ตทั้งประเทศมีจำานวนประมาณ 10 ล้านคน (ราวๆ ร้อยละ 16.6 ของ

ประชากร) ในจำานวนนี้ ส่วนใหญ่เป็ นผ้้ใช้

ในเขตกรุงเทพมหานคร นอกจากนั้ นศ้นย์ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิ กส์และคอมพิวเตอร์

แห่งชาติ (NECTEC) ก็ได้ทำาการสำารวจผ้้ ใช้อน ิ เทอร์เน็ตในประเทศไทยในช่วงเดือน กันยายน - ตุลาคม 2544 เช่นกัน พบว่า ผ้้ใช้อินเทอร์เน็ตร้อยละ 52 อย่ใ้ น

กรุงเทพมหานคร เป็ นเพศชายร้อยละ 48.8 และเพศหญิงร้อยละ 51.2 ใน

จำานวนผ้้ท่ีใช้อินเทอร์เน็ตนี้ ส่วนใหญ่เป็ นผ้้ ทีมีอายุระหว่าง 20-29 ปี (ร้อยละ 49.1) และเป็ นผ้้มีการศึกษาระดับ

ปริญญาตรี (ร้อยละ 60.3) อย่างไรก็ตาม การวิจัยทั้งสองให้ผลที่ตรงกันว่า คนไทย ส่วนใหญ่ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อส่ง e-mail

ค้นหาข้อม้ล ติดตามข่าวสาร และสนทนา (chat) .........นอกจากนั้ นยังมีการสรุปด้วย ว่าการใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยแพร่

หลายมากขึ้น เพราะค่าใช้จ่ายถ้กลง และมี อินเทอร์เน็ตคาเฟมากขึ้น การพัฒนาอัน น่ามหัศจรรย์ใจของของอินเทอร์เน็ตใน

ฐานะที่เป็ นเครือข่ายแห่งเครือข่ายทำาให้มี

การเชื่อมโยงกันได้อย่างเสรีไม่มีการปิ ดกั้น ดังนั้ นคนทุกคนจึงสามารถเผยแพร่ข้อม้ล ของตนบนอินเทอร์เน็ตได้อย่างง่ายดาย พอ ๆ กับการที่สามารถสืบค้นข้อม้ลได้

จากแหล่งความร้้ต่างๆ ทัว่ โลก และจาก คุณสมบัติดังกล่าวนี้ อันเทอร์เน็ตจึงมี

ประโยชน์อย่างยิ่งในการศึกษาร้ปแบบ

ต่างๆ เพราะนั กเรียนและคร้สามารถ สื่อสารถึงกันได้โดยผ่านระบบ

อิเล็กทรอนิ กส์ เช่น อีเมล์ การแลก เปลี่ยนความร้้ผ่านระบบ bulletin

board และ biscussion groups

ต่างๆ ตลงอดจนการใช้เทคโนโลยีท่ีทน ั สมัยยิ่งขึ้นในการโทรศัพท์หรือประชุมทาง

ไกลผ่านอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตจึงเพิ่ม บทบาทสำาคัญในการศึกษาร้ปแบบใหม่และ ยังช่วยเปลี่ยนบทบาทของคร้จาก "ผ้้

สอน" มาเป็ น "ผ้้แนะนำา" พร้อมทั้งช่วย

สนั บสนุ นให้เด็กสามารถเรียนและค้นคว้า ด้วยตนเองอีกด้วย พัฒนาการเทคโนโลยีการศึกษาใน

ประเทศไทย

เทคโนโลยีการศึกษาของไทยมีการ พัฒนาการมา 3 ยุค คือ

........1. ยุคแรกสมัยกรุงสุโขทัยจนถึง สมัยกรุงธนบุร ี ยุคนี้ เป็ นยุคเริม ่ ต้นของการ พัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษาของไทย

ในสมัยสุโขทัย พ่อขุนรามคำาแหงมหาราช ทรง ประดิษฐ์อักษรไทย เพราะตัวอักษร เป็ นพื้ นฐานที่สำาคัญในการเผยแพร่

วิทยาการต่างๆ ให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้น และ ทำาให้คนไทยเกิดความร้ส ้ ึกหวงแหนชาติ

ไทยนอกจากนี้ พระองค์ยังทรงเอาใจใส่ต่อ การศึกษาของประชาชนด้วย ดังเช่น การ สัง่ สอนประชาชน ณ พระแทนมนั งคศิลา ทั้งด้วยพระองค์เองและทรงนิ มนต์พระ

ภิกษุมาสัง่ สอน เล่าเรื่อง การเทศนา การ เขียนเป็ นหนั งสือ ฯลฯ ยุคนี้ มีเทคโนโลยี การศึกษาผ่านสื่อวรรณกรรมที่สำาคัญ 2 เรื่อง คือ ภาษิตพระร่วง และไตรภ้มิ

พระร่วง ในสมัยกรุงศรีอยุธยา เทคโนโลยี การศึกษาได้ก้าวหน้าไปมาก ทั้งด้าน

วิชาการทั้งในประเทศและวิทยาการจาก ประเทศตะวันตก หนั งสือเรียนเล่มแรก ของไทยชื่อ จินดามณี ก็เกิดขึ้นในยุคนี้

นอกจากนี้ ก็มี วรรณกรรมต่างๆเกิดขึ้น มากมาย ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์

มหาราช พระองค์ทรงดำาเนิ นนโยบายต่าง ประทศระบบเปิ ด ต้อนรับชาวต่างประเทศ การค้าและการศาสนา ส่วนหนึ่ งของชาว

ยุโรปเหล่านี้ ได้แก่ คณะมิชชัน ่ นารี ได้นำา

วิทยาการใหม่ ๆ หลายประการจากยุโรป

มาเผยแพร่ในประเทศด้วย เช่น การพิมพ์ การจัดตั้งโรงเรียน แต่วิทยาการเหล่านี้ ไม่ ได้นำามาใช้อย่างจริงจัง ก็เลิกล้มไปเพราะ พระมหากษัตริย์สมัยหลังสมเด็จพระ

