เทคโนโลยีพื้นเพื่อการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้สำหรับครู

  • Uploaded by: pum
  • 0
  • 0
  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View เทคโนโลยีพื้นเพื่อการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้สำหรับครู as PDF for free.

More details

  • Words: 7,612
  • Pages: 244
เทคโนโลยีพื้นเพื่อการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ สำาหรับคร้ เทคโนโลยีการศึกษา ........คำาว่า "เทคโนโลยี”(Technology) มาจาก รากศัพท์ "Technic" หรือ "Techno" ซึ่งมีความหมายว่า วิธี การ หรือการจัดแจงอย่างเป็ นระบบ รวมกับ "logy" ซึ่งแปลว่า “ศาสตร์” หรือ “วิทยาการ” ดังนั้ น คำาว่า "เทคโนโลยี" ตามรากศัพท์จึงหมาย ถึง ศาสตร์ว่าด้วยวิธีการหรือศาสตร์ท่ี

ว่าด้วยการจัดการ หรือการจัดแจงสิ่ง ต่าง ๆ เข้าด้วยกันอย่างเป็ นระบบ เพื่อให้เกิดระบบใหม่และเป็ นระบบที่ สามารถนำาไปใช้ตามวัตถุประสงค์หรือ เจตนารมณ์ท่ีต้ ังใจไว้ได้ ซึ่งก็มีความ หมายตรงกับความหมายที่ปรากฏใน พจนานุ กรม คือ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ดังนั้ น เทคโนโลยีการศึกษาจึงเป็ นการ จัดแจงหรือการประยุกต์หลักการทาง วิทยาศาสตร์กายภาพมาใช้ใน กระบวนการของการศึกษา ซึ่งเป็ น พฤติกรรมศาสตร์ โครงสร้างมโนมติ

ของเทคโนโลยีการศึกษาจึงต้อง ประกอบด้วย มโนมติทาง วิทยาศาสตร์กายภาพ มโนมติทาง พฤติกรรมศาสตร์ โดยการประสม ประสานของมโนมติอ่ ืนที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่างเช่น การประยุกต์หลักการ ทางวิทยาศาสตร์กายภาพทาง วิศวกรรมและทางเคมีได้เครื่องพิมพ์ และหมึกพิมพ์ สามารถผลิตหนั งสือ ตำาราต่างๆ ได้ และจากการประยุกต์ หลักพฤติกรรมศาสตร์ทางจิตวิทยา จิตวิทยาการเรียนร้้ ทฤษฎีการเรียนร้้ และหลักความแตกต่างระหว่างบุคคล

ทำาให้ได้เนื้ อหาในลักษณะเป็ น โปรแกรมขั้น ย่อย ๆ จากง่ายไปหา ยาก เมื่อรวมกันระหว่าง วิทยาศาสตร์กายภาพและพฤติกรรม ศาสตร์ในตัวอย่างนี้ ทำาให้เกิดผลิตผล ทางเทคโนโลยีการศึกษาขึ้น คือ "ตำาราเรียนแบบโปรแกรม" .........อีกตัวอย่างหนึ่ งการประยุกต์ วิทยาศาสตร์กายภาพเกี่ยวกับแสง เสียงและอิเล็กทรอนิ กส์บนพื้ นฐาน ทางคณิ ตศาสตร์ ใช้ระบบเลขฐานสอง ทำาให้ได้เครื่องคอมพิวเตอร์ เมื่อ ประสมประสานกับผลการประยุกต์

ทาง พฤติกรรมศาสตร์ท่ีเกี่ยวข้องกับ จิตวิทยาการเรียนร้้ ทฤษฎีการเรียนร้้ หลักความแตกต่างระหว่างบุคคล หลักการวิเคราะห์งาน และทฤษฎีส่ ือ การเรียนการสอนแล้วทำาให้ได้ผลผลิต ทางเทคโนโลยีการศึกษา คือ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction: CAI) .......จากข้อพิจารณาดังกล่าวข้างต้น จะเห็นได้ว่า ความหมายของ เทคโนโลยีการศึกษามีสองลักษณะที่ เน้นหนั กแตกต่างกัน คือ ......1. เทคโนโลยีการศึกษา หมาย

ถึง การประยุกต์หลักการ วิทยาศาสตร์กายภาพและ วิศวกรรมศาสตร์ให้เป็ นวัสดุ เครื่อง มือ และอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ที่สามารถนำา มาใช้ในการเสนอ แสดง และ ถ่ายทอดเนื้ อหาทางการศึกษาได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ความหมายนี้ พัฒนา มาจากความคิดของกลุ่มนั กโสตทัศนศึกษา ......2. เทคโนโลยีการศึกษามีความ หมายโดยตรงตามความหมายของ เทคโนโลยี คือ ศาสตร์แห่งวิธีการ หรือการประยุกต์วิทยาศาสตร์มาใช้ใน

การศึกษา โดยคำาว่า”วิทยาศาสตร์”ใน ที่น้ ี มุ่งเน้นที่วิชาพฤติกรรมศาสตร์ เพราะถือว่าพฤติกรรมศาสตร์เป็ น วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่ งเช่นเดียวกับ วิชาฟิ สิกส์ เคมี ชีววิทยา เป็ นต้น ........เทคโนโลยีการศึกษามีความ สำาคัญและมีความจำาเป็ นที่เด่นชัดใน ปั จจุบันนี้ คือ การนำาเทคโนโลยีและ นวัตกรรมต่าง ๆ มาใช้ในกระบวนการ ศึกษาด้วยเหตุผลสำาคัญดังต่อไปนี้ .......1. ความเจริญอย่างรวดเร็วทาง ด้านวิชาการต่างๆ ของโลก โดย เฉพาะระยะหลังสงครามโลกครั้งที่สอง

เป็ นต้นมา วิทยาการใหม่ ๆ และสิ่ง ประดิษฐ์ต่าง ๆ ได้ถ้กค้นคิดประดิษฐ์ ขึ้นมาใช้ในสังคมมากมายเป็ นทวีค้ณ ซึ่งมีผลโดยตรงต่อการเปลี่ยนแปลง และปรับตัวทางด้านหลักส้ตรการเรียน การสอนของสถานศึกษา และส่งผล เป็ นล้กโซ่ต่อไปถึงปั ญหาการเรียนการ สอน การเลือกโปรแกรมและการ ทำาความเข้าใจกับเนื้ อหาสาระใหม่ๆ ของนั กเรียน ความรุนแรงและความ สลับซับซ้อนของปั ญหาเหล่านี้ มีมาก ขึ้นอย่างต่อเนื่ อง ปริมาณเนื้ อหา วิชาการใหม่ ๆ มีมากมายเกินความ

สามารถของผ้้เกี่ยวข้อง จะเลือก บันทึกจดจำาและนำาเสนอในลักษณะ เดิมได้ จึงมีความจำาเป็ นต้องใช้เครื่อง มือทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ เหมาะสมกับสถานการณ์เข้ามาช่วย เช่น การเสนอข้อม้ลทางวิชาการโดย เทปบันทึกเสียง เทปบันทึกภาพ ไมโครฟอร์ม และแผ่นเลเซอร์ การ แนะแนวการเรียนโดยระบบ คอมพิวเตอร์ เป็ นต้น .......2. การเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็วของสังคม ซึ่งเป็ นผลกระทบ มาจากพัฒนาการทางด้าน

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดังกล่าวมา แล้ว มีผลกระทบโดยตรงต่อการดำารง ชีวิต การปรับตัว และพัฒนาการของ นั กเรียน การแนะแนวส่วนตัวและ สังคมแก่นักเรียน จำาเป็ นต้องใช้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมาะสม กับสถานการณ์น้ ั น ๆ จึงจะสามารถ ให้บริการครอบคลุมถึงปั ญหาต่าง ๆ ได้ ........3. ลักษณะสังคมสารสนเทศ หรือสังคมข้อม้ลข่าวสาร ซึ่งเป็ นผล มาจากพัฒนาการทางด้าน อิเล็กทรอนิ กส์ คอมพิวเตอร์ และ

เทคโนโลยีโทรคมนาคม ทำาให้ข่าวสาร ทุกร้ปแบบ คือ เสียง ภาพนิ่ ง ภาพ เคลื่อนไหว กราฟฟิ ก และข้อม้ล คอมพิวเตอร์สามารถถ่ายทอดและส่ง ถึงกันได้อย่างรวดเร็วทุกมุมโลก สังคมในปั จจุบันและอนาคตจะเป็ น สังคมที่ท่วมท้นด้วยกระแสข้อม้ลและ ข่าวสาร ข้อม้ลและข่าวสารจำานวนมหาศาลจะ อย่้ท่ีความต้องการของผ้้ใช้อย่าง ง่ายดายมาก ความจำาเป็ นที่สถาน ศึกษาจะต้องเป็ นแหล่งให้ข้อม้ล ข่าวสารจะหมดความสำาคัญลง การ

แนะแนวในสถานศึกษาจะต้องเปลี่ยน บทบาทจากการทำาตัวเป็ นแหล่งให้ ข้อม้ลมาเป็ นการแนะแหล่งข้อม้ล แนะนำาการเลือกและการใช้ข้อม้ลใน การแก้ปัญหาและการคิดสร้างสรรค์ ซึ่งบทบาทอย่างนี้ จะทำาให้สำาเร็จได้ ยากหากไม่สามารถใช้เทคโนโลยีและ นวัตกรรมเชื่อมต่อกับระบบ สารสนเทศในปั จจุบัน มีผู้ใหูคำานิ ยามของคำาว่า เทคโนโลยี การศึกษา (Educational Technology) ไวูดังนี้ วิจิตร ศรีสอ้าน (วิจิตร ,2517)ห้

ความหมายว่า เทคโนโลยีการศึกษา เป็ นการประยุกต์เอาเทคนิ ควิธีการ แนวความคิด อุปกรณ์และเครื่องมือ ใหม่ๆ มาใช้เพื่อช่วยแก้ปัญหา ทางการศึกษาทั้งในด้านการขยายงาน และด้านการปรับปรุงคุณภาพของการ เรียนการสอน สำานั กงานคณะกรรมการการศึกษา แห่งชาติ (สำานั กงานคณะกรรมการ การศึกษาแห่งชาติ,2546)ยังได้สรุป เพื่อความเข้าใจที่ชัดเจนว่า "เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา" มีความ หมายครอบคลุมการผลิต การใช้ และ

การพัฒนาสื่อสารมวลชน(อันได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุ โทรทัศน์) เทคโนโลยีสารสนเทศ (คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต มัลติมีเดีย) และโทรคมนาคม (โทรศัพท์ เครือข่ายโทรคมนาคมและ การสื่อสารอื่นๆ) เพื่อให้เกิด กระบวนการเรียนร้้ได้ตามความ ต้องการของผ้้เรียนในทุกเวลาและทุก สถานที่ ทบวงมหาวิทยาลัย (ทบวง มหาวิทยาลัย,2546) นิ ยามว่า "เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา" เป็ น

เครื่องมือในการพัฒนาการศึกษา โดย การนำาสื่อสารมวลชน เทคโนโลยี สารสนเทศ โทรคมนาคม และการจัด แหล่งทรัพยากรการเรียนร้้ มาใช้เพื่อ จัดให้การศึกษาที่สามารถผสมผสาน ระหว่างการศึกษาในระบบการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เอื้ ออำานวยให้ผ้เรียนสามารถศึกษา ค้นคว้าได้ตามความต้องการ เพื่อ ให้การเรียนร้้และการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตเกิดขึ้นได้อย่างต่อเนื่ องตลอด ชีวิตทั้งด้านการศึกษาสาระความร้้ทาง วิชาการ ทางศาสนา และศิลปะ

วัฒนธรรม สื่อเทคโนโลยีทางการ ศึกษาตามความหมายของทบวง มหาวิทยาลัยนั้ น ครอบคลุมสื่อวิทยุ กระจายเสียง สื่อวิทยุโทรทัศน์ สื่อสิ่ง พิมพ์ สื่อโสตทัศน์ เครือข่าย คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตโทรสาร โทรศัพท์ และโทรคมนาคมอื่นรวมทั้ง แหล่งการเรียนร้้ทัว่ ไป โดยมุ่งเน้นที่ จะส่งเสริมให้เกิดการเรียนร้้ และการ พัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ได้เต็มตาม ศักยภาพ ปราศจากข้อจำากัดด้าน โอกาส ถิ่นที่อย่้ ฐานะทางเศรษฐกิจ และสังคม

"เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา" ตามความ หมายของร่างพระราชบัญญัติจัดตั้ง สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแห่ง ชาติ หมายถึง การนำาสื่อตัวนำา คลื่น ความถี่ และโครงสร้างพื้ นฐานอื่นๆ ที่ จำาเป็ นต่อการแพร่เสียง ภาพ และการ สื่อสารในร้ปแบบอื่น ๆ เพื่อใช้ ประโยชน์ท้ ังการศึกษาในระบบการ ศึกษานอกระบบ การศึกษาตาม อัธยาศัย การทำานุ บำารุงศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมเพื่อให้การจัดการศึกษา เป็ นกระบวนการเรียนร้้อย่างต่อเนื่ อง ตลอดชีวิต โดยครอบคลุมสื่อสาร

มวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ โทรคมนาคม สื่อโสตทัศน์ แบบเรียน ตำารา หนั งสือทางวิชาการและแหล่ง การเรียนร้้หรือเทคโนโลยีเพื่อการ ศึกษาอื่นตามที่คณะกรรมการสถาบัน เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแห่งชาติ กำาหนด Carter V. Good(good,1973) กล่าวว่า เทคโนโลยีการศึกษาหมายถึง การนำาหลักการทางวิทยาศาสตร์มา ประยุกต์ใช้เพื่อการออกแบบและส่ง เสริมระบบการเรียนการสอน โดนเน้น ที่วัตถุประสงค์ทางการศึกษาที่สามารถ

วัดได้อย่างถ้กต้องแน่นอน มีการยึด หลักผ้้เรียนเป็ นศ้นย์กลางการเรียน มากกว่ายึดเนื้ อหาวิชามีการใช้การ ศึกษาเชิงปฏิบัติโดยผ่านการวิเคราะห์ และการใช้โสตทัศน้ ปกรณ์รวมถึง เทคนิ คการสอนโดยใช้อุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ สื่อการสอน ต่างๆ ในลักษณะของสื่อประสมและ การศึกษาด้วยตนเอง Gagne' และ Briggs (gagne',1974)ให้ความหมายว่า เทคโนโลยีการศึกษานั้ น พัฒนามา จากการออกแบบการเรียนการสอนใน

ร้ปแบบต่างๆ โดยรวมถึง .......1.ความสนใจในเรื่องความแตก ต่างระหว่างบุคคลในเรื่องของการ เรียนร้้ เช่น บทเรียน แบบโปรแกรม และ บทเรียนการสอนใช้คอมพิวเตอร์ ช่วย เป็ นต้น .......2.ด้านพฤติกรรมศาสตร์และ ทฤษฏีการเรียนร้้ เช่น ทฤษฏีการ เสริมแรงของ B.F. Skinner .......3.เทคโนโลยีด้าน วิทยาศาสตร์กายภาพ เช่น โสต ทัศน้ ปกรณ์ประเภทต่างๆ รวมถึงสื่อ สิ่งพิมพ์ด้วย

Heinich,Molenda และ Russel(H einich,1989) เสนอว่า เทคโนโลยี การศึกษาคือการใช้ความร้้ทาง วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการเรียนร้้ของ มนุ ษย์ให้ปฏิบัติได้ในร้ปแบบของการ เรียนและการสอนอีกนั ยหนึ่ งก็คือ การใช้ความร้้ทางวิทยาศาสตร์ (ทั้ง ด้านยุทธวิธี Tactic และด้านเทคนิ ค) เพื่อแก้ปัญหาทางการสอนซึ่งก็คือ ความพยายามสร้างการสอนให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น โดยการ ออกแบบ ดำาเนิ นการและประเมินผล การเรียนการสอนอย่างเป็ นระบบ บน

พื้ นฐานของการศึกษาวิจัยในการเรียน และการสื่อสาร กิดานั นท์ มลิทอง(2545) ปั จจุบันนี้ สมาคมเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและ การสื่อสารได้ให้ความหมายว่า เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เป็ นทฤษฏี และการปฏิบัติของการออกแบบ การ พัฒนาการใช้ การจัดการ และการ ประเมิน ของกระบวนการและ ทรัพยากรสำาหรับการเรียนร้้ แนวคิดของเทคโนโลยีการศึกษาจึง ประกอบด้วยส่วนสำาคัญ 5 กลุ่ม คือ การออกแบบ(design) การพัฒนา

(Development) การ ใช้(utilization)การจัดการ (management)และการ ประเมิน(evaluation)ซึ่งแต่ละกลุ่ม จะโยงเข้าส่้ศ้นย์กลางของทฤษฏีและ ปฏิบัติดังนั้ นเทคโนโลยีการศึกษาจึง เป็ นผสมผสานกันระหว่างความร้้ดา้ น วิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์เป็ นการ ประยุกต์เอาแนวคิดความคิด เทคนิ ค วิธีการ วัสดุอุปกรณ์ และสิ่งต่างๆ อัน สืบเนื่ องมาจากเทคโนโลยีมาใช้ใน วงการศึกษานั้ นเอง เห็นได้ชด ั เจนว่า "เทคโนโลยีการ

ศึกษา" ครอบคลุมความหมายกว้าง ขวาง ซึ่งในภาษาสากลนั้ น คำาว่า Educational Technology มี ความหมายรวมถึงเทคโนโลยีการสอน (Instructional Technology) เทคโนโลยีการเรียนร้้ (Learning Technology) สื่อการศึกษา (Educational Media) และคำา อื่นๆ ที่มีความหมายอย่างเดียวกันเข้า ไว้ด้วย แต่คำาว่า Educational Technology) และ Instructional Technology ด้จะ ได้รบ ั การยอมรับมากที่สุด โดยมักจะ ถ้กใช้ในความหมายอย่างเดียว

ประวัตแ ิ ละพัฒนาการของเทคโนโลยี การศึกษา ประวัติของเทคโนโลยีการศึกษา .........เทคโนโลยีได้ถก ้ นำามาใช้ ทางการศึกษานั บตั้งแต่สมัยก่อน คริสตกาล มีการกล่าวถึงนั ก เทคโนโลยีทางการศึกษาพวกแรก คือ กลุ่มโซฟิ สต์ (The Elder sophist) ที่ใช้วิธีการสอนการเขียน เช่น การใช้ มือวาด การเขียนสลักลงบนไม้ ส่วน การใช้ชอล์คเขียนบนกระดานดำาได้ เริม ่ ขึ้นในทศวรรษที่ 1800 สำาหรับ การใช้เทคโนโลยีทางสื่อโสต

ทัศน์(audio visual) นั้ น สามารถ นั บย้อนหลังไปได้ถึงต้นทศวรรษที่ 1900 ในขณะที่โรงเรียนและพิพิธ ภัณฑ์หลายๆ แห่งเริม ่ มีการจัดสภาพ ห้องเรียนและการใช้ส่ ือการสอน ประเภทต่างๆ เช่น ใช้ส่ ือการสอน ประเภทต่างๆ เช่น ใช้ส่ ือภาพ ภาพ วาด ภาพระบายสี สไลด์ ฟิ ล์ม วัตถุ และแบบจำาลองต่างๆ และแบบ จำาลองต่างๆ เพื่อเสริมการบอกเล่า ทางคำาพ้ด ต่อ Thomas A. Edison ได้ผลิต เครื่องฉายภาพยนตร์ข้ ึนในปี ค.ศ.

1913 เขาได้เล็งเห็นประโยชน์ของ ภาพยนตร์ในการเรียนการสอนเป็ น อย่างมาก จนถึงขั้นเขียนไว้เป็ นหลัก ฐานว่า "ต่อไปนี้ หนั งสือจะกลายเป็ น สิ่งที่หมดสมัยในโรงเรียน เพราะเรา สามารถใช้ภาพยนตร์ในการสอนความ ร้้ทุกสาขาได้ ระบบโรงเรียนจะต้อง เปลี่ยนแปลงโดยสิ้นเชิงภายในสิบปี ข้างหน้า" แต่ปัจจุบันแม้มีเทคโนโลยี สมัยใหม่ก็ยังไม่สามารถล้มล้าง เทคโนโลยีด้ ังเดิมเช่น การใช้หนั งสือ ในการเรียนการสอนได้ .........ในช่วงทศวรรษที่ 1920 -

1930 เริม ่ มีการใช้เครื่องฉายภาพ แบบข้ามศีรษะ (overhead projector) เครื่องบันทึกเสียง วิทยุ กระจายเสียง และภาพยนตร์ เข้ามา เสริมการเรียนการสอนวิทยุกระจาย เสียงจึงเป็ นสื่อใหม่ท่ีได้รบ ั ความนิ ยม สำาหรับกิจการกระจายเสียงในประเทศ สหรัฐอเมริกานั้ นได้เริม ่ ขึ้นตั้งแต่ราวปี ค.ศ.1921 การเริม ่ ขออนุ ญาต ประกอบกิจการกระจายเสียงในยุค แรก ๆ มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษา และเริม ่ มีการใช้วิทยุกระจายเสียงเพื่อ การสอนทางไกลช่วงทศวรรษที่

1930 แต่ต่อมาระบบธุรกิจเข้า ครอบงำามากขึ้นจนวิทยุเพื่อการศึกษา ในประเทศสหรัฐอเมริกาอย่้ในสภาวะ ที่ตกตำ่าลง ........ในช่วงทศวรรษที่ 1950 วิทยุ โทรทัศน์เกิดเป็ นปรากฏการณ์ใหม่ใน สังคมตะวันตกซึ่งสามารถใช้เป็ นสื่อ เพื่อการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิทยุโทรทัศน์จึงมีบทบาทสำาคัญและ กลายเป็ นเทคโนโลยีแถวหน้าของ สังคมนั บแต่บัดนั้ น นั กวิชาการบาง ท่านถือว่าช่วงระหว่างทศวรรษที่ 1950 ถึง 1960 นี้ เป็ นการ

เปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในแวดวง เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาเนื่ องจากการ ก่อกำาเนิ ดของวิทยุโทรทัศน์ และยังได้ มีการนำาเอาทฤษฎีทางด้านสื่อสาร มวลชนและทฤษฎีระบบเข้ามาใช้ใน วงการเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอีกด้วย ดังนั้ น ในช่วงต้นทศวรรษที่ 1950 จึงมีการใช้คำาว่า "การสื่อสารทางภาพ และเสียง" หรือ "audio-visual communications" แทนคำาว่า "การสอนทางภาพและเสียง" หรือ "audio-visual instruction" ซึ่ง ย่อมเป็ นเครื่องชี้ชัดประการหนึ่ งว่า

เทคโนโลยีการสื่อสารนั้ น คือเครื่องมือ สำาคัญในการถ่ายทอดการเรียนการ สอนนั ่นเอง .........ในทวีปยุโรป วิทยุโทรทัศน์ เพื่อการศึกษาเริม ่ ต้นในช่วงต้น ทศวรรษที่ 1950 โดย British Broadcasting Corporation หรือ BBC ในปี ค.ศ. 1958 ประเทศ อิตาลีก็รเิ ริม ่ บ้างโดยมีการสอนตรง ผ่านสื่อวิทยุโทรทัศน์ผ่าน Telescuola (Television School of the Air) ส่วนประเทศในเครือ คอมมิวนิ สต์ได้มีโอกาสรับชมรายการ

โทรทัศน์เพื่อการศึกษาเป็ นครั้งแรกใน ปี 1960 นำาโดยประเทศย้โกสลาเวีย ตามติดด้วยประเทศโปแลนด์ สำาหรับ ประเทศ โซเวียตนั้ น ได้เริม ่ ออก อากาศรายการทัว่ ไปและรายการ โทรทัศน์เพื่อการศึกษาเมื่อปี 1962 ในปี 1965 ประเทศอื่นๆ ใน ยุโรปตะวันออกก็ได้ทำาการออกอากาศ รายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาโดย ผ่านดาวเทียมกันอย่างแพร่หลาย .........ปี ค.ศ. 1962 ประเทศจีน คอมมิวนิ สต์รเิ ริม ่ ทำาการสอนในวิชา ต่างๆ เช่น เคมี ฟิ สิกส์ในระดับ

มหาวิทยาลัย โดยผ่านสถานี วิทยุ โทรทัศน์เซี่ยงไฮ้ นอกจากนั้ นสถานี วิทยุโทรทัศน์อ่ ืน ๆ เช่น ในปั กกิ่ง เทียนสิน และกวางตุ้ง ต่างก็เผยแพร่ รายการมหาวิทยาลัยทางโทรทัศน์ (Television Universities) เพื่อ เป็ นแรงขับเคลื่อนในระดับชาติเพื่อ การศึกษาสำาหรับประชาชน อย่างไร ก็ตามประเทศญี่ปุ่นได้รบ ั การยกย่อง ว่าเป็ นประเทศแรกในโลกทีมีการบ้ รณาการการใช้วิทยุโทรทัศน์เข้ากับ โครงสร้างของการศึกษานั บตั้งแต่ ระดับอนุ บาลไปจนถึงมหาวิทยาลัย

และยังรวมถึงการให้การศึกษาผ้้ใหญ่ ในสาขาวิชาต่างๆ อย่างกว้างขวาง ด้วย ก่อนสิ้นปี 1965 ประเทศญี่ปุ่น มีสถานี วิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา ออกอากาศทัว่ ประเทศเป็ นจำานวนถึง 64 สถานี .........ประเทศในอเมริกาใต้ เริม ่ ดำาเนิ นการวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา นั บตั้งแต่ปลายทศวรรษที่ 1950 นำา โดยประเทศโคลอมเบีย ซึ่งทำาการออก อากาศวิชาต่างๆ ในระดับประถม ศึกษาอย่างเต็มร้ปแบบระหว่างชัว่ โมง เรียนปกติโดยผ่านสถานี วิทยุโทรทัศน์

แห่งชาติ ต่อมาประเทศโคลอมเบียได้ รับความช่วยเหลือจากโครงการอาสา สมัครเพื่อสันติภาพจากประเทศ สหรัฐอเมริกา จึงเป็ นผลให้ประเทศ โคลอมเบียกลายเป็ นแบบอย่างของ วิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษาในเวลาต่อ มา ........แม้ว่าการเติบโตของวิทยุ โทรทัศน์เพื่อการศึกษาจะเกิดขึ้นทัว่ โลกก็ตาม การพัฒนาที่เด่นชัดที่สุด เห็นจะได้แก่ประเทศสหรัฐอเมริกา การทดลองครั้งแรกในประเทศ สหรัฐอเมริกาเกิดขึ้นที่ lowa

University ในช่วงระหว่างปี 1932-1939 โดยมีการผลิตรายการ ในวิชาต่างๆ เช่น วิศวกรรมศาสตร์ พฤกษศาสตร์ ศิลปะ การละคร และ ชวเลข เป็ นต้น มหาวิทยาลัยใน ประเทศสหรัฐอเมริกา 5 แห่งที่ถ้กจัด ว่าเป็ นผ้้บุกเบิกในวงการวิทยุโทรทัศน์ เพื่อการศึกษาของประเทศ ได้แก่ lowa University ที่ lowa City, lowa State University ที่ Ames, Kansas State University, University of Michigan และ American University การเติบโตของวิทยุ

โทรทัศน์เพื่อการศึกษาในประเทศ สหรัฐอเมริกาในช่วง ค.ศ. 19531967 นั บว่าส้งมาก เพราะมีสถานี วิทยุโทรทัศน์ เพื่อการศึกษาทัว่ ประเทศเป็ นจำานวนถึง 140 สถานี เมื่อเปรียบเทียบกับจำานวนประชากร 140 ล้านคนในขณะนั้ น มีการคาด คะเนว่า ในช่วงเวลาดังกล่าว รายการ โทรทัศน์เพื่อการศึกษาสามารถเข้าถึง โรงเรียนได้ไม่ต่าำ กว่า 2,000 โรง และเข้าถึงนั กเรียนระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา ได้ไม่ต่ำา กว่า 15 ล้านคนทีเดียว

.........เทคโนโลยีการศึกษาและการ สื่อสารได้มีการเปลี่ยนแปลงและ พัฒนาขึ้นอย่างมากในช่วงปลาย ทศวรรษที่ 1960 เมื่อโลกได้หน ั เข้า มาส่้ยุคของคอมพิวเตอร์ ในด้านการ ศึกษานั้ น ได้มก ี ารใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์ในโรงเรียนเป็ นครั้งแรก ในปี 1977 ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อบริษัท APPLE ได้ประดิษฐ์เครื่อง APPLE II ขึ้น โดยการใช้ในระยะ แรกนั้ นมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการ บริหารจัดการ ต่อมาได้มก ี ารพัฒนา โปรแกรมต่างๆ เพื่อให้ใช้ได้ง่ายและ

สามารถช่วยในการเรียนการสอนได้ มากขึ้น คอมพิวเตอร์จึงเป็ นสิ่งที่คร้ และนั กเรียนคุ้นเคย และมีการใช้กัน อย่างแพร่หลายจนทุกวันนี้ ..........ยุคของมัลติมีเดียเพื่อการ ศึกษาได้เริม ่ ขึ้นในปี 1987 เมื่อ บริษัท APPLE ได้เผยแพร่โปรแกรม มัลติมีเดียครั้งแรกออกมา คือ โปรแกรม HyperCard แม้ว่า โปรแกรมนี้ จะต้องใช้เครื่องที่มีกำาลัง ส้ง ต้องใช้เวลาในการฝึ กหัดมาก แต่ ผลงที่ได้รบ ั ก็น่าประทับใจ การพัฒนา มัลติมีเดียเพื่อการศึกษาได้มีการ

ดำาเนิ นไปอย่างต่อเนื่ อง มีการพัฒนา โปรแกรม Hyper Studio มาใช้ และได้รบ ั ความนิ ยมมากขึ้นในหลายๆ โรงเรียน อย่างไรก็ตาม เพียงภายใน สองปี มัลติมีเดียเพื่อการศึกษาก็ถ้ก แทนที่โดยสิ่งที่น่าตื่นเต้นมากกว่า นั ่น ก็คือ อินเทอร์เน็ต (Internet) นั ่นเอง .........ปั จจุบันนี้ อินเทอร์เน็ตมี อัตราการเติบโตอย่างรวดเร็ว The Department of Commerce's Census Bureau ของประเทศ สหรัฐอเมริกา ได้ทำาการสำารวจใน

เดือนกันยายน พ.ศ. 2544 พบว่าใน ช่วงไม่ก่ีปีที่ผ่านมา จำานวนคน อเมริกันที่ใช้อินเทอร์เน็ตมีจำานวน เพิ่มขึ้นถึงเดือนละสองล้านคน ซึ่ง ทำาให้ตัวเลขประชากรที่ออนไลน์มี จำานวนกว่าครึง่ หนึ่ งของประเทศ สหรัฐอเมริกาผลการสำารวจรายงานว่า ปั จจุบันนี้ คนอเมริกันที่ใช้ คอมพิวเตอร์มีจำานวนถึง 174 ล้าน คน (หรือร้อยละ 66 ของจำานวน ประชากรทั้งประเทศ) และมีชาว อเมริกันใช้อินเทอร์เน็ตทั้งสิ้น ประมาณ 143 ล้านคน (ราว ๆ ร้อย

ละ 54 ของประชากร) ส่วนใน ประเทศไทยนั้ นบริษัท ACNielsen ซึ่งเป็ นบริษัทวิจัยการตลาดระดับ นานาชาติ ได้ทำาการสำารวจผ้้ใช้ อินเทอร์เน็ตในเขตเมืองใหญ่ในแต่ละ ภาคของประเทศไทยเมื่อเดือน พฤษภาคม 2544 และพบว่า ครอบครัวในเมืองใหญ่ท่ีมี คอมพิวเตอร์เป็ นของตนเองมีเพียง ร้อยละ 24 เท่านั้ น ส่วนจำานวนผ้้ใช้ อินเทอร์เน็ตทั้งประเทศมีจำานวน ประมาณ 10 ล้านคน (ราวๆ ร้อยละ 16.6 ของประชากร) ในจำานวนนี้