นารายณ์มหาราช ไม่ต้องการให้ชาวยุโรป เข้ามาดำาเนิ นการกิจการต่างๆ ใน

ประเทศไทย ในสมัยกรุงธนบุร ี เทคโนโลยี การศึกษามีไม่มากนั ก ทั้งนี้ เพราะประเทศ ได้รบ ั ความเสียหายมาก จากการเสียกรุง ศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2310

พระเจ้ากรุงธนบุรใี ช้เวลาส่วนใหญ่ในการ รวบรวมคนไทย และบ้รณะประเทศให้เป็ น ปึ กแผ่นอีกครั้งหนึ่ ง อีกทั้งสมัยนี้ มีระยะ

เวลาสั้นเพียง 15 ปี เทคโนโลยีการศึกษา

ในสมัยนี้ จึงมีเพียงวรรณกรรมเท่านั้ น

........2. เทคโนโลยีการศึกษายุคปรับ เปลี่ยน ในยุคนี้ นั บตั้งแต่สมัยพระพุทธ

ยอดฟ้ าจุฬาโลกครั้งที่ 2 จนถึงปั จจุบัน เมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2

สหรัฐอเมริกา ได้เข้ามามีอท ิ ธิพลใน ประเทศไทยมากขึ้น แทนอังกฤษและฝรัง่ เศษ สหรัฐอเมริกาได้นำาเทคโนโลยีการ

ศึกษาสมัยใหม่หลายอย่างมาเผยแพร่ใน ประเทศไทย เริม ่ ต้นด้วยภาพยนตร์ ที่

สำานั กข่าวสารอเมริกัน ได้นำามาฉาย หลาย เรื่องมาสามารถนำามาใช้ในการศึกษาได้

ทำาให้คนไทยเห็นคุณค่าของภาพยนตร์เพื่อ นำามาใช้ในการศึกษา กองการศึกษาผ้้ใหญ่

กระทรวงศึกษาธิการเริม ่ นำาภาพยนตร์มาใช้

ในการให้การศึกษา ในยุคนี้ เองได้มก ี าร

บัญญัติศัพท์ " โสตทัศนศึกษา" ขึ้นโดยมา จากคำาภาษาอังกฤษว่า Audio Visual .........โสตทัศนศึกษาในยุคนี้ พัฒนาอย่าง มีระบบแบบแผน อีกทั้งได้มีการเปิ ดสอน ในระดับอุดมศึกษา ทั้งขั้นปริญญาตรีและ บัณฑิตศึกษา ทำาให้กา้ วหน้ากว่าทุกยุคที่ ผ่านมาโดยเฉพาะสหรัฐมเมริกาเข้ามามี

อิทธิพลอย่างมากในการจัดการศึกษาของ ไทย ทั้งนี้ เพราะมีนักการศึกษาและผ้้

บริหารการศึกษาคนไทยได้มีโอกาสไป ศึกษาในสหรัฐอเมริกา เริม ่ ตั้งแต่สมัย

รัชกาลที่ 4 เทคโนโลยีการศึกษาในยุคนี้ แบ่งออกได้เป็ นร้ปแบบต่างๆดังนี้

........1) เทคโนโลยีการสอน ได้มีการ

คิดค้นวิธีการเรียนการสอนใหม่ ๆ ขึ้นมา หลายอย่าง ทั้งจากการประยุกต์จาก

วิทยาการของต่างประเทศและจากการ สร้างขึ้นมาเอง เช่น ระบบการเรียนการ สอนแบบศ้นย์การเรียน ระบบการสอน แบบเบญจขันธ์ ระบบการสอนแบบ

จุลภาค ระบบการการสอนแบบสืบสวน สอบสวน ฯลฯ ซึ่งระบบการเรียนการสอน ที่ได้รบ ั การพัฒนาขึ้นนี้ ล้วนเอาแนวคิด จากตะวันตกมาทั้งสิ้น

.......2) เทคโนโลยีด้านสื่อ สื่อการศึกษา ในยุคนี้ ส่วนใหญ่พัฒนามาจากผลิตผลทาง ด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์

เช่น เครื่องฉายภาพยนต์ เครื่องฉายสไลด์

เครื่องฉายภาพโปร่งใส นอกจากนี้ ยังได้มี

การนำาวิทยุและวิทยุโทรทัศน์มาใช้เพื่อการ ศึกษาด้วย แต่การนำาร้ปแบบสื่อจาก

ประเทศตะวันตกมาใช้ทำาให้เกิดปั ญหา หลายประการ เพราะสภาพทางสังคมและ

เศรษฐกิจที่แตกต่างกัน นั กการศึกษาของ ไทยจึงได้พัฒนาสื่อการศึกษาขึ้นมาเองเพื่อ ให้เหมาะสมกับสภาพทางสังคมและ

เศรษฐกิจ โดย การใช้ทรัพยากรพื้ นบ้าน ใช้ส่ ือราคาเยาว์เช่น ผลงานวัตกรรมพื้ น

บ้านเพื่อการสอนของธน้ บุญรัตพันธ์ุ วิธี

การและวัสดุอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ที่ผ้สอนคิด ประดิษฐ์ข้ ึนเองเช่นวัสดุ

อุปกรณ์การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ของ โช สาลีฉันท์ ซึ่งมีผลิตผลที่ใช้วัสดุเหลือใช้

ต่างๆ ในท้องถิ่น จึงเป็ นแนวโน้มที่ดีใน การเลือกและใช้ส่ ือในการศึกษา

........3) การจัดตั้งหน่วยงานเพื่อรับผิด

ชอบเพื่อส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีการ ศึกษา ได้มก ี ารจัดตั้งสถาบันและหน่วย