ส่วนใหญ่เป็ นผ้้ใช้ในเขต กรุงเทพมหานคร นอกจากนั้ นศ้นย์ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิ กส์และ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ก็ได้ทำาการสำารวจผ้้ใช้อินเทอร์เน็ตใน ประเทศไทยในช่วงเดือนกันยายน ตุลาคม 2544 เช่นกัน พบว่าผ้้ใช้ อินเทอร์เน็ตร้อยละ 52 อย่้ใน กรุงเทพมหานคร เป็ นเพศชายร้อยละ 48.8 และเพศหญิงร้อยละ 51.2 ใน จำานวนผ้้ท่ีใช้อินเทอร์เน็ตนี้ ส่วนใหญ่ เป็ นผ้้ทีมีอายุระหว่าง 20-29 ปี (ร้อ ยละ 49.1) และเป็ นผ้้มีการศึกษา

ระดับปริญญาตรี (ร้อยละ 60.3) อย่างไรก็ตาม การวิจัยทั้งสองให้ผลที่ ตรงกันว่า คนไทยส่วนใหญ่ใช้ อินเทอร์เน็ตเพื่อส่ง e-mail ค้นหา ข้อม้ล ติดตามข่าวสาร และสนทนา (chat) .........นอกจากนั้ นยังมีการสรุปด้วย ว่าการใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย แพร่หลายมากขึ้น เพราะค่าใช้จ่ายถ้ก ลง และมีอินเทอร์เน็ตคาเฟมากขึ้น การพัฒนาอันน่ามหัศจรรย์ใจของของ อินเทอร์เน็ตในฐานะที่เป็ นเครือข่าย แห่งเครือข่ายทำาให้มีการเชื่อมโยงกัน

ได้อย่างเสรีไม่มีการปิ ดกั้น ดังนั้ นคน ทุกคนจึงสามารถเผยแพร่ข้อม้ลของ ตนบนอินเทอร์เน็ตได้อย่างง่ายดาย พอ ๆ กับการที่สามารถสืบค้นข้อม้ล ได้จากแหล่งความร้้ต่างๆ ทัว่ โลก และจากคุณสมบัติดังกล่าวนี้ อันเทอร์ เน็ตจึงมีประโยชน์อย่างยิ่งในการ ศึกษาร้ปแบบต่างๆ เพราะนั กเรียน และคร้สามารถสื่อสารถึงกันได้โดย ผ่านระบบอิเล็กทรอนิ กส์ เช่น อีเมล์ การแลกเปลี่ยนความร้้ผ่านระบบ bulletin board และ biscussion groups ต่างๆ ตลงอดจนการใช้

เทคโนโลยีท่ีทันสมัยยิ่งขึ้นในการ โทรศัพท์หรือประชุมทางไกลผ่าน อินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตจึงเพิ่ม บทบาทสำาคัญในการศึกษาร้ปแบบ ใหม่และยังช่วยเปลี่ยนบทบาทของคร้ จาก "ผ้้สอน" มาเป็ น "ผ้้แนะนำา" พร้อมทั้งช่วยสนั บสนุ นให้เด็กสามารถ เรียนและค้นคว้าด้วยตนเองอีกด้วย พัฒนาการเทคโนโลยีการศึกษาใน ประเทศไทย เทคโนโลยีการศึกษาของไทยมีการ พัฒนาการมา 3 ยุค คือ ........1. ยุคแรกสมัยกรุงสุโขทัย

จนถึงสมัยกรุงธนบุร ี ยุคนี้ เป็ นยุคเริม ่ ต้นของการพัฒนาเทคโนโลยีทางการ ศึกษาของไทย ในสมัยสุโขทัย พ่อขุน รามคำาแหงมหาราชทรง ประดิษฐ์ อักษรไทย เพราะตัวอักษรเป็ นพื้ นฐาน ที่สำาคัญในการเผยแพร่วิทยาการต่างๆ ให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้น และทำาให้คนไทย เกิดความร้้สึกหวงแหนชาติไทย นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงเอาใจใส่ต่อ การศึกษาของประชาชนด้วย ดังเช่น การสัง่ สอนประชาชน ณ พระแทน มนั งคศิลา ทั้งด้วยพระองค์เองและ ทรงนิ มนต์พระภิกษุมาสัง่ สอน เล่า

เรื่อง การเทศนา การเขียนเป็ น หนั งสือ ฯลฯ ยุคนี้ มีเทคโนโลยีการ ศึกษาผ่านสื่อวรรณกรรมที่สำาคัญ 2 เรื่อง คือ ภาษิตพระร่วง และไตรภ้มิ พระร่วง ในสมัยกรุงศรีอยุธยา เทคโนโลยีการศึกษาได้ก้าวหน้าไป มาก ทั้งด้านวิชาการทั้งในประเทศ และวิทยาการจากประเทศตะวันตก หนั งสือเรียนเล่มแรกของไทยชื่อ จินดามณี ก็เกิดขึ้นในยุคนี้ นอกจากนี้ ก็มี วรรณกรรมต่างๆเกิดขึ้นมากมาย ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระองค์ทรงดำาเนิ นนโยบายต่างประ

ทศระบบเปิ ด ต้อนรับชาวต่างประเทศ การค้าและการศาสนา ส่วนหนึ่ งของ ชาวยุโรปเหล่านี้ ได้แก่ คณะมิชชัน ่ นารี ได้นำาวิทยาการใหม่ ๆ หลาย ประการจากยุโรปมาเผยแพร่ใน ประเทศด้วย เช่น การพิมพ์ การจัด ตั้งโรงเรียน แต่วิทยาการเหล่านี้ ไม่ได้ นำามาใช้อย่างจริงจัง ก็เลิกล้มไป เพราะพระมหากษัตริย์สมัยหลัง สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ไม่ ต้องการให้ชาวยุโรปเข้ามาดำาเนิ นการ กิจการต่างๆ ในประเทศไทย ในสมัย กรุงธนบุร ี เทคโนโลยีการศึกษามีไม่

มากนั ก ทั้งนี้ เพราะประเทศได้รบ ั ความเสียหายมาก จากการเสียกรุง ศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2310 พระเจ้ากรุงธนบุรใี ช้เวลาส่วนใหญ่ใน การรวบรวมคนไทย และบ้รณะ ประเทศให้เป็ นปึ กแผ่นอีกครั้งหนึ่ ง อีกทั้งสมัยนี้ มีระยะเวลาสั้นเพียง 15 ปี เทคโนโลยีการศึกษาในสมัยนี้ จึงมี เพียงวรรณกรรมเท่านั้ น ........2. เทคโนโลยีการศึกษายุค ปรับเปลี่ยน ในยุคนี้ นั บตั้งแต่สมัย พระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกครั้งที่ 2 จนถึงปั จจุบัน เมื่อสิ้นสุดสงครามโลก

ครั้งที่ 2 สหรัฐอเมริกา ได้เข้ามามี อิทธิพลในประเทศไทยมากขึ้น แทน อังกฤษและฝรัง่ เศษ สหรัฐอเมริกาได้ นำาเทคโนโลยีการศึกษาสมัยใหม่หลาย อย่างมาเผยแพร่ในประเทศไทย เริม ่ ต้นด้วยภาพยนตร์ ที่สำานั กข่าวสาร อเมริกัน ได้นำามาฉาย หลายเรื่องมา สามารถนำามาใช้ในการศึกษาได้ ทำาให้ คนไทยเห็นคุณค่าของภาพยนตร์เพื่อ นำามาใช้ในการศึกษา กองการศึกษา ผ้้ใหญ่ กระทรวงศึกษาธิการเริม ่ นำา ภาพยนตร์มาใช้ในการให้การศึกษา ใน ยุคนี้ เองได้มีการบัญญัติศัพท์ " โสต

ทัศนศึกษา" ขึ้นโดยมาจากคำาภาษา อังกฤษว่า Audio Visual .........โสตทัศนศึกษาในยุคนี้ พัฒนา อย่างมีระบบแบบแผน อีกทั้งได้มก ี าร เปิ ดสอนในระดับอุดมศึกษา ทั้งขั้น ปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา ทำาให้ ก้าวหน้ากว่าทุกยุคที่ผ่านมาโดยเฉพาะ สหรัฐมเมริกาเข้ามามีอิทธิพลอย่าง มากในการจัดการศึกษาของไทย ทั้งนี้ เพราะมีนักการศึกษาและผ้้บริหารการ ศึกษาคนไทยได้มีโอกาสไปศึกษาใน สหรัฐอเมริกา เริม ่ ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 เทคโนโลยีการศึกษาในยุคนี้ แบ่ง

ออกได้เป็ นร้ปแบบต่างๆดังนี้ ........1) เทคโนโลยีการสอน ได้มี การคิดค้นวิธีการเรียนการสอนใหม่ ๆ ขึ้นมาหลายอย่าง ทั้งจากการประยุกต์ จากวิทยาการของต่างประเทศและจาก การสร้างขึ้นมาเอง เช่น ระบบการ เรียนการสอนแบบศ้นย์การเรียน ระบบการสอนแบบเบญจขันธ์ ระบบ การสอนแบบจุลภาค ระบบการการ สอนแบบสืบสวนสอบสวน ฯลฯ ซึ่ง ระบบการเรียนการสอนที่ได้รบ ั การ พัฒนาขึ้นนี้ ล้วนเอาแนวคิดจากตะวัน ตกมาทั้งสิ้น

.......2) เทคโนโลยีด้านสื่อ สื่อการ ศึกษาในยุคนี้ ส่วนใหญ่พัฒนามาจาก ผลิตผลทางด้านวิทยาศาสตร์ และ วิศวกรรมศาสตร์ เช่น เครื่องฉาย ภาพยนต์ เครื่องฉายสไลด์ เครื่องฉาย ภาพโปร่งใส นอกจากนี้ ยังได้มีการนำา วิทยุและวิทยุโทรทัศน์มาใช้เพื่อการ ศึกษาด้วย แต่การนำาร้ปแบบสื่อจาก ประเทศตะวันตกมาใช้ทำาให้เกิดปั ญหา หลายประการ เพราะสภาพทางสังคม และเศรษฐกิจที่แตกต่างกัน นั กการ ศึกษาของไทยจึงได้พัฒนาสื่อการ ศึกษาขึ้นมาเองเพื่อให้เหมาะสมกับ

สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ โดย การใช้ทรัพยากรพื้ นบ้าน ใช้ส่ ือราคา เยาว์เช่น ผลงานวัตกรรมพื้ นบ้านเพื่อ การสอนของธน้ บุญรัตพันธ์ุ วิธีการ และวัสดุอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ที่ผ้สอนคิด ประดิษฐ์ข้ ึนเองเช่นวัสดุ อุปกรณ์การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ของ โช สาลีฉันท์ ซึ่งมีผลิตผลที่ใช้ วัสดุเหลือใช้ต่างๆ ในท้องถิ่น จึงเป็ น แนวโน้มที่ดีในการเลือกและใช้ส่ ือใน การศึกษา ........3) การจัดตั้งหน่วยงานเพื่อรับ ผิดชอบเพื่อส่งเสริมและพัฒนา

เทคโนโลยีการศึกษา ได้มีการจัดตั้ง สถาบันและหน่วยงานต่างๆขึ้นเช่น ศ้นย์เทคโนโลยีทางการศึกษา ศ้นย์ บริภัณฑ์เพื่อการศึกษา กระทรวง ศึกษาธิการ สถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใน สถาบันการศึกษาต่างๆก็มีการจัดตั้ง ศ้นย์ท่ีทำาหน้าที่ด้านสื่อขึ้นมา เพื่อ ตอบสนองและส่งเสริมประสิทธิภาพ ในการศึกษาของผ้้เรียนให้มากขึ้น ........เทคโนโลยีการศึกษาในยุค สารสนเทศ เป็ นยุคที่คอมพิวเตอร์เข้า มามีบทบาทในการสื่อสารเป็ นอย่างยิ่ง

คือเริม ่ ตั้งแต่ พ.ศ. 2530 เป็ นต้นมา อิทธิพลของคอมพิวเตอร์ท่ีมีต่อการ สื่อสารและสังคมทำาให้บทบาทของ เทคโนโลยีการศึกษาต้องปรับเปลี่ยน ตามไปด้วย เทคโนโลยีการศึกษาใน ยุคนี้ จึงแบ่งได้เป็ น ร้ปแบบคือ 1) เทคโนโลยีด้านสื่อ 2)เทคโนโลยีการสื่อสาร 3)เทคโนโลยีด้านระบบ 4)เทคโนโลยีการสอน 5) นั กเทคโนโลยีการศึกษาของไทย นั กเทคโนโลยีทางการศึกษาของไทย ตั้งแต่ยุคแรกเริม ่ จนถึงปั จจุบัน ที่

สำาคัญได้แก่ 1 .พ่อขุนรามคำาแหงมหาราช ผ้้ ประดิษฐ์อักษรไทย 2 .พระมหาธรรมราชาลิไทย ผ้น ้ ิ พนธ์ "ไตรภ้มิพระร่วง" 3 .พระโหราธิบดี ผ้แ ้ ต่ง "จินดามณี " ซึ่งเป็ นแบบเรียนเล่มแรกของไทย 4 .พระบาทสมเด็จพระนั ่งเกล้าเจ้าอย่้ หัว "บิดาสาขาวิทยาศาสตร์ และให้ แนวคิดมหาวิทยาลัยเปิ ดของไทย 5 .พุทธทาสภิกขุ ในฐานะที่ได้นำา เทคโนโลยีมาใช้ในการเผยแพร่ธรรม 6 .ศาสตราจารย์สำาเภา วรางก้ล ใน

ฐานะผ้้รเิ ริม ่ และบุกเบิก นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษาสมัยใหม่ ในไทย 7 .รองศาสตราจารย์ ดร.เปรื่อง กุมุท ผ้้คด ิ วิธีสอนแบบเบญจขันธ์ 8 .ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหม วงศ์ นั กเทคโนโลยีการศึกษา ที่เน้น แนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร์ ผลงาน ที่สำาคัญได้แก่ ระบบการเรียนการสอน แบบศ้นย์ การเรียน ระบบแผนจุฬา แบบ มสธ.. ฯลฯ 9 .อาจารย์ธน้ บุณยรัตพันธ์ นั ก เทคโนโลยีการศึกษาที่มีผลงานทั้งด้าน

วัสดุอุปกรณ์ การสอนโดยเฉพาะใน ด้านวัสดุอุปกรณ์ในท้องถิ่น 10 .ศาสตราจารย์ ดร. วีรยุทธ วิเชียรโชติ นั กจิตวิทยาและเทคโนโลยี การศึกษาที่ได้ประยุกต์หลักธรรมทาง พุทธศาสนามาใช้ประโยชน์ในการ เรียนการสอน ผลงานที่สำาคัญ ได้แก่ ระบบการเรียนการสอน แบบสืบสวน สอบสวน 11 .รองศาสตราจารย์ โช สาลีฉัน นั ก เทคโนโลยีทางการศึกษาที่มีผลงาน เด่นในด้านการผลิตวัสดุอุปกรณ์การ สอนวิทยาศาสตร์ จากทรัพยากรพื้ น

บ้าน 12 .ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรี สะอ้าน ผ้้รเิ ริม ่ ตั้งมหาวิทยาลัยเปิ ด โดยการสอนทางไกลของมหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมมาธิราช ........มุมมองเทคโนโลยีท่ีสมัยเก่า มองเป็ นภาพของโสตทัศนศึกษา เปลี่ยนไป ปรับเป็ น เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร แนวคิด ของเทคโนโลยีการศึกษายังอย่้แต่เน้น การนำาเอาเทคโนโลยีส่ ือสารและการ สนเทศ (Information and Communication Technology)

มาใช้เพื่อความทันสมัยและทันกับ ความก้าวหน้าของการสื่อสาร สภาพปั จจุบันของเทคโนโลยีการ ศึกษาในประเทศไทย สิ่งพิมพ์เพื่อการ ศึกษา ..........ปั จจุบันสิ่งพิมพ์ในเมืองไทย มีการใช้อย่างกว้างขวาง ทั้งประโยชน์ ทางด้านการศึกษา เศรษฐกิจ การเมือง และสังคม สิ่งพิมพ์จึงมี ความเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำาวันของ ประชาชนคนไทยอย่้มาก ปั จจุบันนี้ มี ทั้งหน่วยงานรัฐบาลลัสำานั กพิมพ์ เอกชนที่ต่างแข่งขันผลิตสิ่งพิมพ์ออก