งานต่างๆขึ้นเช่น ศ้นย์เทคโนโลยีทางการ ศึกษา ศ้นย์บริภัณฑ์เพื่อการศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ สถาบันส่งเสริมการ สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใน

สถาบันการศึกษาต่างๆก็มีการจัดตั้งศ้นย์ท่ี ทำาหน้าที่ด้านสื่อขึ้นมา เพื่อตอบสนองและ ส่งเสริมประสิทธิภาพในการศึกษาของผ้้ เรียนให้มากขึ้น ........เทคโนโลยีการศึกษาในยุค

สารสนเทศ เป็ นยุคที่คอมพิวเตอร์เข้ามามี บทบาทในการสื่อสารเป็ นอย่างยิ่งคือเริม ่ ตั้งแต่ พ.ศ. 2530 เป็ นต้นมา อิทธิพล ของคอมพิวเตอร์ท่ม ี ีต่อการสื่อสารและ สังคมทำาให้บทบาทของเทคโนโลยีการ ศึกษาต้องปรับเปลี่ยนตามไปด้วย

เทคโนโลยีการศึกษาในยุคนี้ จึงแบ่งได้เป็ น ร้ปแบบคือ

1) เทคโนโลยีด้านสื่อ

2)เทคโนโลยีการสื่อสาร 3)เทคโนโลยีด้านระบบ 4)เทคโนโลยีการสอน

5) นั กเทคโนโลยีการศึกษาของไทย นั กเทคโนโลยีทางการศึกษาของไทย

ตั้งแต่ยุคแรกเริม ่ จนถึงปั จจุบัน ที่สำาคัญ ได้แก่

1 .พ่อขุนรามคำาแหงมหาราช ผ้้ประดิษฐ์ อักษรไทย

2 .พระมหาธรรมราชาลิไทย ผ้้นิพนธ์ "ไต รภ้มิพระร่วง"

3 .พระโหราธิบดี ผ้้แต่ง "จินดามณี " ซึ่ง เป็ นแบบเรียนเล่มแรกของไทย

4 .พระบาทสมเด็จพระนั ่งเกล้าเจ้าอย่้หัว "บิดาสาขาวิทยาศาสตร์ และให้แนวคิด มหาวิทยาลัยเปิ ดของไทย

5 .พุทธทาสภิกขุ ในฐานะที่ได้นำา เทคโนโลยีมาใช้ในการเผยแพร่ธรรม

6 .ศาสตราจารย์สำาเภา วรางก้ล ในฐานะผ้้ ริเริม ่ และบุกเบิก นวัตกรรมและเทคโนโลยี

ทางการศึกษาสมัยใหม่ในไทย

7 .รองศาสตราจารย์ ดร.เปรื่อง กุมุท ผ้้ คิดวิธีสอนแบบเบญจขันธ์

8 .ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ นั กเทคโนโลยีการศึกษา ที่เน้นแนวคิดทาง พฤติกรรมศาสตร์ ผลงานที่สำาคัญได้แก่ ระบบการเรียนการสอน แบบศ้นย์ การ

เรียน ระบบแผนจุฬา แบบ มสธ.. ฯลฯ 9 .อาจารย์ธน้ บุณยรัตพันธ์ นั ก

เทคโนโลยีการศึกษาที่มีผลงานทั้งด้านวัสดุ อุปกรณ์ การสอนโดยเฉพาะในด้านวัสดุ อุปกรณ์ในท้องถิ่น

10 .ศาสตราจารย์ ดร. วีรยุทธ วิเชียรโชติ นั กจิตวิทยาและเทคโนโลยีการศึกษาที่ได้ ประยุกต์หลักธรรมทางพุทธศาสนามาใช้

ประโยชน์ในการเรียนการสอน ผลงานที่ สำาคัญ ได้แก่ ระบบการเรียนการสอน แบบสืบสวนสอบสวน

11 .รองศาสตราจารย์ โช สาลีฉัน นั ก เทคโนโลยีทางการศึกษาที่มีผลงานเด่นใน ด้านการผลิตวัสดุอุปกรณ์การสอน

วิทยาศาสตร์ จากทรัพยากรพื้ นบ้าน

12 .ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสะอ้าน ผ้้ ริเริม ่ ตั้งมหาวิทยาลัยเปิ ดโดยการสอนทาง

ไกลของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช ........มุมมองเทคโนโลยีท่ีสมัยเก่ามอง เป็ นภาพของโสตทัศนศึกษาเปลี่ยนไป

ปรับเป็ น เทคโนโลยีสารสนเทศและการ

สื่อสาร แนวคิดของเทคโนโลยีการศึกษายัง

อย่้แต่เน้นการนำาเอาเทคโนโลยีส่ ือสารและ การสนเทศ (Information and

Communication Technology) มา ใช้เพื่อความทันสมัยและทันกับความ ก้าวหน้าของการสื่อสาร สภาพปั จจุบันของเทคโนโลยีการศึกษาใน ประเทศไทย สิ่งพิมพ์เพื่อการศึกษา

..........ปั จจุบันสิ่งพิมพ์ในเมืองไทยมี การใช้อย่างกว้างขวาง ทั้งประโยชน์ทาง

ด้านการศึกษา เศรษฐกิจ การเมือง และ สังคม สิ่งพิมพ์จึงมีความเกี่ยวข้องกับชีวิต ประจำาวันของประชาชนคนไทยอย่้มาก

ปั จจุบันนี้ มีท้ ังหน่วยงานรัฐบาลลัสำานั ก พิมพ์เอกชนที่ต่างแข่งขันผลิตสิ่งพิมพ์

ออกมาหลายประเภทด้วยกัน

สิ่งพิมพ์ทัว่ ไป (Printed Material) หมายถึงสางที่ใช้ระบบพิมพ์ถ่ายทอด

ข้อความและภาพที่แสดงความร้้วิทยาการ ก้าวหน้า ข้อม้ลข่าวสาร ความคิด ความ เชื่อ ประสบการณ์ และจินตนาการของ

มนุ ษย์ เผยแพร่ออกไปส่้ผ้อ่านอย่างกว้าง ขวางและทัว่ ถึง ในร้ปลักษณ์ต่างๆ เช่น หนั งสือเล่ม หนั งสือพิมพ์ วารสาร

นิ ตยสาร จุลสาร แผ่นพับ แผ่นปลิว สลาก เป็ นต้น ...........สิ่งพิมพ์เพื่อการศึกษา (Educational/Instructional Material) หมายถึงสิ่งพิมพ์ในร้ปลักษณ์ ต่างที่จัดทำาขึ้นเป็ นเครื่องมือในการเรียน

การสอน ทำาหน้าที่ถ่ายทอดความร้้ ความ คิด ความเข้าใจ เจตคติ ค่านิ ยม ความร้้

สึก ประสบการณ์การเรียนร้้ สำาหรับการนำา ไปใช้ในการจัดการเรียนร้้ของผ้้เรียนและผ้้ สอน เช่น หนั งสือ ตำาราเรียน แบบเรียน

แบบฝึ กหัด ใบงาน ค่ม ้ ือการสอน และสื่อ เสริมการเรียนร้้ ซึ่งได้แก่ หนั งสือเสริม

ความร้้ สารานุ กรม พจนานุ กรม หนั งสือ อุเทศ หนั งสือพิมพ์ หนั งสือบันเทิงคดี และสารคดีท่ีมีเนื้ อหาเป็ นประโยชน์ เป็ นต้น เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา ........ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ

ศึกษา" หมายถึง การนำาเอาเทคโนโลยีสาร

สนเทคซึ่งประกอบด้วยเทคโนโลยีทางด้าน คอมพิวเตอร์ และเครือข่ายโทรคมนาคมที่ ต่อเชื่อมกัน สำาหรับส่งและรับข้อม้ลและ มัลติมีเดียเกี่ยวกับความร้้โดยผ่าน

กระบวนการประมวลหรือจัดทกให้อย่้ในร้ป แบบที่มีความหมายและความสะดวก มา

ใช้ประโยชน์สำาหรับการศึกษาในระบบ การ ศึกษานอกระบบ และการศึกษาตาม

อัธยาศัย เพื่อให้คนไทยสามารถเรียนร้้และ พัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่ อง ในรอบ

ทศวรรษที่ผ่านมา ได้มีวิฒนาการทางด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศเกิดขึ้นใน

ประเทศไทยอย่างต่อเนื่ อง ส่วนหนึ่ งนั้ นมา จากกระแสโลกาภิวัฒน์และความเจริญ

ก้าวหน้าทางเทคโนโลยี อีกส่วนเกิดจาก

แรงผลักดันภายในประเทศเอง

ประเทศไทยได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการ ส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ แห่งชาติข้ ึนเมื่อ พ.ศ. 2535 ตาม

ระเบียบสำานั กนายกรัฐมนตรี ต่อมาเมื่อวัน ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2539 คณะรัฐมนตรีได้ มติให้ประกาศใช้ " หรือ IT 2000 โดยมี เสาหลักในการพัฒนา 3 ประการคือ .......1) พัฒนาโครงสร้างพื้ นฐาน ( National Information Infrastructure หรือ NII) .......2) พัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ ( Human Resource Development) และ .......3) พัฒนาระบบสารสนเทศและ

ปรับปรุงบทบาทภาครัฐเพื่อการบริการที่ดี

ขึ้น รวมทั้งสร้างรากฐาน อุตสาหกรรม

สารสนเทศที่แข็งแกร่ง (IT for Good Governance) สำาหรับการพัฒนา

ทรัพยากรมนุ ษย์น้ ั น ได้มก ี ารกไหนดกล ยุทธ์ไว้ 2 ประการ คือ

.......1. เร่งสร้างบุคลากรที่มีทักษะทาง ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทุกระดับเพื่อแก้ ปั ญหาความขาดแขลง แลเพื่อเตรียมรับ ความต้องการของตลาด

.......2. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ น เครื่องมือที่มีประสิทธิภาพเพื่อการศึกษา และการฝึ กอบรมทุกระดับทั้งในสาขา

วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และมนุ ษย์ศาสตร์ สังคมศาสตร์

นโยบายที่เกี่ยวขูองกับเทคโนโลยีการ ศึกษาของประเทศไทย

.......1. รัฐธรรมน้ ญแห่งราชอาณาจักร

ไทย พุทธศักราช 2540 ได้มีบทบัญญัติท่ี เกี่ยวข้องกับการสื่อสารของประชาชน

เสรีภาพในการสื่อสาร ( มาตรา 37 ) เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น สื่อ

ความหมาย และเสนอข่าว ( มาตรา 36 และ 41 ) สิทธิใ์ นการได้รบ ั ข้อม้ลข่าว

ความคิดเห็น สื่อความหมาย และเสนอ

ข่าว ( มาตรา 39 และ 41 ) สิทธิใ์ นการ ได้รบ ั ข้อม้ลข่าวสาร ( มาตรา 58 และ 59 ) การกระจายอำานาจในการพัฒนา

ระบบโครงสร้างพื้ นสารสนเทศ(มาตรา 78 ) และเสรีภาพในการใช้ส่ ือสารมวลชน ( ม

าตรา 37) และ เสรีภาพในการใช้ส่ ือสาร มวลชน ( มาตรา 37,39,41,58,และ

59) ที่สำาคัญคือ บทบัญญัติในมาตรา 40

ซึ่งระบุไว้ว่า คลื่นความถี่ท่ใี ช้ในการส่งวิทยุ กระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และ วิทยุ

โทรคมนาคม เป็ นทรัพยากรสื่อสารของ ชาติเพื่อประโยชน์สาธารณะให้มีองค์กร ของรัฐที่เป็ นอิสระทำาหน้าที่จัดสรรคลื่น