มาหลายประเภทด้วยกัน สิ่งพิมพ์ทัว่ ไป (Printed Material) หมายถึงสางที่ใช้ระบบพิมพ์ถ่ายทอด ข้อความและภาพที่แสดงความร้้ วิทยาการก้าวหน้า ข้อม้ลข่าวสาร ความคิด ความเชื่อ ประสบการณ์ และจินตนาการของมนุ ษย์ เผยแพร่ ออกไปส่้ผ้อ่านอย่างกว้างขวางและทัว่ ถึง ในร้ปลักษณ์ต่างๆ เช่น หนั งสือ เล่ม หนั งสือพิมพ์ วารสาร นิ ตยสาร จุลสาร แผ่นพับ แผ่นปลิว สลาก เป็ นต้น ...........สิ่งพิมพ์เพื่อการศึกษา

(Educational/Instructional Material) หมายถึงสิ่งพิมพ์ในร้ป ลักษณ์ตา่ งที่จัดทำาขึ้นเป็ นเครื่องมือใน การเรียนการสอน ทำาหน้าที่ถ่ายทอด ความร้้ ความคิด ความเข้าใจ เจตคติ ค่านิ ยม ความร้้ สึก ประสบการณ์การ เรียนร้้ สำาหรับการนำาไปใช้ในการ จัดการเรียนร้้ของผ้้เรียนและผ้้สอน เช่น หนั งสือ ตำาราเรียน แบบเรียน แบบฝึ กหัด ใบงาน ค่้มือการสอน และสื่อเสริมการเรียนร้้ ซึ่งได้แก่ หนั งสือเสริมความร้้ สารานุ กรม พจนานุ กรม หนั งสืออุเทศ หนั งสือพิมพ์ หนั งสือบันเทิงคดี และ

สารคดีท่ีมีเนื้ อหาเป็ นประโยชน์ เป็ นต้น เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา ........ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ ศึกษา" หมายถึง การนำาเอา เทคโนโลยีสารสนเทคซึ่งประกอบด้วย เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ และ เครือข่ายโทรคมนาคมที่ต่อเชื่อมกัน สำาหรับส่งและรับข้อม้ลและมัลติมีเดีย เกี่ยวกับความร้้โดยผ่านกระบวนการ ประมวลหรือจัดทกให้อย่้ในร้ปแบบที่ มีความหมายและความสะดวก มาใช้ ประโยชน์สำาหรับการศึกษาในระบบ

การศึกษานอกระบบ และการศึกษา ตามอัธยาศัย เพื่อให้คนไทยสามารถ เรียนร้้และพัฒนาตนเองได้อย่างต่อ เนื่ อง ในรอบทศวรรษที่ผ่านมา ได้มี วิฒนาการทางด้านเทคโนโลยี สารสนเทศเกิดขึ้นในประเทศไทย อย่างต่อเนื่ อง ส่วนหนึ่ งนั้ นมาจาก กระแสโลกาภิวัฒน์และความเจริญ ก้าวหน้าทางเทคโนโลยี อีกส่วนเกิด จากแรงผลักดันภายในประเทศเอง ประเทศไทยได้มีการจัดตั้งคณะ กรรมการส่งเสริมการพัฒนา เทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติข้ น ึ เมื่อ

พ.ศ. 2535 ตามระเบียบสำานั กนายก รัฐมนตรี ต่อมาเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2539 คณะรัฐมนตรีได้ มติให้ประกาศใช้ " หรือ IT 2000 โดยมีเสาหลักในการพัฒนา 3 ประการคือ .......1) พัฒนาโครงสร้างพื้ นฐาน ( National Information Infrastructure หรือ NII) .......2) พัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ ( Human Resource Development) และ .......3) พัฒนาระบบสารสนเทศและ ปรับปรุงบทบาทภาครัฐเพื่อการบริการ

ที่ดีข้ ึน รวมทั้งสร้างรากฐาน อุตสาหกรรมสารสนเทศที่แข็งแกร่ง (IT for Good Governance) สำาหรับการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์น้ ั น ได้มก ี ารกไหนดกลยุทธ์ไว้ 2 ประการ คือ .......1. เร่งสร้างบุคลากรที่มีทักษะ ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทุก ระดับเพื่อแก้ปัญหาความขาดแขลง แลเพื่อเตรียมรับความต้องการของ ตลาด .......2. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็ นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพเพื่อ การศึกษาและการฝึ กอบรมทุกระดับ

ทั้งในสาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และมนุ ษย์ศาสตร์ สังคมศาสตร์ นโยบายที่เกี่ยวขูองกับเทคโนโลยีการ ศึกษาของประเทศไทย .......1. รัฐธรรมน้ ญแห่งราช อาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ได้ มีบทบัญญัติท่ีเกี่ยวข้องกับการสื่อสาร ของประชาชนเสรีภาพในการสื่อสาร ( มาตรา 37 ) เสรีภาพในการแสดง ความคิดเห็น สื่อความหมาย และ เสนอข่าว ( มาตรา 36 และ 41 )

สิทธิใ์ นการได้รบ ั ข้อม้ลข่าว ความคิด เห็น สื่อความหมาย และเสนอข่าว (

มาตรา 39 และ 41 ) สิทธิใ์ นการได้ รับข้อม้ลข่าวสาร ( มาตรา 58 และ 59 ) การกระจายอำานาจในการพัฒนา ระบบโครงสร้างพื้ นสารสนเทศ(มาตรา 78 ) และเสรีภาพในการใช้ส่ ือสาร มวลชน ( มาตรา 37) และ เสรีภาพ ในการใช้ส่ ือสารมวลชน ( มาตร า 37,39,41,58,และ 59) ที่สำาคัญ คือ บทบัญญัติในมาตรา 40 ซึ่งระบุ ไว้ว่า คลื่นความถี่ท่ีใช้ในการส่งวิทยุ กระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และ วิทยุ โทรคมนาคม เป็ นทรัพยากรสื่อสาร ของชาติเพื่อประโยชน์สาธารณะให้มี

องค์กรของรัฐที่เป็ นอิสระทำาหน้าที่ จัดสรรคลื่นความถี่ตามวรรณหนี่ งและ กำากับด้แลการประกอบกิจการวิทยุ กระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์และ กิจกรรมโทรคมนาคมทั้งนี้ ตามที่ กฎหมายบัญญัติ ........การดำาเนิ นการตามวรรคสอง ต้องคำานึ งถึงประโยชน์ส้งสุดของ ประชาชนในระดับชาติและระดับท้อง ถิ่ง ทั้งในด้านการศึกษา วัฒนธรรม ความมัน ่ คงของรัฐ และ ประโยชน์ สาธารณะ รวมทั้งการแข่งขันโดยเสรี อย่างเป็ นธรรม"

.........การจัดทำาแผนแม่บท กิจกรรมกระจายเสียงและกิจการ โทรทัศน์ และการอนุ ญาตให้ประกอบ กิจกรรมดังกล่าว ต้องคำานึ งถึงสัดส่วน ที่เหมาะสมระหว่างผ้้ประกอบการภาค รัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน โดยจะต้องจัดให้ภาครประชาชนได้ใช้ คลื่นความถี่ไม่น้อยกว่าร้อยละยี่สิบ ในกรณี ท่ีภาคประชาชนยังไม่มีความ พร้อมในกรณี ท่ีภาคประชาชนยังไม่มี ความพร้อมให้ กสช ให้การสนั บสนุ น การใช้คลื่นความถี่ในสัดส่วนตามที่ กำาหนด เพื่อประโยชน์ในการจัดสรร

คลื่นความถี่ให้ภาคประชาชนได้ใช้ และการสนั บสนุ นการใช้คลื่นความถี่ ให้ ประชาชนใช้และการสนั บสนุ นการ ใช้เคลื่นความถี่ของประชาชน ให้ กสช. กำาหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับ ลักษณะของภาคประชาชนที่พึงได้รบ ั การจัดสรรและสนั บสนุ นให้ใช้คลื่น ความถี่ รวมทั้งลักษณะการใช้คลื่น ความถี่ท่ีได้รบ ั จัดสรร โดยอย่างน้อย ประชาชนนั้ นต้องดำาเนิ นิการโดยมี วัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์สาธารณะ และไม่แสวงหากำาไรในทางธุรกิจ ........มาตรา 27 การกำาหนดเกณฑ์

และการพิจารณาออกใบอนุ ญาตให้ใช้ คลื่นความถี่และใบ อนุ ญาตให้ ประกอบกิจการกระจายเสียงหรือ กิจการโทรทัศน์ให้คำานึ งถึงประโยชน์ สาธารณะตามที่บัญญัตไิ ว้ในมาตรา 25 เป็ นสำาคัญ ........2.พระราชบัญญัตก ิ ารศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 9 ว่า ด้วยเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มีสาระ สำาคัญสรุปได้ดังนี้ ........1) มาตรา 63 รัฐต้องจัดสรร คลื่นความถี่ สื่อตัวนำาและโครงสร้าง พื้ นฐานอื่นที่จำาเป็ นต่อการส่งวิทยุการ

จายเสียง วิทยุโทรทัศน์ วิทยุ โทรคมนาคม และ การสื่อสารในร้ป อื่น เพื่อใช้ประโยชน์สำาหรับการศึกษา ในระบบ การศึกษานอกระบบ การ ศึกษาตามอัธยาศัย การทะนุ บำารุง ศาสนา ศิลป และวัฒนธรรมตามความ จำาเป็ น ........2) มาตรา 64 รัฐต้องส่งเสริม และสนั บสนุ นให้มีการผลิต และ พัฒนาแบบเรียนตำาราหนั งสือทาง วิชาการ สื่อสิ่งพิมพ์อ่ ืนๆ วัสดุ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา อื่น โดยเร่งรัดพัฒนาขีดความสามารถ

ในการผลิตจัดให้มีเงินสนั บสนุ นการ ผลิตและมีการให้แจงจ้งใจแก่ผ้ผลิต จัดให้มีเงินสนั บสนุ นการผลิตและมี การให้แรงจ้งใจแก่ผผ ้ ลิต และพัฒนา เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ทั้งนี้ โดย เปิ ดให้มีการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็ น ธรรม ........3) มาตรา 65 ให้มีการพัฒนา บุคลากรทั้งด้านผ้ผ ้ ลิต และผ้้ใช้ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้มี ความร้้ ความสามารถและทักษะใน การผลิต รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีท่ี เหมาะสม มีคุณภาพ และ

ประสิทธิภาพ .......4) มาตรา 66 ผ้้เรียนมีสิทธิได้ รับการพัฒนาขีดความสามารถในการ ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในโอกาส แรกที่ทำาได้ เพื่อให้มีความร้้และทักษะ เพียงพอที่จะใช้เทคโนโลยเพื่อการ ศึกษาในการแสวงหาความร้ด ้ ้วย ตนเองได้อย่างต่อเนื่ องตลอดชีวิต .......5) มาตรา 67 รัฐต้องส่งเสริม ให้มีการวิจัยและพัฒนา การผลิตและ การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลการใช้เทคโนโลยีเพื่อการ

ศึกษา เพื่อ ให้เกิดการใช้เกิดการใช้ท่ี คุ้มค่าและเหมาะสมกับกระบวนการ เรียนร้้ของคนไทย ........6) มาตรา 68 ให้มีการระดม ทุน เพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนา เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา จากเงิน อุดหนุ นของรัฐ ค่าสัมปทานและผล กำาไรได้จากการดำาเนิ นกิจการด้าน สื่อมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ และโทรคมนาคมจากทุกฝ่ าย เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และ องค์กรประชาชน รวมทั้งให้มีการลด อัตราค่าบริการเป็ นพิเศษในการใช้

เทคโนโลยีดังกล่าว เพื่อการพัฒนาคน และสังคมหลักเกณฑ์และวิธีการจัด สรรวเงินกองทุนเพื่อผลิต การวิจัย และการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการ ศึกษา ให้เป็ นไปตามที่กำาหนดในกฎ กระทรวง ........7) มาตรา 69 รัฐต้องจัดให้มี หน่วยงานกลางทำาหน้าที่พิจารณา เสนอนโยบายแผน ส่งเสริม และ ประสานการวิจัย การพัฒนาและการ ใช้ รวมทั้งการประเมินคุณภาพและ ประสิทธิภาพของการผลิตและการใช้ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

ที่มา http://www.nmc.ac.th/datab ase/file_science/unit1.doc เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ สำาหรับคร้ .........ความร้้ความสามารถของคร้ เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยี ในการใช้ คอมพิวเตอร์ของคร้ มีคร้ท่ีมีความ สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในระดับพื้ น ฐาน คิดเป็ นร้อยละ 31.26 ใช้ Internet ในระดับพื้ นฐานคิดเป็ น ร้อยละ 35.09 และการบ้รณาการ เทคโนโลยีกับวิชาหรือกลุ่มสาระการ

เรียนร้้ในระดับพื้ นฐานคิดเป็ นร้อยละ 31.57 ใช้เทคโนโลยีประกอบการจัด กิจกรรมการเรียนร้้ในระดับพื้ นฐาน คิดเป็ นร้อยละ 37.27 แสดงให้เห็น ว่าคร้ยังมีความร้้ ความสารถด้าน เทคโนโลยีเพียง ในระดับพื้ นฐาน ซึ่ง ส่วนใหญ่ใช้เทคโนโลยีไม่เป็ น ทั้งนี้ อาจเป็ นเพราะว่าคร้ส่วนใหญ่มีอายุ ค่อนข้างมากแล้วและไม่มีความร้้พื้น ฐานทางด้านเทคโนโลยีมาก่อนจึง ทำาให้เกิดการพัฒนาตนเองค่อนข้างช้า มาก โดยเฉพาะในเรื่องของการตั้ง กลุ่มเพื่อการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

เกือบจะไม่ได้ทำาเลย และคร้ส่วนมาก ก็ไม่นำาเทคโนโลยีไปบ้รณาการกับกลุ่ม สาระการเรียนร้้ รวมทั้งการจัด กิจกรรมการเรียนร้้ต่างๆ ส่วนใหญ่ก็ ไม่นำาเทคโนโลยีมาใช้ท้ ังนี้ อาจจะเป็ น เพราะว่าคร้ไม่มีความร้้ด้านเทคโนโลยี ตลอดจนไม่สามารถติดตั้งและบำารุง รักษาเครื่องได้คร้ใช้เทคโนโลยีมา ประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรม การเรียนร้้ จาก 8 กลุ่มสาระการเรียน ร้้ .........คร้จะนำาเทคโนโลยีมา ประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรม

การเรียนร้้ในวิชาคอมพิวเตอร์คิดเป็ น ร้อยละ 26.12 ส่วนวิชาที่รองลงมาที่ คร้นำาเอาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อ พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนร้้ ได้แก่วิชาภาษาไทย คิดเป็ นร้อยละ 14.61 แสดงให้เห็นว่านั กเรียนมี โอกาสในการศึกษาหาความร้้เกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ได้ในวิชาคอมพิวเตอร์ มากกว่าวิชาอื่น ๆ ส่วนในรายวิชาอื่น ๆ ก็พอได้เรียนร้้บ้างแต่ไม่มากนั ก ทั้งนี้ อาจจะเป็ นเพราะว่าคร้ท่ีสอนวิชา คอมพิวเตอร์น้ ั นคงเป็ นผ้้ท่ีมีความร้้ ความสามารถในระดับดีพร้อมที่จะ

ดำาเนิ นการจัดกิจกรรมการเรียนร้้ให้ กับผ้้เรียนได้ ........สภาพการใช้คอมพิวเตอร์ตาม วัตถุประสงค์ท่ีกำาหนดให้ของคร้ รายการที่คร้ ใช้มากได้แก่ ใช้พัฒนา ทักษะวิชาชีพคร้ เตรียมการสอนและ สร้างสื่อการสอน ค้นสารสนเทศ ทางการศึกษา และค้นคว้าเรียนร้้ส่ิง ใหม่ ๆ รายการที่คร้ไม่ได้ใช้เลย ได้แก่ สอนทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ ใช้สำาหรับการนำาเสนองาน ใช้ส่ ือสาร ระหว่างนั กเรียน คร้และผ้้เกี่ยวข้อง และใช้ตรวจสอบผลงาน/ทำารายงาน