ความถี่ตามวรรณหนี่ งและกำากับด้แลการ ประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุ

โทรทัศน์และกิจกรรมโทรคมนาคมทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

........การดำาเนิ นการตามวรรคสองต้อง

คำานึ งถึงประโยชน์ส้งสุดของประชาชนใน ระดับชาติและระดับท้องถิ่ง ทั้งในด้านการ

ศึกษา วัฒนธรรมความมัน ่ คงของรัฐ และ

ประโยชน์สาธารณะ รวมทั้งการแข่งขันโดย เสรีอย่างเป็ นธรรม"

.........การจัดทำาแผนแม่บทกิจกรรม กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ และการ อนุ ญาตให้ประกอบกิจกรรมดังกล่าว ต้อง คำานึ งถึงสัดส่วนที่เหมาะสมระหว่างผ้้

ประกอบการภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค ประชาชน โดยจะต้องจัดให้ภาครประชาชน ได้ใช้คลื่นความถี่ไม่น้อยกว่าร้อยละยี่สิบ

ในกรณี ท่ีภาคประชาชนยังไม่มีความพร้อม ในกรณี ท่ีภาคประชาชนยังไม่มีความพร้อม ให้ กสช ให้การสนั บสนุ นการใช้คลื่น ความถี่ในสัดส่วนตามที่กำาหนด เพื่อ

ประโยชน์ในการจัดสรรคลื่นความถี่ให้ภาค

ประชาชนได้ใช้ และการสนั บสนุ นการใช้ คลื่นความถี่ให้ ประชาชนใช้และการ สนั บสนุ นการใช้เคลื่นความถี่ของ

ประชาชน ให้ กสช. กำาหนดหลักเกณฑ์ เกี่ยวกับลักษณะของภาคประชาชนที่พงึ ได้ รับการจัดสรรและสนั บสนุ นให้ใช้คลื่น

ความถี่ รวมทั้งลักษณะการใช้คลื่นความถี่

ที่ได้รบ ั จัดสรร โดยอย่างน้อยประชาชนนั้ น ต้องดำาเนิ นิการโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ

ประโยชน์สาธารณะและไม่แสวงหากำาไรใน ทางธุรกิจ

........มาตรา 27 การกำาหนดเกณฑ์และ การพิจารณาออกใบอนุ ญาตให้ใช้คลื่น

ความถี่และใบ อนุ ญาตให้ประกอบกิจการ กระจายเสียงหรือกิจการโทรทัศน์ให้คำานึ ง

ถึงประโยชน์สาธารณะตามที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 25 เป็ นสำาคัญ

........2.พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ง ชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 9 ว่าด้วย

เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มีสาระสำาคัญสรุป ได้ดังนี้

........1) มาตรา 63 รัฐต้องจัดสรรคลื่น

ความถี่ สื่อตัวนำาและโครงสร้างพื้ นฐานอื่น ที่จำาเป็ นต่อการส่งวิทยุการจายเสียง วิทยุ โทรทัศน์ วิทยุโทรคมนาคม และ การ

สื่อสารในร้ปอื่น เพื่อใช้ประโยชน์สำาหรับ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การทะนุ บำารุง

ศาสนา ศิลป และวัฒนธรรมตามความ

จำาเป็ น

........2) มาตรา 64 รัฐต้องส่งเสริมและ สนั บสนุ นให้มก ี ารผลิต และพัฒนาแบบ

เรียนตำาราหนั งสือทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพ์ อื่นๆ วัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยีเพื่อการ ศึกษาอื่น โดยเร่งรัดพัฒนาขีดความ

สามารถในการผลิตจัดให้มีเงินสนั บสนุ น การผลิตและมีการให้แจงจ้งใจแก่ผ้ผลิต

จัดให้มีเงินสนั บสนุ นการผลิตและมีการให้ แรงจ้งใจแก่ผ้ผลิต และพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อการศึกษา ทั้งนี้ โดยเปิ ดให้มีการ แข่งขันโดยเสรีอย่างเป็ นธรรม

........3) มาตรา 65 ให้มก ี ารพัฒนา

บุคลากรทั้งด้านผ้้ผลิต และผ้้ใช้เทคโนโลยี เพื่อการศึกษา เพื่อให้มีความร้้ ความ

สามารถและทักษะในการผลิต รวมทั้งการ ใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม มีคุณภาพ และ ประสิทธิภาพ

.......4) มาตรา 66 ผ้้เรียนมีสิทธิได้รบ ั การพัฒนาขีดความสามารถในการใช้

เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในโอกาสแรกที่ ทำาได้ เพื่อให้มีความร้้และทักษะเพียงพอที่ จะใช้เทคโนโลยเพื่อการศึกษาในการ

แสวงหาความร้้ด้วยตนเองได้อย่างต่อเนื่ อง ตลอดชีวิต

.......5) มาตรา 67 รัฐต้องส่งเสริมให้มี การวิจัยและพัฒนา การผลิตและการ

พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้ง การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล

การใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อ ให้

เกิดการใช้เกิดการใช้ท่ีคุ้มค่าและเหมาะสม กับกระบวนการเรียนร้้ของคนไทย

........6) มาตรา 68 ให้มก ี ารระดมทุน เพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อ การศึกษา จากเงินอุดหนุ นของรัฐ ค่า

สัมปทานและผลกำาไรได้จากการดำาเนิ น กิจการด้านสื่อมวลชน เทคโนโลยี

สารสนเทศ และโทรคมนาคมจากทุกฝ่ าย เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และ

องค์กรประชาชน รวมทั้งให้มีการลดอัตรา ค่าบริการเป็ นพิเศษในการใช้เทคโนโลยีดัง กล่าว เพื่อการพัฒนาคนและสังคมหลัก

เกณฑ์และวิธีการจัดสรรวเงินกองทุนเพื่อ ผลิต การวิจัยและการพัฒนาเทคโนโลยี

เพื่อการศึกษา ให้เป็ นไปตามที่กำาหนดใน

กฎกระทรวง

........7) มาตรา 69 รัฐต้องจัดให้มี หน่วยงานกลางทำาหน้าที่พิจารณาเสนอ

นโยบายแผน ส่งเสริม และประสานการ วิจัย การพัฒนาและการใช้ รวมทั้งการ

ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของการ ผลิตและการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ที่มา http://www.nmc.ac.th/database /file_science/unit1.doc เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ สำาหรับคร้

.........ความร้้ความสามารถของคร้เกี่ยว กับการใช้เทคโนโลยี ในการใช้

คอมพิวเตอร์ของคร้ มีคร้ท่ม ี ีความสามารถ ใช้คอมพิวเตอร์ในระดับพื้ นฐาน คิดเป็ น ร้อยละ 31.26 ใช้ Internet ในระดับ

พื้ นฐานคิดเป็ นร้อยละ 35.09 และการบ้ รณาการเทคโนโลยีกับวิชาหรือกลุ่มสาระ

การเรียนร้้ในระดับพื้ นฐานคิดเป็ นร้อยละ 31.57 ใช้เทคโนโลยีประกอบการจัด

กิจกรรมการเรียนร้ใ้ นระดับพื้ นฐาน คิด เป็ นร้อยละ 37.27 แสดงให้เห็นว่าคร้ยงั มี ความร้้ ความสารถด้านเทคโนโลยีเพียง ใน ระดับพื้ นฐาน ซึ่งส่วนใหญ่ใช้เทคโนโลยีไม่ เป็ น ทั้งนี้ อาจเป็ นเพราะว่าคร้ส่วนใหญ่

มีอายุค่อนข้างมากแล้วและไม่มีความร้้พื้น

ฐานทางด้านเทคโนโลยีมาก่อนจึงทำาให้เกิด การพัฒนาตนเองค่อนข้างช้ามาก โดย

เฉพาะในเรื่องของการตั้งกล่ม ุ เพื่อการช่วย เหลือซึ่งกันและกันเกือบจะไม่ได้ทำาเลย

และคร้ส่วนมากก็ไม่นำาเทคโนโลยีไปบ้รณา การกับกลุ่มสาระการเรียนร้้ รวมทั้งการจัด กิจกรรมการเรียนร้้ต่างๆ ส่วนใหญ่กไ็ ม่นำา

เทคโนโลยีมาใช้ท้ ังนี้ อาจจะเป็ นเพราะว่าคร้ ไม่มีความร้้ด้านเทคโนโลยีตลอดจนไม่

สามารถติดตั้งและบำารุงรักษาเครื่องได้คร้ ใช้เทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาการ จัดกิจกรรมการเรียนร้้ จาก 8 กล่ม ุ สาระ การเรียนร้้

.........คร้จะนำาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ เพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนร้ใ้ น

วิชาคอมพิวเตอร์คิดเป็ นร้อยละ 26.12 ส่วนวิชาที่รองลงมาที่คร้นำาเอาเทคโนโลยี

มาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรม

การเรียนร้้ได้แก่วิชาภาษาไทย คิดเป็ นร้อย ละ 14.61 แสดงให้เห็นว่านั กเรียนมี โอกาสในการศึกษาหาความร้้เกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ได้ในวิชาคอมพิวเตอร์

มากกว่าวิชาอื่น ๆ ส่วนในรายวิชาอื่น ๆ ก็ พอได้เรียนร้้บ้างแต่ไม่มากนั ก ทั้งนี้ อาจจะ

เป็ นเพราะว่าคร้ท่ีสอนวิชาคอมพิวเตอร์น้ ั น คงเป็ นผ้้ท่ีมีความร้้ความสามารถในระดับดี พร้อมที่จะดำาเนิ นการจัดกิจกรรมการเรียน ร้ใ้ ห้กับผ้้เรียนได้

........สภาพการใช้คอมพิวเตอร์ตาม วัตถุประสงค์ท่ก ี ำาหนดให้ของคร้รายการที่

คร้ ใช้มากได้แก่ ใช้พัฒนาทักษะวิชาชีพคร้ เตรียมการสอนและสร้างสื่อการสอน ค้น

สารสนเทศ ทางการศึกษา และค้นคว้า

เรียนร้้ส่ิงใหม่ ๆ รายการที่คร้ไม่ได้ใช้เลย ได้แก่ สอนทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ ใช้

สำาหรับการนำาเสนองาน ใช้ส่ ือสารระหว่าง นั กเรียน คร้และผ้้เกี่ยวข้องและใช้ตรวจ สอบผลงาน/ทำารายงานของนั กเรียน .........แสดงให้เห็นว่าสภาพการใช้

คอมพิวเตอร์ตามวัตถุประสงค์ท่ก ี ำาหนดให้ คร้จะใช้คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาทักษะ

วิชาชีพคร้ มากกว่าการเตรียมการสอนและ สร้างสื่อการสอน แสดงให้เห็นว่าคร้ใช้

คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาตนเอง เช่นจัดทำา ผลงานเพื่อเลื่อนระดับให้กับตนเอง

มากกว่าที่จะค้นคว้าหาความร้้เพื่อเตรียม การสอนรวมทั้งการจัดกิจกรรมการเรียนร้้

ให้กับนั กเรียน ........การใช้ ICT ในการเรียนและบ้รณา การความนำาคอมพิวเตอร์ ถือเป็ นสื่อ

นวัตกรรมใหม่อย่างหนึ่ ง เพิ่งแพร่หลาย ขึ้นมาประมาณ 40 ปี มานี้ เอง

คอมพิวเตอร์เป็ นอุปกรณ์ท่ีใช้ในการจัด เก็บ คำานวณ ประมวลผล แสดงผล หรือ งานอื่นใด ตามคำาสัง่ ที่จัดทำาขึ้น แล้ว