ของนั กเรียน .........แสดงให้เห็นว่าสภาพการใช้ คอมพิวเตอร์ตามวัตถุประสงค์ท่ี กำาหนดให้คร้จะใช้คอมพิวเตอร์เพื่อ พัฒนาทักษะวิชาชีพคร้ มากกว่า การเตรียมการสอนและสร้างสื่อการ สอน แสดงให้เห็นว่าคร้ใช้ คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาตนเอง เช่น จัดทำาผลงานเพื่อเลื่อนระดับให้กับ ตนเองมากกว่าที่จะค้นคว้าหาความร้้ เพื่อเตรียมการสอนรวมทั้งการจัด กิจกรรมการเรียนร้้ให้กับนั กเรียน ........การใช้ ICT ในการเรียนและ

บ้รณาการความนำาคอมพิวเตอร์ ถือ เป็ นสื่อนวัตกรรมใหม่อย่างหนึ่ ง เพิ่ง แพร่หลายขึ้นมาประมาณ 40 ปี มานี้ เอง คอมพิวเตอร์เป็ นอุปกรณ์ท่ีใช้ใน การจัดเก็บ คำานวณ ประมวลผล แสดงผล หรืองานอื่นใด ตามคำาสัง่ ที่ จัดทำาขึ้น แล้วบันทึกเก็บไว้ในหน่วย ความจำาของอุปกรณ์น้ ั น ปั จจุบน ั มี การพัฒนาคอมพิวเตอร์อย่างรวดเร็ว มาก จนเป็ นสื่อสำาคัญยิ่งในการนำาเข้า ส่้ยุคข้อม้ลข่าวสาร ทุก ๆ วินาที สามารถรับร้้ความเป็ นไปในทุกพื้ น พิภพได้เกือบพร้อมกัน ทั้งที่อย่้กัน

คนละซีกโลก การรับร้้ข่าวสารที่ รวดเร็วนำาประโยชน์ส่้ผ้ใช้ นำา ประโยชน์ส่้ประเทศชาติได้อย่าง มหาศาล เช่น สามารถติดต่อค้าขาย กันได้ตลอด 24 ชัว่ โมง โดยที่ผ้ซื้อ และผ้้ขายไม่ต้องพบหน้ากัน ไม่มีข้อ จำากัดของเวลา ไม่มีข้อจำากัดด้าน พรมแดน สามารถใช้ระบบ E Commerce และใช้ในเรื่องการ ศึกษา การแสวงหาความร้้ การสื่อสาร รวมถึงกิจการอื่น ๆ มากมาย หากผ้้ ใช้สามารถใช้ประโยชน์เป็ นอย่างคุ้มค่า ..........หลายปี ที่ผ่านมาโรงเรียนที่มี

ความพร้อมเริม ่ นำาคอมพิวเตอร์มาใช้ ในโรงเรียนกันมากขึ้น โดยโรงเรียน ดังกล่าวมักจะอย่้ในกรุงเทพฯ และ เมืองใหญ่ท่ีมีเศรษฐกิจดี ผ้ป ้ กครองมี ฐานะทางเศรษฐกิจมัน ่ คง ช่วงแรกเริม ่ ใช้เพื่อการบริหารจัดการก่อน เรียกว่า Computer Assisted Management โปรแกรมนี้ ช่วย จัดการด้านงานธุรการ เงินเดือน ห้อง สมุด งานปกครอง และอื่น ๆ ระยะ ต่อมาคอมพิวเตอร์มีราคาถ้กลง โรงเรียนต่าง ๆ เริม ่ นำามาใช้ในการ จัดการเรียนการสอน ซึ่งเรียกว่า คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer

Assisted Instruction) หรือเรียก ย่อ ๆ ว่า " CAI " หมายถึง การใช้ คอมพิวเตอร์เป็ นสื่อเสนอเนื้ อหา กระต้น ุ เร้าให้ผ้เรียนเกิดความสนใจ ต้องการเรียนร้้ บทบาทของ CAI มี มากขึ้น ผลที่ได้ผ้เรียนได้เรียนในสิ่งที่ ตนเองต้องการ ตรงตามความ ประสงค์ เป็ นการตอบสนองความเป็ น Child Center ได้ประการหนึ่ ง .........ในกระบวนการจัดการเรียนร้้ ปั จจุบันรัฐบาลมีนโยบายให้โรงเรียน ต่าง ๆ ใช้ ICT เพื่อพัฒนาการเรียนร้้ อย่างกว้างขวาง สภาพการณ์ดังกล่าว

ทำาให้ผ้ปกครองเกิดความตื่นตัว ต้องการที่จะให้บุตรหลานได้เรียนร้้ จากคอมพิวเตอร์มากขึ้น จนกลาย เป็ นกระแสของความทันสมัย โรงเรียนใดไม่สอนวิชาคอมพิวเตอร์ ผ้้ ปกครองจะย้ายเด็กไปเรียนโรงเรียน อื่นที่สอนคอมพิวเตอร์ เป้ าหมาย สำาคัญที่นอกเหนื อไปจากภาระงาน ปกติของโรงเรียน คือการจัดการศึกษา ให้ตอบสนองความต้องการของชุมชน ผ้้บริหาร คณะคร้ กรรมการสถาน ศึกษาการพัฒนาบุคลากรโรงเรียน ประถมศึกษา โดยทัว่ ไปคร้จะมีคุณวุฒิ

ตรงสาขาวิชาเอกน้อยและยังไม่ สามารถเลือกคร้ได้ตรงตามความ ต้องการของโรงเรียน จึงส่งผลถึงการ จัดการเรียนการสอน หน้าที่ของ โรงเรียนต้องดำาเนิ นการ คือ พัฒนาให้ คร้มีศักยภาพ สามารถทำางานสนอง ความต้องการของผ้้เรียน และสนอง ตอบพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ง ชาติ พ.ศ. 2542 ได้ การพัฒนาคร้ เป็ นสิ่งจำาเป็ นโดยอาจ ดำาเนิ นการพัฒนาคร้ได้ ดังนี้ .......1. พัฒนาให้คร้ทุกคนมีความร้้ พื้ นฐานในการใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อ

เป็ นฐานในการเรียนร้้ และใช้ คอมพิวเตอร์จัดการเรียนการสอนได้ .......2. กำาหนดมาตรฐานเบื้ องต้น ของคร้ท่ีจะเข้าทำาหน้าที่คร้ คอมพิวเตอร์ ไว้ดังนี้ 2.1 ต้องมีวิสัยทัศน์ มีความคิดกว้าง ไกล ทันเหตุการณ์ของโลก 2.2 พัฒนาตนเองอย่้เสมอ ให้รอบร้้ และร้้รอบ ในเรื่องใหม่ ๆ อย่้เป็ นนิ จ 2.3 ขยัน ทันสมัย ใจรัก สละเวลาคน ที่มีใจรักในสิ่งใด มักจะทุ่มเท เสียสละ ขยัน มุ่งมัน ่ ทำาในสิ่งที่ตนรัก งาน คอมพิวเตอร์ เป็ นงานที่หนั ก และมี

ความสำาคัญส้ง ด้วยคร้มีภาระหลาก หลาย ด้วยเหตุท่ีไม่มีเจ้าหน้าที่ส่วน อื่น ๆ เป็ นฝ่ ายบริการอำานวยความ สะดวกได้ หลังจากที่โรงเรียนให้ความ ร้้ ฝึ ก และพัฒนาคร้ให้มีความร้้พื้น ฐานทางคอมพิวเตอร์แล้ว ร้ปแบบการ ใช้ ICT เพื่อพัฒนาการเรียนร้้ความ ก้าวหน้าทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และการแข่งขันการพัฒนาทางด้าน ซอฟต์แวร์ ในปั จจุบัน ส่งผลให้ ประเทศต่าง ๆ นำาคอมพิวเตอร์มาใช้ ในด้านการศึกษากันมาก การใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน(Computer

Assisted Instruction) มีบทบาท และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น การใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็ นการพัฒนา ผ้้เรียนอีกทางหนึ่ ง โดยอาศัย ประสบการณ์ ความร้้ ปรับประยุกต์ใช้ ภายใต้บริบทของโรงเรียน 1. จัดการ เรียนร้้ "ตลอดเวลา" (Anytime) เวลาใดก็สามารถเรียนร้้ได้ ระยะแรก เริม ่ ให้นักเรียนสามารถใช้ Computer สืบค้นหาความร้้จากห้อง สมุด ซึ่งมีเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ บริการระบบ Internet .......3. เรียนร้้จากแหล่งเรียนร้้ "ทุ

กหนแห่ง" (Anywhere) นั กเรียน สามารถเรียนร้้ร่วมกันจากสื่อต่างๆ เช่น คอมพิวเตอร์ วีดิทัศน์ โทรทัศน์ CAI และอื่นๆ .......4. การให้ทุกคน (Anyone) ได้เรียนร้้พัฒนาตนเองอย่างเต็ม ศักยภาพของตน ตั้งแต่ระดับอนุ บาล เป็ นต้นไปการใช้ ICT เพื่อการเรียนร้้ การเรียนร้้ในปั จจุบันแตกต่างจากเดิม ไปอย่างสิ้นเชิง ซึ่งหมายความว่า ผ้้ เรียนมีโอกาส มีอิสระในการเรียนร้้ ด้วยตนเอง สร้างองค์ความร้้ สร้าง ทักษะด้วยตนเอง คร้เปลี่ยนบทบาท

จากผ้้สอนมาเป็ น ผ้ใ้ ห้คำาแนะนำา นอกจากนี้ ทั้งคร้และศิษย์สามารถ เรียนร้้ไปพร้อมกันได้ การจัดการ เรียนที่โรงเรียนดำาเนิ นการได้ในขณะนี้ 1. การสอนโดยใช้ส่ ือ CAI ช่วยสอน ให้เกิดการเรียนร้้ตามความสนใจ เช่น วิชาคณิ ตศาสตร์ วิชาภาษาไทย วิชา วิทยาศาสตร์ วิชาสังคม หรือ สปช. วิชาภาษาอังกฤษ 2. ส่งเสริมให้ผ้เรียนร้้จักสืบค้น วิทยาการใหม่ ๆ จากอินเทอร์เน็ต จาก E-book จาก E-Library 3. ส่งเสริมการเรียนร้้และสร้างเจตคติ

ที่ดีในการเรียนและการค้นคว้า หาความร้้ โดยกำาหนดให้ผ้เรียนได้ เล่นเกมการศึกษา (Education Games ) ที่ผ่านการวิเคราะห์ของคร้ ผ้้รบ ั ผิดชอบว่าไม่เป็ นพิษภัยต่อผ้้เล่น และเป็ นการสร้างเสริมความคิด สร้างสรรค์ท่ีดีให้กับเด็ก .........5. ใช้แผนการสอนแบบ ICT บ้รณาการเรียนร้้ในสาระวิชาต่างๆ เช่น คณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษา อังกฤษ และ คอมพิวเตอร์ ........6. จัดระบบข้อม้ลสารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการเรียนร้้

........7. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน การจัดระบบและเผยแพร่ความร้้ ........8. จัดระบบข้อม้ลสารสนเทศ แหล่งเรียนร้้ภายในโรงเรียน และ ภ้มิปัญญาชุมชนท้องถิ่น ........9. พัฒนาเครือข่ายการเรียนร้้ ในการจัดการเรียนร้้ของผ้้สอนที่มา http://www.eschool.su.ac.th /school31/web1.htm บทสรุป .........การนำาเอาเทคโนโลยี เข้ามามี ส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน

เป็ นการเพิ่มพ้น ประสิทธิภาพทางการ เรียนร้้แก่ผ้เรียน และในสภาพ ปั จจุบันการเรียนการสอนก็ไม่อาจ หลีกเลี่ยงสิ่งนี้ ได้ คร้จะต้องปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมการสอนของตนเอง ต้องยอมรับความเปลี่ยนแปลงที่ เกิด ขึ้น จึงต้องเรียนร้้เทคโนโลยีต่าง ๆ แล้ววิเคราะห์ความเป็ นไปได้ ใช้ให้ เกิดประสิทธิภาพส้งสุด ให้เหมาะสม กับสภาพของโรงเรียน ที่มีความพร้อม ในระดับหนึ่ ง คร้ควรต้องพัฒนา ตนเองเพื่อพัฒนาผ้้เรียนได้อย่าง เหมาะสม และยึดผ้้เรียนเป็ น

ศ้นย์กลาง เพื่อนำาพาผ้้เรียนให้ สามารถเรียนร้้ ดำารงตนอย่้ได้อย่างมี ความสุขที่มา http://learners.in.th/blog/su kuman18-2/271769 คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา.... ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งถือว่าเป็ นยุค เทคโนโลยีสารสนเทศ เกิดการ เปลี่ยนแปลงของโลกในหลายๆด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมอันนำาไปส่้ การปรับตัวเพื่อให้เกิดความสามารถ ในการแข่งขันท่ามกลางกระแส

โลกาภิวัฒน์ทุกประเทศทัว่ โลกกำาลัง มุ่งส่้กระแสใหม่ของการเปลี่ยนแปลง ที่เรียกว่า สังคมความร้้ (KnowledgeSociety) และระบบ เศรษฐกิจฐานความร้้ (KnowledgeBased Economy) ที่จะต้องให้ ความสำาคัญต่อการใช้ความร้้และ นวัตกรรม (Innovation) เป็ น ปั จจัยในการพัฒนาและการผลิต มากกว่าการใช้เงินทุนและแรงงาน ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทำาให้ ข้อม้ลข่าวสารและความร้้ ซึ่งประกอบ กันเป็ น "สารสนเทศ" นั้ น สามารถ

ลื่นไหลได้สะดวก รวดเร็ว จนสามารถ ประยุกต์ใช้ได้อย่างกว้างขวาง ตั้งแต่ ระดับบุคคลขึ้นไปถึงระดับองค์กร อุตสาหกรรม ภาคสังคม ตลอดจนใน ระดับประเทศและระหว่างประเทศ จน กระทัง่ ภาวะ "ไร้พรหมแดน" อัน เนื่ องมาจากอิทธิพลของเทคโนโลยี สารสนเทศดังกล่าว ได้เกิดขึ้นใน กิจกรรมและวงการต่างๆ และนั บเป็ น ความกลมกลืนสอดคล้องกันอย่างยิ่ง ที่การพัฒนาบุคลากรในสังคมอัน ประกอบด้วยภาคการศึกษา และการ ฝึ กอบรมเป็ นเรื่องราวของการเรียนร้้

สารสนเทศในร้ปแบบต่างๆ ทั้งที่เป็ น ข้อม้ล (Data) ข่าวสาร (Information)ก็ตาม ดังนั้ น เทคโนโลยีสารสนเทศจึงเป็ นเครื่องมือ ที่สามารถนำาประโยชน์มาส่้วงการ ศึกษา ได้อย่างเหมาะสมหากร้้จักใช้ให้ เป็ นประโยชน์และคุ้มค่าต่อการลงทุน (ไพรัช ธัชยพงษ์และพิเชษ ดุรงค เวโรจน์ .2541) เมื่อกล่าวถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์ท่ีเป็ นเทคโนโลยีระดับส้งอย่าง หนึ่ งที่นับว่ามีบทบาทอย่างยิ่งได้แก่ "คอมพิวเตอร์"(Computer) ซึ่งใช้

กันอย่างแพร่หลายในทุกวงการ โดย เฉพาะวงการศึกษาได้นำาคอมพิวเตอร์ มาใช้ประโยชน์ไม่ว่าจะเป็ นในด้านการ บริหาร การบริการ และการใช้ คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน เป็ นต้น พจนานุ กรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2525 ได้ให้ความหมาย ของ "คอมพิวเตอร์" ไว้ว่า"เครื่อง อิเล็กทรอนิ กส์แบบอัตโนมัติ ทำา หน้าที่เสมือนสมองกล ใช้สำาหรับแก้ ปั ญหาต่างๆที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธี ทางคณิ ตศาสตร์"คอมพิวเตอร์จึงเป็ น

เครื่องมืออิเล็กทรอนิ กส์ท่ีถ้กสร้างขึ้น เพื่อใช้งานแทนมนุ ษย์ในด้านการ คำานวณและสามารถจำาข้อม้ลทั้ง ตัวเลขและตัวอักษรได้ เพื่อการเรียก ใช้งานครั้งต่อไป รวมทั้งสามารถ จัดการกับสัญลักษณ์ (Symbol) ได้ ด้วยความเร็วส้งโดยปฏิบัติตามขั้น ตอนของโปรแกรม นอกจากนี้ ยังมี ความสามารถในด้านต่างๆ เช่น การ รับส่งข้อม้ล การจัดเก็บข้อม้ลไว้ในตัว เครื่องและสามารถประมวลผลจาก ข้อม้ลต่างๆ ได้ (ตวงแสง ณ นคร . 2542) คอมพิวเตอร์ท่ีนำามาใช้ในวงการศึกษา