บันทึกเก็บไว้ในหน่วยความจำาของอุปกรณ์ นั้ น ปั จจุบันมีการพัฒนาคอมพิวเตอร์

อย่างรวดเร็วมาก จนเป็ นสื่อสำาคัญยิ่งใน

การนำาเข้าส่้ยุคข้อม้ลข่าวสาร ทุก ๆ วินาที สามารถรับร้้ความเป็ นไปในทุกพื้ นพิภพได้ เกือบพร้อมกัน ทั้งที่อย่ก ้ ันคนละซีกโลก

การรับร้้ข่าวสารที่รวดเร็วนำาประโยชน์ส่้ผใ้ ช้

นำาประโยชน์ส่้ประเทศชาติได้อย่างมหาศาล เช่น สามารถติดต่อค้าขายกันได้ตลอด 24 ชัว่ โมง โดยที่ผ้ซื้อและผ้้ขายไม่ต้องพบ

หน้ากัน ไม่มีข้อจำากัดของเวลา ไม่มีข้อ

จำากัดด้านพรมแดน สามารถใช้ระบบ E Commerce และใช้ในเรื่องการศึกษา การแสวงหาความร้้ การสื่อสาร รวมถึง

กิจการอื่น ๆ มากมาย หากผ้้ใช้สามารถใช้ ประโยชน์เป็ นอย่างคุ้มค่า

..........หลายปี ที่ผ่านมาโรงเรียนที่มี

ความพร้อมเริม ่ นำาคอมพิวเตอร์มาใช้ใน โรงเรียนกันมากขึ้น โดยโรงเรียนดังกล่าว มักจะอย่้ในกรุงเทพฯ และเมืองใหญ่ท่ีมี เศรษฐกิจดี ผ้้ปกครองมีฐานะทาง

เศรษฐกิจมัน ่ คง ช่วงแรกเริม ่ ใช้เพื่อการ

บริหารจัดการก่อน เรียกว่า Computer Assisted Management โปรแกรมนี้

ช่วยจัดการด้านงานธุรการ เงินเดือน ห้อง สมุด งานปกครอง และอื่น ๆ ระยะต่อมา

คอมพิวเตอร์มรี าคาถ้กลง โรงเรียนต่าง ๆ เริม ่ นำามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ซึ่ง เรียกว่าคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

(Computer Assisted Instruction) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า " CAI " หมายถึง การใช้คอมพิวเตอร์เป็ นสื่อเสนอเนื้ อหา กระตุ้นเร้าให้ผ้เรียนเกิดความสนใจ

ต้องการเรียนร้้ บทบาทของ CAI มีมาก ขึ้น ผลที่ได้ผ้เรียนได้เรียนในสิ่งที่ตนเอง

ต้องการ ตรงตามความประสงค์ เป็ นการ

ตอบสนองความเป็ น Child Center ได้ ประการหนึ่ ง

.........ในกระบวนการจัดการเรียนร้้

ปั จจุบันรัฐบาลมีนโยบายให้โรงเรียนต่าง ๆ ใช้ ICT เพื่อพัฒนาการเรียนร้้อย่างกว้าง

ขวาง สภาพการณ์ดังกล่าวทำาให้ผ้ปกครอง เกิดความตื่นตัว ต้องการที่จะให้บุตรหลาน ได้เรียนร้้จากคอมพิวเตอร์มากขึ้น จน กลายเป็ นกระแสของความทันสมัย

โรงเรียนใดไม่สอนวิชาคอมพิวเตอร์ ผ้้ ปกครองจะย้ายเด็กไปเรียนโรงเรียนอื่นที่

สอนคอมพิวเตอร์ เป้ าหมายสำาคัญที่นอก เหนื อไปจากภาระงานปกติของโรงเรียน คือการจัดการศึกษาให้ตอบสนองความ ต้องการของชุมชน ผ้้บริหาร คณะคร้

กรรมการสถานศึกษาการพัฒนาบุคลากร โรงเรียนประถมศึกษา โดยทัว่ ไปคร้จะมี คุณวุฒิตรงสาขาวิชาเอกน้อยและยังไม่

สามารถเลือกคร้ได้ตรงตามความต้องการ ของโรงเรียน จึงส่งผลถึงการจัดการเรียน การสอน หน้าที่ของโรงเรียนต้องดำาเนิ น

การ คือ พัฒนาให้คร้มีศักยภาพ สามารถ ทำางานสนองความต้องการของผ้้เรียน

และสนองตอบพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้

การพัฒนาคร้ เป็ นสิ่งจำาเป็ นโดยอาจ ดำาเนิ นการพัฒนาคร้ได้ ดังนี้

.......1. พัฒนาให้คร้ทก ุ คนมีความร้้พื้น

ฐานในการใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อเป็ นฐานใน

การเรียนร้้ และใช้คอมพิวเตอร์จัดการ เรียนการสอนได้

.......2. กำาหนดมาตรฐานเบื้ องต้นของคร้ ที่จะเข้าทำาหน้าที่คร้คอมพิวเตอร์ ไว้ดังนี้

2.1 ต้องมีวิสัยทัศน์ มีความคิดกว้างไกล ทันเหตุการณ์ของโลก

2.2 พัฒนาตนเองอย่้เสมอ ให้รอบร้้และร้้ รอบ ในเรื่องใหม่ ๆ อย่้เป็ นนิ จ

2.3 ขยัน ทันสมัย ใจรัก สละเวลาคนที่มี ใจรักในสิ่งใด มักจะท่ม ุ เท เสียสละ ขยัน มุ่งมัน ่ ทำาในสิ่งที่ตนรัก งานคอมพิวเตอร์

เป็ นงานที่หนั ก และมีความสำาคัญส้ง ด้วย คร้มภ ี าระหลากหลาย ด้วยเหตุท่ีไม่มีเจ้า

หน้าที่ส่วนอื่น ๆ เป็ นฝ่ ายบริการอำานวย ความสะดวกได้ หลังจากที่โรงเรียนให้

ความร้้ ฝึ ก และพัฒนาคร้ให้มีความร้้พื้น

ฐานทางคอมพิวเตอร์แล้ว ร้ปแบบการใช้ ICT เพื่อพัฒนาการเรียนร้้ความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และการ

แข่งขันการพัฒนาทางด้านซอฟต์แวร์ ใน ปั จจุบัน ส่งผลให้ประเทศต่าง ๆ นำา

คอมพิวเตอร์มาใช้ในด้านการศึกษากันมาก การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน(Computer Assisted Instruction) มีบทบาทและ มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น การใช้คอมพิวเตอร์

ช่วยสอนเป็ นการพัฒนาผ้้เรียนอีกทางหนึ่ ง โดยอาศัยประสบการณ์ ความร้้ ปรับ

ประยุกต์ใช้ภายใต้บริบทของโรงเรียน 1.

จัดการเรียนร้้ "ตลอดเวลา" (Anytime) เวลาใดก็สามารถเรียนร้้ได้ ระยะแรกเริม ่ ให้

นั กเรียนสามารถใช้ Computer สืบค้น หาความร้้จากห้องสมุด ซึ่งมีเครื่อง

คอมพิวเตอร์ให้บริการระบบ Internet

.......3. เรียนร้้จากแหล่งเรียนร้้ "ทุกหน แห่ง" (Anywhere) นั กเรียนสามารถ เรียนร้้ร่วมกันจากสื่อต่างๆ เช่น

คอมพิวเตอร์ วีดิทัศน์ โทรทัศน์ CAI และ อื่นๆ

.......4. การให้ทุกคน (Anyone) ได้ เรียนร้้พัฒนาตนเองอย่างเต็มศักยภาพ

ของตน ตั้งแต่ระดับอนุ บาลเป็ นต้นไปการ ใช้ ICT เพื่อการเรียนร้ก ้ ารเรียนร้้ใน

ปั จจุบันแตกต่างจากเดิมไปอย่างสิ้นเชิง

ซึ่งหมายความว่า ผ้้เรียนมีโอกาส มีอิสระ ในการเรียนร้้ด้วยตนเอง สร้างองค์ความร้้

สร้างทักษะด้วยตนเอง คร้เปลี่ยนบทบาท

จากผ้้สอนมาเป็ น ผ้้ให้คำาแนะนำา นอกจาก นี้ ทั้งคร้และศิษย์สามารถเรียนร้ไ้ ปพร้อม

กันได้ การจัดการเรียนที่โรงเรียนดำาเนิ น การได้ในขณะนี้

1. การสอนโดยใช้ส่ ือ CAI ช่วยสอนให้ เกิดการเรียนร้้ตามความสนใจ เช่น วิชา คณิ ตศาสตร์ วิชาภาษาไทย วิชา

วิทยาศาสตร์ วิชาสังคม หรือ สปช. วิชา ภาษาอังกฤษ

2. ส่งเสริมให้ผ้เรียนร้้จักสืบค้นวิทยาการ ใหม่ ๆ จากอินเทอร์เน็ต จาก E-book จาก E-Library

3. ส่งเสริมการเรียนร้้และสร้างเจตคติท่ีดี ในการเรียนและการค้นคว้าหาความร้้ โดย

กำาหนดให้ผ้เรียนได้เล่นเกมการศึกษา (Education Games ) ที่ผ่านการ

วิเคราะห์ของคร้ผร้ บ ั ผิดชอบว่าไม่เป็ นพิษ ภัยต่อผ้้เล่น และเป็ นการสร้างเสริมความ คิดสร้างสรรค์ท่ีดีให้กับเด็ก

.........5. ใช้แผนการสอนแบบ ICT บ้รณาการเรียนร้ใ้ นสาระวิชาต่างๆ เช่น

คณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และ คอมพิวเตอร์

........6. จัดระบบข้อม้ลสารสนเทศเพื่อ การบริหารจัดการเรียนร้้

........7. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการ จัดระบบและเผยแพร่ความร้้

........8. จัดระบบข้อม้ลสารสนเทศ แหล่งเรียนร้ภ ้ ายในโรงเรียน และ

ภ้มิปัญญาชุมชนท้องถิ่น

........9. พัฒนาเครือข่ายการเรียนร้้ใน การจัดการเรียนร้้ของผ้้สอนที่มา http://www.eschool.su.ac.th/sch ool31/web1.htm บทสรุป .........การนำาเอาเทคโนโลยี เข้ามามีส่วน ร่วมในการจัดการเรียนการสอน เป็ นการ

เพิ่มพ้น ประสิทธิภาพทางการเรียนร้้แก่ผ้ เรียน และในสภาพปั จจุบันการเรียนการ

สอนก็ไม่อาจหลีกเลี่ยงสิ่งนี้ ได้ คร้จะต้อง

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสอนของตนเอง ต้องยอมรับความเปลี่ยนแปลงที่ เกิดขึ้น จึงต้องเรียนร้้เทคโนโลยีต่าง ๆ แล้ว

วิเคราะห์ความเป็ นไปได้ ใช้ให้เกิด

ประสิทธิภาพส้งสุด ให้เหมาะสมกับสภาพ ของโรงเรียน ที่มีความพร้อมในระดับหนึ่ ง

คร้ควรต้องพัฒนาตนเองเพื่อพัฒนาผ้้เรียน ได้อย่างเหมาะสม และยึดผ้้เรียนเป็ น

ศ้นย์กลาง เพื่อนำาพาผ้้เรียนให้สามารถ เรียนร้้ ดำารงตนอย่ไ้ ด้อย่างมีความสุขที่มา http://learners.in.th/blog/sukum an18-2/271769

More Documents from "pum"

June 2020 5
Pummmmm
June 2020 8
June 2020 9
June 2020 8
June 2020 9