หรืออาจเรียกว่า คอมพิวเตอร์เพื่อการ ศึกษา (Computer-Based Education, Instructional Computer : IC, ComputerBased Instruction : CBI) มี ความหมายเหมือนกันคือ การนำา คอมพิวเตอร์ มาใช้ประโยชน์ในด้าน การศึกษา ไม่ว่าจะ เป็ นการจัดการ เรียนการสอน การลงทะเบียน การจัด ทำาบัตรนั กศึกษา การจัดทำาผลการ เรียนการสอนรวมไป จนถึงการออก ใบรับรองการจบหลักส้ตร Robert Taylor นั กเทคโนโลยีการ ศึกษา ได้แบ่งการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อ

การศึกษา ไว้ในหนั งสือ the Computer in the School : Tutor, Tutee โดยได้แบ่งการนำา คอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในโรงเรียนออก เป็ น 3 ลักษณะคือ การใช้ คอมพิวเตอร์ในลักษณะของติวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์ในลักษณะของ อุปกรณ์ การเรียนการสอนและการใช้ คอมพิวเตอร์ในลักษณะของผ้้เรียน (ดิเรก ธีระภ้ธร .2545) แต่กระบวนการในการจัดการศึกษาใน ภาพรวม ไม่ได้หมายถึงสถานศึกษา หรือสถาบันการศึกษาเพียงอย่างเดียว เท่านั้ น ทั้งนี้ ยังมีหน่วยงานทางการ

ศึกษาและองค์กรอื่นที่ทำาหน้าที่ เกี่ยวข้องกับการบริหารและสนั บสนุ น การจัดการศึกษาด้วย ฉะนั้ นบทบาทของคอมพิวเตอร์ท่ี จำาเป็ นต้องนำามาใช้ในการศึกษา จึง แบ่งเป็ น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. คอมพิวเตอร์เพื่อการบริหาร (computer Applications into Administration) การบริหารการ ศึกษานั บเป็ นปั จจัยสำาคัญในการ กำาหนดทิศทาง นโยบาย อันนำาไปส่้ แนวทางปฏิบัติในการจัดการศึกษา

ทั้งในระดับประเทศและระดับท้องถิ่น สิ่งสำาคัญในการที่จะช่วยให้บริหารเป็ น ไปอย่างมีประสิทธิภาพก็คือความ พร้อมของข้อม้ลในการบริหารจัดการ เพื่อการตัดสินใจและกำาหนดนโยบาย การศึกษา คอมพิวเตอร์จึงเข้ามามี บทบาทในการบริหารการศึกษามาก ขึ้น ซึ่งช่วยให้การดำาเนิ นงานตั้งอย่้บน ฐานข้อม้ลที่ชัดเจนถ้กต้องและเกิด ประสิทธิภาพส้งสุด สรุปได้ดังนี้ 1.1 การบริหารงานทัว่ ไป เป็ นการนำา คอมพิวเตอร์ช่วยในการบริหารงาน บุคคล งานธุรการ การเงินและบัญชี

การประชาสัมพันธ์ รวมถึงการจัดทำา ระบบฐานข้อม้ล (Management Information System :MIS) เพื่อประโยชน์ในการวางแผนและ บริหารการศึกษาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เป็ นต้น 1.2 งานบริหารการเรียนการสอน เป็ นการนำาคอมพิวเตอร์ช่วยในการ บริหารของคร้ผ้สอนนอกเหนื อจาก งานด้านการสอนปกติ เช่น งาน ทะเบียน งานด้านเอกสาร การจัด ตารางสอน ตารางสอบ การตรวจและ การเก็บรวบรวมคะแนน การสร้างวิเคราะห์ข้อสอบ การวัดและประเมิน

ผลการเรียน เป็ นต้น 2. คอมพิวเตอร์เพื่อการจัดการเรียน การสอน (Computer -Managed Instruction) การใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยจัดการเรียนการสอน เพื่อช่วยให้ คร้ผ้สอนไม่ต้องเสียเวลากับการงาน บริหาร คร้ผ้สอนจะได้มีเวลาไป ปรับปรุงบทเรียนให้ทันสมัยและมี เวลาให้กับนั กเรียนมากขึ้น เช่น การ จัดเลือกข้อสอบ การตรวจและให้ คะแนนและวิเคราะห์ข้อสอบ การเก็บ ประวัตินักเรียนเฉพาะวิชาที่สอนเพื่อด้ พัฒนาการด้านการเรียนและการให้คำา

ปรึกษา และช่วยในการจัดทำาเอกสาร เกี่ยวกับการเรียนการสอนของวิชาที่ สอน รวมถึงการนำาคอมพิวเตอร์มา ช่วยในการจัดการเรียนการสอนจะ ทำาให้คร้ผ้สอนสามารถวิเคราะห์ผ้ เรียนเพื่อออกแบบและพัฒนาระบบ การสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตรง กับวัตถุประสงค์และความต้องการของ ผ้้เรียน 3. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer -Assisted Instruction : CAI) คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเป็ นกระบวนการเรียนการ สอน โดยใช้ส่ ือคอมพิวเตอร์ ใน

การนำาเสนอเนื้ อหาเรื่องราวต่างๆ มี ลักษณะเป็ นการเรียนโดยตรง และ เป็ นการเรียน แบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive) คือสามารถ โต้ตอบ ระหว่างผ้้เรียนกับคอมพิวเตอร์ได้ เช่นเดียวกับการสอนระหว่างคร้กับ นั กเรียนที่อย่้ในห้องตามปกติ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีหลายประเภท ตามวัตถุประสงค์ท่ีจะให้นักเรียนได้ เรียน กล่าวคือ ประเภทติวเตอร์ ประเภทแบบฝึ กหัด ประเภทการ จำาลอง ประเภทเกม ประเภทแบบ ทดสอบซึ่งในแต่ละประเภทก็มีจุดมุ่ง

หมายในการให้ความร้้แก่ผ้เรียนแต่วิธี การที่แตกต่างกันไป ข้อดีของการใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนคือช่วยลดความ แตกต่างระหว่างผ้้เรียน เช่นผ้้ท่ีมีผล การเรียนตำ่า ก็สามารถชดเชยโดยการ เรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอนได้ และสำาหรับผ้้มีผลการเรียนส้ง ก็สามารถเรียนเสริมบทเรียนหรือ เรียนล่วงหน้าก่อนที่ผ้สอนจะทำาการ สอนก็ได้ สรุป แนวโน้มในการนำาคอมพิวเตอร์มาใช้ ในการศึกษาในปั จจุบันและอนาคตจะ

เป็ นร้ปแบบของการเรียนการสอน โดยนำาเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มา ผสมผสานกับเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต เนื่ องจากเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตมี ลักษณะเฉพาะ คือ มีความสามารถใน การนำาเสนอข้อม้ลผ่านระบบ World Wide Web ในการใช้เพื่อการจัดการ เรียนการสอนผ่านเว็บ (WebBased Instruction : WBI) หรือ E-learning ซึ่งวงการศึกษาคงจะ หลีกเลี่ยงได้ยากยิ่ง -----------------------------------------------------------เอกสารและแหล่งข้อม้ลประกอบการ

ค้นคว้า -กิดานั นท์ มลิทอง เทคโนโลยีการ ศึกษาและนวัตกรรม พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ อรุณการพิมพ์ .2543ไพรัช ธัชยพงษ์และพิเชษ ดุรงค เวโรจน์ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ ศึกษา ศ้นย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิ กส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ .2541ตวงแสง ณ นคร การใช้ส่ ือการสอน. สำานั กพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำาแหง .กรุงเทพฯ .2542 -ดิเรก ธีระภ้ธร การใช้คอมพิวเตอร์ในวงการศึกษา [On-Line] Available: http://www.edu.nu.ac.th/wbi

/366514/index.htm ที่มา http://www.edtechno.com/2 009/index.php? option=com_content&view= article&id=57:2009-05-2200-4701&catid=44:webmaster&Ite mid=72 คอมพิวเตอร์ที่นำามาใชูในวงการศึกษา หรืออาจเรียกว่า คอมพิวเตอร์เพื่อการ ศึกษา (Computer-Based Education, Instructional Computer : IC, Instructional App.iccations of Computer :

IAC, Computer-Based Instruction : CBI) มีความหมาย เหมือนกันคือ การนำาคอมพิวเตอร์มา ใช้ประโยชน์ในด้านการศึกษา ไม่ว่าจะ เป็ นการจัดการเรียนการสอน การลง ทะเบียน การจัดทำาบัตรนั กศึกษา การ จัดทำาผลการเรียนการสอนรวมไป จนถึงการออกใบรับรองการจบ หลักส้ตร Robert Taylor นั กเทคโนโลยีการ ศึกษา ได้แบ่งการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อ การศึกษา ไว้ในหนั งสือ the Computer in the School : Tutor, Tutee โดยได้แบ่งการนำา

คอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในโรงเรียนออก เป็ น 3 ลักษณะคือ การใช้ คอมพิวเตอร์ในลักษณะของติวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์ในลักษณะของ อุปกรณ์ การเรียนการสอนและการใช้ คอมพิวเตอร์ในลักษณะของผ้้เรียน ซึ่งได้มีนักวิชาการบางท่านเห็นว่ายัง คง ขาดในส่วนที่เป็ นการนำา คอมพิวเตอร์มาใช้ในการบริหารงาน ด้วย จึงได้มผ ี ้แยกประเภทของการ จัดการใช้ คอมพิวเตอร์ไปอย่าง มากมาย ในที่น้ ี จะทำาการแบ่งการนำา คอมพิวเตอร์ ออกเป็ น 2 ส่วน คือ Computer-Managed

Instruction : CMI การนำา คอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในการจัดการ เรียนการสอนนั้ น ตัวอย่างที่เห็นได้ชัด คือการที่คร้ผ้สอนนำาคอมพิวเตอร์เข้า มาเป็ นเครื่องมือในการจัดทำาสื่อ การ เรียนการสอน แผนกวิชาการ นำา คอมพิวเตอร์เข้ามาจัดตารางสอน การ ลงทะเบียนเรียน ระเบียนนั กเรียน ทำา บัตรประจำาตัวนั กเรียน การจัดตาราง การเรียนการสอน เป็ นต้น สำาหรับใน ด้านการบริหารแล้ว ผ้้บริหาร ก็ สามารถที่จะใช้คอมพิวเตอร์ในการจัด เก็บข้อม้ล จัดทำางบประมาณของ

แต่ละปี พร้อมทั้งสร้างตาราง และ แผนภ้มิเพื่อนำาเสนอผลงานผ่านทาง จอภาพต่อไป ตัวอย่างที่แสดงให้เห็น นี้ เป็ นเพียงส่วนหนึ่ งของการใช้งาน เท่านั้ น Computer-Assisted Instruction : CAI คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เป็ นการนำาคอมพิวเตอร์มา ทำาบทเรียนคอมพิวเตอร์เพื่อให้ นั กเรียนสามารถเรียนร้้หรืออาจ เป็ นการเพิ่มเติมความร้้ให้กับผ้้เรียนก็ เป็ นได้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีหลาย ประเภทตามวัตถุประสงค์ท่ีจะให้ นั กเรียนได้เรียน กล่าวคือ ประเภท

ติวเตอร์ ประเภทแบบฝึ กหัด ประเภท การจำาลอง ประเภทเกม ประเภทแบบ ทดสอบ ซึ่งในแต่ละประเภทก็มีจุดมุ่ง หมายในการให้ความร้้แก่ผ้เรียนแต่วิธี การที่แตกต่างกันไป ข้อดีของการใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนคือ ช่วยลด ความ แตกต่างระหว่างผ้้เรียน เช่นผ้้ ที่มีผลการเรียนตำ่า ก็สามารถชดเชย โดยการเรียนจากบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนได้ และสำาหรับ ผ้้มีผลการเรียนส้งก็สามารถเรียน เสริมบทเรียนหรือเรียนล่วงหน้าก่อน ที่ผ้สอนจะทำาการสอนก็เป็ นได้

สรุป คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา หมายถึง กาใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาเพื่อ การเรียนร้้ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่าง มีประสิทธิภาพเพื่อให้เกิดความร้้ความ เข้าใจอย่างมีระบบและมีการพัฒนา อย่างมีระบบ นอกจากนี้ คอมพิวเตอร์ เพื่อการศึกษายังช่วยให้การเรียนการ สอนน่าสนใจอย่างมาก ทำาให้ดึงด้ดให้ เกิดการเรียนร้้ การพัฒนาในด้าน ต่างๆนอกจากนี้ คอมพิวเตอร์เพื่อการ ศึกษายังมีส่วนสำาคัญที่ทำาให้ ผ้้เรียนที่ อย่้ห่างไกลได้เรียนร้้เท่าเทียมกับคนที่

อย่้ในเมือง ที่มา http://gotoknow.org/blog/bu nga1/214052 .......คอมพิวเตอร์ เป็ นอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิ กส์ที่มีประสิทธิภาพและ ศักยภาพส้งในการคำานวณ และ ประมวลผล สามารถทำางานไดูอย่าง รวดเร็วและแม่นยำา .......ระบบการทำางานของเครื่อง คอมพิวเตอร์

1. การป้ อนข้อม้ล การพิมพ์ การพ้ด โดยผ่านอุปกรณ์ท่ีสำาคัญ เช่น เมาส์ คี บอร์ด สแกนเนอร์ ซีดี 2. การประมวลผล คำานวณและ ประมวลผลข้อม้ล หรือเรียกว่า CPU 3. การแสดงผล แสดงผลการทำางาน ของ CPU อาจเป็ นร้ปภาพ ตัวอักษร เสียง ทางจอภาพ เครื่องพิมพ์ ........การนำาคอมพิวเตอร์มาใชูใน การศึกษา 1. การใช้คอมพิวเตอร์เป็ นสื่อการ สอนโดยตรง เช่น การฉายเนื้ อหา ประกอบการบรรยาย คอมพิวเตอร์

สามารถทำาหน้าที่แทนสื่อต่างๆ เช่น แผ่นใส ภาพนิ่ ง 2. การใช้คอมพิวเตอร์เป็ นเครื่องมือ ในการออกแบบสื่อการเรียนการสอน เช่น การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์มากที่ เป็ นเอกสารหนั งสือ วารสาร โปสเตอร์ ชุดไมโครซอร์ฟออฟฟิ ต 3. การใช้คอมพิวเตอร์เป็ นเครื่องมือ การค้นคว้าเพื่อการเรียนร้้ทัว่ ไป 4. การใช้คอมพิวเตอร์เป็ นสื่อการ เรียนร้้ร้ปแบบคอมพิวเตอร์ท่ีใช้เป็ น สื่อการเรียนร้้คอมพิวเตอรืช่วยสอน คือ สื่อการเรียนการสอนร้ปแบบหนึ่ ง

ที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็ นเครื่องมือใน การนำาเสนอเนื้ อหาบทเรียน ..........ลักษณะสื่อประสมคุณค่าของ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน - คิดอย่างมีเหตุผลคือการเรียนการ สอนจะเป็ นในแง่ฝึกหัดให้ผ้เรียนเกิด การเรียนร้้เอง - ร้้จักแสวงหาความร้้ด้วยตนเอง - ตัดสินใจได้ด้วยตนเอง - ยอมรับและนั บถือตนเอง - ร้้จักรับผิดชอบตนเอง - มีพฤติกรรมซื่อสัตย์ต่อตน

..........คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน 1. สารสนเทศ คือ เนื้ อหาสาระที่ได้ รับการวิเคราะห์ เรียบเรียงเป็ นระบบ อย่างดี ทำาให้ผ้เรียนเกิดการเรียนร้้ ตามที่ผ้สร้างหรือออกแบบบทเรียน กำาหนดไว้ 2. ความแตกต่างระหว่างบุคคล ผ้้ เรียนแต่ละคนมีความถนั ดในการเรียน ร้้ต่างกัน การศึกษาบทเรียนรายบุคคล ทำาใก้ผ้เรียนเลือกเรียนได้ตามความ สะดวก 3. การโต้ตอบ ระหว่างผ้้เรียนกับบท

เรียนออกแบบให้มีการตอบโต้ในบท เรียนจะมีผลดี ช่วยให้ผ้เรียนเกิด ความพึงพอใจในการตอบโต้ในทันที .........ประเภทของคอมพิวเตอร์ช่วย สอน 1. บทเรียน เป็ นโปรแกรมที่สร้างขึ้น มาในลักษณะของบทเรียน โปรแกรม ที่เสนอเนื้ อหาเป็ นส่วนย่อยๆ เป็ นการเรียนแบบการสอนของคร้ 2. ฝึ กทักษะและปฏิบัติ 3. จำาลองแบบ 4. เกมทางการศึกษา 5. การสาธิต

6. การทดลอง 7. การไต่ถาม 8. การแก้ปัญหา 9. แบบรวมวิธีต่างๆเข้าด้วยกัน ขูอดีและขูอจำากัดของคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ขูอดี ตอบสนองความแตกต่างระหว่าง บุคคลได้ดี ผ้้เรียนสามารถเรียนได้ ตามความถนั ดของตน ขูอจำากัด อาศัยอุปกรณ์เครื่อง คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ไฟฟ้ าเป็ น สำาคัญ ทำาให้ไม่สะดวก มีข้อจำากัด เรื่องงบประมาณ

อินเตอร์เน็ต คือ เครือข่ายข้อม้ล ข่าวสารขนาดใหญ่ท่ีเชื่อมโยงติดต่อ กันทัว่ โลก ใช้คอมพิวเตอร์เป็ นเครื่อง มือสำาคัญในการปฏิบัติการ 1. มาตรฐานการสื่อสาร LAN,MAN,WAN ใช้ช่ ือว่า TCP/IPTCP ทำาหน้าที่ควบคุมและ ตรวจสอบความถ้กต้องในการรับส่ง ข้อม้ล IP กำาหนดที่อย่้หรือแอดเดรส ของคอมพิวเตอร์ 2. การเชื่อมต่อเข้าส่้อินเตอร์เน็ต - การเชื่อมต่อโดยตรง จะต้องมี

คอมพิวเตอร์เครือข่ายเชื่อมต่อกับ โครงข่ายหลักหรือแบ็กโบน โดยต้องมี เราเตอร์ในการเชื่อมต่อ เพื่อขอชื่อ โดเมนแล้วติดตั้งเกตเวย์เป็ นแบ็กโบน - การเชื่อมต่อผ่านผ้้ใช้บริการ อินเตอร์เน็ต ใช้สายโทรศัพท์ต่อเข้า กับโมเด็ม 3. ประเภทของอินเตอร์เน็ต - อินทราเน็ต สื่อสารเฉพาะใน องค์การเท่านั้ น - เอ็กทราเน็ต เชื่อมต่อกับระบบ คอมพิวเตอร์ภายนอกระหว่างองค์การ กับองค์กบ ั องค์การหรือบุคคล

4. อินเตอร์เน็ตเพื่อการศึกษา - การค้นคว้า - การเรียนและติดต่อสื่อสาร - การศึกษาทางไกล - การเรียนการสอนอินเตอร์เน็ต - การประยุกต์ใช้อินเตอร์เน็ต 5. การค้นคว้าความร้้ทางอินเตอร์เน็ต และอินทราเน็ต เนื่ องมาจากอินเตอร์เน็ตเปรียบ เสมือนห้องสมุดขนาดใหญ่ ที่มีข้อม้ล ทุกประเภทเก็บอย่้อย่างมากมาย มี การสร้างเว็บไซต์ไว้บนอินเตอร์เน็ต

จำานวนมาก อินเตอร์เน็ตเป็ นแหล่ง ข้อม้ลข่าวสารที่มีเครื่องอำานวยความ สะดวกในการค้นคว้าหาข้อม้ลที่เรา ต้องการได้การเรียนร้้ด้วยระบบ อิเล็กทรอนิ กส์ครอบคลุมการเรียนร้้ข จากสื่อทุกชนิ ด ที่ใช้อิเล็กทรอนิ กส์ เป็ นปั จจัยพื้ นฐานสำาคัญในการบันทึก การจัดระบบ การเผยแพร่เพื่อการ เรียนร้้ของผ้้เรียน .........ลักษณะสำาคัญของ อี-เลิร์น นิ่ ง 1. การนำาเสนอสาระสนเทศในร้ปของ สื่อประสม เนื้ อหาสาระที่นำาเสนอให้ผ้

เรียนควรมีลักษณะหลากหลายแบบ ประกอบกัน 2. การขยายโอกาสเกี่ยวกับผ้้เรียน สถานที่เรียน เวลาในการเรียน 3. การยืดหยุ่นในการเรียนร้้ การ เรียนร้้เนื้ อหาบทเรียนไม่จำาเป็ นต้อง เรียนตามลำาดับขั้น ผ้้เรียนสามารถ เลือกเรียนหัวข้อใดก่อน/หลัง ได้ตาม ความสนใจ 4. การโต้ตอบหรือการมีปฆิสัมพันธ์ บทเรียนต้องได้รบ ั การออกแบบให้ผ้ เรียนมีชีวิตชีวาจากการนำาเสนอสาระ สนเทศในลักษณะสื่อประสม และการ

โต้ตอบกับบทเรียน โดยการตอบ คำาถามในแบบฝึ กหัดและตรวจคำาตอบ ได้ด้วยตนเอง 5. การป้ อนผลย้อนกลับ ผ้้เรียนต้อง ได้รบ ั ผลการเรียนร้้ทันทีทันใด เมื่อ กระบวนการเรียนแต่ละตอนสิ้นสุดลง ที่มา http://somruthaisom8.blogs pot.com/

อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษาและสืบคูน ความหมายของอินเทอร์เน็ต อินเตอร์เน็ต (Internet) คือ เครือ ข่ายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบ ต่าง ๆ ที่เชื่อมโยงกัน มาจากคำาว่า Inter Connection Network ........อินเตอร์เน็ต (Internet) เป็ นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่มี ขนาดใหญ่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุก เครื่องทัว่ โลก สามารถติดต่อสื่อสาร ถึงกัน ได้โดยใช้มาตรฐาน ในการรับ ส่งข้อม้ลที่เป็ นหนึ่ งเดียว หรือที่เรียก ว่าโปรโตคอล (Protocol) ซึ่ง

โปรโตคอล ที่ใช้บนระบบเครือข่าย อินเตอร์เน็ต มีช่ ือว่า ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP : Transmission Control Protocol/Internet Protocol) ........ลักษณะของระบบอินเตอร์เน็ต เป็ นเสมือนใยแมงมุม ที่ครอบคลุมทัว่ โลก ในแต่ละจุดที่เชื่อมต่อ อินเตอร์เน็ตนั้ น สามารถสื่อสารกันได้ หลายเส้นทาง ตามความต้องการ โดย ไม่กำาหนดตายตัว และไม่จำาเป็ นต้อง ไปตามเส้นทางโดยตรง อาจจะผ่าน จุดอื่น ๆ หรือ เลือกไปเส้นทางอื่นได้ หลาย ๆ เส้นทาง การติดต่อสื่อสาร

ผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต นั้ น อาจเรียกว่า การติดต่อสื่อสารแบบไร้ มิติ หรือ Cyberspace ประวัติความเป็ นมาของอินเทอร์เน็ต .........ปี พ.ศ. 2500 (1957) โซ เวียดได้ปล่อยดาวเทียม Sputnik ทำาให้สหรัฐอเมริกาได้ตระหนั กถึง ปั ญหาที่อาจจะเกิดขึ้น ดังนั้ น ค.ศ. 2512 (1969) กองทัพสหรัฐต้อง เผชิญหน้ากับความเสี่ยงทางการทหาร และความเป็ นไปได้ในการถ้กโจมตี ด้วยอาวุธปรมาณ้ หรือนิ วเคลียร์ การ ถ้กทำาลายล้าง ศ้นย์คอมพิวเตอร์ และ

ระบบการสื่อสารข้อม้ล อาจทำาให้เกิด ปั ญหาทางการรบ และในยุคนี้ ระบบ คอมพิวเตอร์ ที่มีหลากหลายมากมาย หลายแบบ ทำาให้ไม่สามารถแลก เปลี่ยนข้อม้ล ข่าวสาร และโปรแกรม กันได้ จึงมีแนวความคิด ในการวิจัย ระบบที่สามารถ เชื่อมโยงเครื่อง คอมพิวเตอร์ และแลกเปลี่ยนข้อม้ล ระหว่างระบบที่แตกต่างกันได้ ตลอด จนสามารถรับส่งข้อม้ลระหว่างกัน ได้ อย่างไม่ผิดพลาด แม้ว่าคอมพิวเตอร์ บางเครื่อง หรือสายรับส่งสัญญาณ เสียดายหรือถ้กทำาลาย

.........กระทรวงกลาโหมอเมริกัน (DoD = Department of Defense) ได้ให้ทุนที่มีช่ ือว่า DARPA (Defense Advanced Research Project Agency) ภายใต้การควบคุมของ Dr. J.C.R. Licklider ได้ทำาการทดลอง ระบบ เครือข่ายที่มีช่ ือว่า DARPA Network และต่อมาได้กลายสภาพ เป็ น ARPANet (Advanced Research Projects Agency Network) และต่อได้มาพัฒนาเป็ น INTERNET ในที่สุด การเริม ่ ต้นของ เครือข่ายนี้ เริม ่ ในเดือน ธันวาคม 2512 (1969) จำานวน 4

มหาวิทยาลัย ได้แก่ - มหาวิทยาลัยย้ทาห์ - มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนี ยที่ซานตา บาบารา - มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนี ยที่ลอส แองเจลิส - สถาบันวิจัยของมหาวิทยาลัยสแตน ฟอร์ด และขยายต่อไปเรื่อยๆ เป็ น 50 จุด ในปี พ.ศ. 2515 จนเป็ นหลายล้าน แห่งทัว่ โลกทีเดียว งานหลักของเครือ ข่ายนี้ คือ การค้นคว้าและวิจัยทาง ทหาร ซึ่งอาศัยมาตรฐานการรับส่ง

ข้อม้ลเดียวกัน ที่เรียกว่า Network Control Protocol (NCP) ทำา หน้าที่ควบคุมการรับส่งข้อม้ล การ ตรวจสอบความผิดพลาดในการส่ง ข้อม้ล และตัวกลางที่เชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องเข้าด้วยกัน และมาตรฐานนี้ ก็มีจด ุ อ่อนในการ ขยายระบบ จนต้องมีการพัฒนา มาตรฐานใหม่ .........พ.ศ. 2525 ได้มีมาตรฐาน ใหม่ออกมา คือ Transmission Control Protocol/Internet Protocol (TCP/IP) อันเป็ นก้าว

สำาคัญของอินเตอร์เน็ต เนื่ องจาก มาตรฐานนี้ ทำาให้คอมพิวเตอร์ต่าง ชนิ ดกัน สามารถรับส่งข้อม้ลไปมาระ หว่างกันได้ เปรียบเสมือนเป็ นหัวใจ ของอินเตอร์เน็ตเลยก็ว่าได้ .........จากระบบปฏิบัตก ิ าร คอมพิวเตอร์ ที่มีอย่้ในยุคนั้ น ไม่ สามารถตอบสนองการสื่อสารได้ บริษัทเบลล์ (Bell) ได้ให้ทุนการ ศึกษาแก่ ห้องทดลองที่มีช่ ือเสียงที่สุด แห่งหนึ่ ง ในสมัยต่อมา คือ Bell's Lab ให้ทดลองสร้าง ระบบปฏิบัติการ แห่งอนาคต (ของคนในยุคนั้ น) เดน

นิ ส ริสซี และ เคเน็ต ทอมสัน ได้ ออกแบบ และพัฒนาระบบที่มีช่ ือว่า UNIX ขึ้น และแพร่หลายอย่าง รวดเร็ว พร้อมๆ กับการแพร่หลาย ของระบบ Internet เนื่ องจากความ สามารถ ในการสื่อสารของ UNIX และมีการนำา TCP/IP มาเป็ นส่วน หนึ่ งของระบบปฏิบัตก ิ ารนี้ ด้วย ........พ.ศ. 2529 ม้ลนิ ธิวิทยาลัย ศาสตร์แห่งชาติ สหรัฐอเมริกา (National Science Foundation - NSF) ได้วางระบบเครือข่ายขึ้นมา อีกระบบหนึ่ ง เรียกว่า NSFNet ซึ่ง

ประกอบด้วยซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ 5 เครื่องใน 5 รัฐ เชื่อมต่อเพื่อ ประโยชน์ทางการศึกษา และค้นคว้า ทางวิทยาศาสตร์ และมีการใช้ มาตรฐาน TCP/IP เป็ นมาตรฐาน หลักในการรับส่งข้อม้ล ส่งผลให้การ ใช้งานเครือข่ายเป็ นไปอย่างรวดเร็ว หลังจากนั้ นก็มีเครือข่ายอื่นๆ เกิดขึ้น มาเช่น UUNET, UUCP, BitNet, CSNet เป็ นต้น และต่อมาได้เชื่อม ต่อกัน โดยมี NSFNet เป็ นเครือข่าย หลัก ซึ่งเปรียบเสมือนกระด้กสันหลัง ของเครือข่าย (Backbone)

.........ในปี พ.ศ. 2530 เครือข่าย ARPANET ได้รวมกับ NSFNET และลดบทบาทตัวเองลงมา เปลี่ยนไป ใช้บทบาทของ NSFNet แทน และ เลิกระบบ ARPANET ในปี พ.ศ. 2534 ในปั จจุบัน Internet เป็ นการต่อโยงทางตรรกะ (Logic) ของระบบคอมพิวเตอร์นับล้าน ๆ เครื่อง และโยงกับระบบ Wide Area Network (WAN) ต่างๆ เช่น MILNET, NSFNET, CSNET, BITNET หรือแม้แต่ เครือ ข่ายทางธุรกิจ เช่น IBMNET,

Compuserve Net และอื่น ๆ ภาย ใต้โปรโตคอล ที่มีช่ ือว่า TCP/IP โดยที่ขนาดของเครือข่าย ครอบคลุม ไปทัว่ โลก รวมทั้งประเทศไทย และมี การขยายขอบเขตออกไป อย่างไม่ หยุดยั้ง .........ระบบ Internet เป็ นการนำา เครือข่ายขนาดใหญ่ท่ีสุดของโลก ที่มี การต่อเสมือนกับ ใยแมงมุม หรือ World Wide Web หรือเรียกย่อๆ ว่า WWW (มีการบัญญัติศัพท์ว่า เครือข่ายใยพิภพ) ในระบบนี้ เรา สามารถเปรียบเทียบ Internet ได้

สองลักษณะคือ ลักษณะทางกายภาพ และทางตรรกะ ในทางกายภาพ (Physical) นั้ น Internet เป็ น เครือข่ายที่รบ ั อิทธิพลจาก เครือข่าย โทรศัพท์โดยตรง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทที่เป็ นผ้้ให้บริการ Internet ก็ เป็ นบริษัทที่ทำาธุรกิจ ทางโทรศัพท์ เช่น MCI, AT&T, BELL เป็ นต้น และอีกลักษณะหนึ่ ง ที่เป็ นความเด่น ของระบบ คือลักษณะทางตรรกะ หรือ LOGICAL CONNECTION ที่เป็ น เสมือนใยแมงมุม ครอบคลุมโลกไว้ อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย

........ปี พ.ศ. 2529 อาจารย์ กาญจนา กาญจนสุต จากสถาบัน เทคโนโลยีแห่งเอเซีย (AIT) ร่วมกับ อาจารย์โทโมโนริ คิม้ระ จากสถาบัน เดียวกัน ร่วมสร้างเครือข่าย คอมพิวเตอร์ โดยอาศัย - โมเด็ม NEC ความเร็ว 2400 Baud - เครื่องคอมพิวเตอร์พีซี NEC - สายโทรศัพท์ทองแดง ........โดยเครือข่ายที่ได้ วิ่งด้วย ความเร็ว 1200 - 2400 Baud และมีเสียงดังมาก จากนั้ นได้ปรับ เปลี่ยนไปใช้บริการไทยแพค ของการ

สื่อสารแห่งประเทศไทย ซึ่งใช้ เทคโนโลยี X.25 ผ่านการหมุน โทรศัพท์ไปยังศ้นย์บริการของการ สื่อสารแห่งประเทศไทย ทำาการรับส่ง อีเมล์กับมหาวิทยาลัยโตเกียว และ มหาวิทยาลัยเมลเบิร์น โดยใช้ โปรแกรม UUCP ตลอดจนส่งอีเมล์ ไปยังบริษัท UUNET ที่เวอร์จิเนี ย สหรัฐอเมริกา และนำามาใช้กับงาน ของอาจารย์ และงานสอนนั กศึกษาใน เวลาต่อไปนั บได้ว่า อาจารย์กาญจนา กาญจนสุต เป็ นบุคคลแรกที่เริม ่ ใช้ จดหมายอิเล็กทรอนิ กส์รายแรกของ

ประเทศไทยหลังจากนั้ นได้มีความ ร่วมมือระหว่างรัฐบาลออสเตรเลีย ภายใต้โครงการ The International Development Plan (IDP) ได้ให้ความช่วยเหลือกับ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (มอ.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบัน เทคโนโลยีแห่งเอเซีย พัฒนาเครือ ข่ายคอมพิวเตอร์ไทยขึ้นมา ........ในปี พ.ศ. 2531 โดยให้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย มีหน้าที่ เป็ นศ้นย์กลางของประเทศไทยในการ

เชื่อมโยงไปที่เครื่องแม่ข่าย ของมหา วิทยาลัยเมลเบิร์น และตั้งชื่อโครงการ นี้ ว่า TCSNet - Thai Computer Science Network โดยมีการติดต่อ ผ่านเครือข่ายวันละ 2 ครั้ง จ่ายค่าใช้ จ่ายปี ละ 4 หมื่นบาท และใช้ ซอฟต์แวร์ SUNIII ซึ่งเป็ นระบบ ปฏิบัติการ UNIX ประเภทหนึ่ ง ที่ แพร่หลายในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ของออสเตรเลีย (Australian Computer Science Network ACSNet)ซอฟต์แวร์ SUNIII เป็ น โปรแกรม UNIX ที่สามารถรับส่ง ข้อม้ลไปกลับได้เลยในการติดต่อครั้ง

เดียว ประกอบด้วยเครือข่ายการส่ง ข้อม้ลระบบ Multiple Hops ทำาให้ แตกต่างจาก UUCP ตรงที่ผ้ใช้ไม่ ต้องใส่คำาสัง่ และบอกที่อย่้ของจุด หมายปลายทางผ่านระบบทางไกล เพราะเครือข่าย SUNIII สามารถหา ที่อย่้ของปลายทาง และส่งข้อม้ลได้ เอง โปรแกรมนี้ ทำางานได้ดีท้ ังกับสาย เช่าแบบถาวร (Dedicated Line) สายโทรศัพท์ธรรมดาที่ติดต่อแบบ Dial-up และสายที่ใช้ X.25 นอกจากนี้ สถาบันเทคโนโลยีแห่ง เอเซีย ยังเป็ นศ้นย์เชื่อม

(Gateway) ระหว่างประเทศไทย กับ UUNET อันส่งผลให้นักวิชาไทย ทัว่ ไป สามารถใช้บริการจดหมาย อิเล็กทรอนิ กส์ ได้อย่างกว้างขวาง .........ปี พ.ศ. 2534 อาจารย์ทวี ศักดิ์ กออนั นตก้ล อาจารย์ภาควิชา วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ได้จัดตั้งศ้นย์อีเมล์แห่ง ใหม่ โดยใช้โปรแกรม MHSNet และ ใช้โมเด็ม 14.4 Kbps (ซึ่งเร็วที่สุด ในประเทศไทยในขณะนั้ น) และทำา หน้าที่แลกเปลี่ยนข้อม้ลกับเครื่อง Munnari ของออสเตรเลีย กับ

มหาวิทยาลัยต่างๆ ในประเทศผ่าน โปรแกรม UUCP เครือข่ายแห่งใหม่ นี้ ประกอบด้วยมหาวิทยาลัยต่างๆ ใน TCSNet และมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ตลอดจนศ้นย์ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิ กส์และ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) และใช้ช่ ือโครงการว่า "โครงการเชื่อม เครือข่ายไทยสารเข้ากับเครือข่าย อินเตอร์เน็ตต่างประเทศ" ........หลังจากนั้ นเนคเทค ก็ได้ พัฒนาเครือข่ายอีกเครือข่ายขึ้นมา โดยใช้ X.25 ร่วมกับ MHSNet และ

ใช้โปรโตคอล TCP/IP เกิดเป็ นเครือ ข่ายไทยสาร "Thai Social/Scientific Academic and Research Network ThaiSarn" ในปี พ.ศ. 2535 ปลายปี 2535 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เช่าชื้ อสาย ครึง่ วงจร 9.6 Kbps จากการสื่อสาร แห่งประเทศไทย เพื่อเชื่อมกับ UUNET สหรัฐอเมริกา ทำาให้จุฬาฯ เป็ นศ้นย์กลางแห่งใหม่สำาหรับเครือ ข่ายภายใต้ช่ ือ ThaiNet อันประกอบ ด้วย AIT, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และให้สา

มาชิกไทยสารใช้สายเชื่อมนี้ ได้โดยผ่า นทางเนคเทคอีกด้วย ภายใต้ระเบียบ การใช้อินเตอร์เน็ต (Appropriate Use Policy - AUP) ของ The National Science Foundation (NSF)และปี 2537 เนคเทค ได้เช่า ชื้ อสายเชื่อมสายที่สอง ที่มีขนาด 64 Kbps ต่อไปยังบริษัท UUNet ทำาให้ มีผ้ใช้เพิ่มมากขึ้น จาก 200 คนในปี 2535 เป็ น 5,000 คนในเดือน พฤษภาคม 2537 และ 23,000 คนในเดือนมิถุนายน ของปี 2537 AIT ทำาหน้าที่เป็ นตัวเชื่อมภายใน ประเทศระหว่าง ThaiNet กับ

ThaiSarn ผ่านสายเช่า 64 Kbps ของเครือข่ายไทยสาร ........ปี พ.ศ. 2538 รัฐบาลไทย เปิ ดบริการอินเตอร์เน็ตเชิงพาณิ ชย์ โดยมีบริษัทอินเตอร์เน็ตแห่ง ประเทศไทย จำากัด อันเป็ นบริษัทถือ หุ้นระหว่างการสื่อสารแห่ง ประเทศไทย องค์การโทรศัพท์แห่ง ประเทศไทย และสำานั กงานพัฒนา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยใช้สายเช่าครึง่ วงจร ขนาด 512 Kbps ไปยัง UUNet โดยถือว่าเป็ นบริษัทผ้้ใช้บริการ

อินเตอร์เน็ตรายแรกของประเทศไทย และได้เพิ่มจำานวนจนเป็ น 18 บริษัท ในปั จจุบัน ความสำาคัญของอินเทอร์เน็ต ........ปั จจุบันอินเตอร์เน็ต ได้เข้ามา มีบทบาทและความสำาคัญต่อชีวิต ประจำาวันของคนเรา ทั้งการศึกษา การพาณิ ชย์ ความบันเทิงและอื่นๆ ดังนี้ ดูานการศึกษา 1. สามารถใช้เป็ นแหล่งค้นคว้าหา ข้อม้ล ไม่ว่าจะเป็ นข้อม้ลทางวิชา

หรืออ่านหนั งสือออนไลน์ 2. ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต จะทำา หน้าที่เสมือนเป็ นห้องสมุดออนไลน์ 3. นั กศึกษาในมหาวิทยาลัย สามารถ ใช้อินเตอร์เน็ต ติดต่อกับ มหาวิทยาลัยอื่น ๆ เพื่อค้นหาข้อม้ลที่ กำาลังศึกษาอย่้ได้ ทั้งที่ข้อม้ลที่เป็ น ข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหวต่างๆ เป็ นต้น 4. สามารถทำาการเรียนการสอนผ่าน ระบบอินเตอร์เน็ตได้ ดูานการพาณิชย์ 1. ค้นหาข้อม้ลต่าง ๆ เพื่อช่วยใน

การตัดสินใจทางธุรกิจ 2. สามารถซื้ อขายสินค้า ผ่านระบบ เครือข่ายอินเตอร์เน็ต 3. ทำาการตลาดการโฆษณาผ่านเครือ ข่ายอินเตอร์เน็ต 4. ผ้้ใช้ท่ีเป็ นบริษัท หรือองค์กรต่าง ๆ ก็สามารถเปิ ดให้บริการ และ สนั บสนุ นล้กค้าของตน ผ่านระบบ เครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ เช่น การให้ คำาแนะนำา สอบถามปั ญหาต่าง ๆ ให้ แก่ล้กค้า แจกจ่ายตัวโปรแกรม ทดลองใช้ (Shareware) หรือ โปรแกรมแจกฟรี (Freeware)

เป็ นต้น ดูานการบันเทิง 1. การพักผ่อนหย่อนใจ เช่น การ ค้นหาวารสารต่าง ๆ ผ่านระบบเครือ ข่ายอินเตอร์เน็ต อ่านหนั งสือพิมพ์ และข่าวสารอื่นๆ โดยมีภาพประกอบ 2. การเล่นเกมออนไลน์ 3. สามารถฟั งวิทยุหรือด้การถ่ายทอด สดผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ 4. สามารถดึงข้อม้ล (Download) ภาพยนตร์ตัวอย่างทั้งภาพยนตร์ใหม่ และเก่า มาด้ได้

........นอกจากที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ในระบบอินเตอร์เน็ตยังมีบริการอื่นๆ อีกมากมาย พอจะสรุปได้ว่า อินเตอร์เน็ต มีความสำาคัญ ในการ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทัน สมัย การติดต่อสื่อสารที่สะดวก และ รวดเร็ว แหล่งรวบรวมข้อม้ลแหล่ง ใหญ่ท่ีสุดของโลก อินเตอร์เน็ตเป็ น เครื่องมือที่จำาเป็ นสำาหรับงานไอที ทำาให้เกิดช่องทางในการเข้าถึงข้อม้ล ที่รวดเร็ว ช่วยในการตัดสินใจ และ บริหารงานทั้งระดับบุคคลและองค์กร ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต

........ปั จจุบันอินเตอร์เน็ตได้เข้ามา มีส่วนร่วมในการสื่อสารและแลก เปลี่ยนข้อม้ลก่อให้เกิดประโยชน์ มากมายได้แก่ - ด้านการติดต่อสื่อสาร เกิดการแลก เปลี่ยนข้อม้ล การส่งไปรษณี ย์ อิเล็กทรอนิ กส์ หรือการพ้ดคุยด้วย การส่งสัญญาณภาพและเสียง - เป็ นระบบสื่อสารพื้ นที่จำาลอง (Cyberspace) ไม่มีข้อจำากัดทาง ศาสนา เชื้ อชาติ ระบบการปกครอง กฎหมาย - มีระบบการเรียนการสอนผ่านเครือ

ข่ายอินเตอร์เน็ต - สามารถค้นหาข้อม้ลในด้านต่างๆ ได้ผ่านบริการ World Wide Web - การบริการทางธุรกิจ เช่น สัง่ ซื้ อ สินค้า หรือการโฆษณาสินค้าต่างๆ - การบริการด้านการบันเทิงต่างๆ เช่น การด้ภาพยนตร์ใหม่ๆ การฟั ง เพลง ในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต การเกมออนไลน์ เป็ นต้น โทษของอินเทอร์เน็ต ........โทษของอินเตอร์เน็ต มีหลาก หลายลักษณะ ทั้งที่เป็ นแหล่งข้อม้ลที่ เสียหาย, ข้อม้ลไม่ดี ไม่ถ้กต้อง,

แหล่งซื้ อขายประกาศของผิดกฏ หมาย,ขายบริการทางเพศ ที่รวมและ กระจายของไวรัสคอมพิวเตอร์ต่างๆ - อินเตอร์เน็ตเป็ นระบบอิสระ ไม่มี เจ้าของ ทำาให้การควบคุมกระทำาได้ ยาก - มีข้อม้ลที่มีผลเสียเผยแพร่อย่้ ปริมาณมาก - ไม่มีระบบจัดการข้อม้ลที่ดี ทำาให้ การค้นหากระทำาได้ไม่ดีเท่าที่ควร - เติบโตเร็วเกินไป - ข้อม้ลบางอย่างอาจไม่จริง ต้องด้ให้ ดีเสียก่อน อาจถ้กหลอกลวง

-กลัน ่ แกล้งจากเพื่อนใหม่ - ถ้าเล่นอินเตอร์เน็ตมากเกินไปอาจ เสียการเรียนได้ - ข้อม้ลบางอย่างก็ไม่เหมาะกับเด็กๆ - ขณะที่ใช้อินเตอร์เน็ต โทรศัพท์จะ ใช้งานไม่ได้ ที่มา http://www.nrru.ac.th/learni ng/science/sc_006/01/index. html

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร และสืบคูนขูอม้ล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา .........จากการเปลี่ยนแปลงของ สภาวการณ์โลกที่กา้ วส่้โลกแห่งการ เรียนร้้เทคโนโลยีนานาประเทศต่าง พยายามปรับกลยุทธ์ เพื่อยกระดับ ศักยภาพของสังคมด้วยการนำา เทคโนโลยีร่วมสมัยถึงผลกระทบใน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสังคม 4 ด้าน คือ .......ด้านความร้้เทคโนโลยี

สารสนเทศช่วยอำานวยความสะดวกใน การขยายขอบเขตของความร้้ท้ ังใน แนวลึกและแนวกว้างให้แก่ผ้ศึกษา ค้นคว้า .......ผลกระทบประการที่สองคือ ทำาให้เกิดอาชีพใหม่และทุกคนจำาเป็ น ต้องมีความร้้และทักษะทางด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ .......ผลกระทบประการต่อไปคือ สังคม ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทาง ด้านความสัมพันธ์ของผ้้คนในสังคม รวมทั้งความไม่เท่าเทียมกัน ในสังคม ผลกระทบประการ สุดท้ายคือการ

อำานวยความสะดวกทั้งในด้านการ ศึกษา การดำารงชีวิต ช่วยในการคิด การตัดสินใจ และประหยัดเวลา ........เมื่อนั กการศึกษานำาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ ประโยชน์เพื่อการศึกษาให้สามารถ แข่งขันในโลกสากล ก่อให้เกิด ภ้มิปัญญาและการเรียนร้้อันจะนำาไปส่้ คุณภาพชีวิตที่ดีข้ ึนนั้ นถือได้ว่าเป็ น เรื่องสำาคัญในระดับประเทศ สำาหรับ ประเทศไทยได้กำาหนดยุทธศาสตร์การ พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารมาใช้ในวงการศึกษาเช่น

เดียวกัน เช่น การใช้ดาวเทียมสื่อสาร ใยแก้วนำาแสง ซีดีรอม มัลติมีเดีย อินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ช่วยสอน การเรียนการสอนผ่านเว็บ เป็ นต้น บทบาทและคุณค่าของเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการ ศึกษา .........การนำาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารมาใช้เพื่อการศึกษา มี หลายลักษณะคือ (ปทีป เมธาคุณวุฒิ, 2544 ; ถนอมพร เลาหจรัสแสง, 2542)

.......1) เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารลดความเหลื่อมลำ้าของ โอกาสทางการศึกษา สิ่งนี้ เป็ นเงื่อนไข สำาคัญในการตอบสนองนโยบายการ ศึกษาที่เป็ น "การศึกษาเพื่อประชาชน ทุกคน" ที่จะเป็ นการสร้างความเท่า เทียมทางสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความเท่าเทียมทางด้านการศึกษา ตัวอย่างที่สำาคัญคือ การเรียนการสอน ทางไกลที่ทำาให้ผ้เรียนในที่ห่างไกลใน ชนบทที่ด้อยโอกาส ให้มีโอกาสเท่า เทียมกับผ้้เรียนที่อย่้ในสถานที่ใน เมือง รวมทั้งการที่ผ้เรียนมีโอกาสเข้า

ถึงแหล่ง ข้อม้ลของโลก ผ่านทาง เครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรือการที่ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นเครื่องมือที่ ช่วยให้คนพิการสามารถมีโอกาสรับ การศึกษาในสิ่งแวดล้อมของคนปกติ และยังเปิ ดโอกาสให้คนพิการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนร้้ และเพื่อการประกอบอาชีพอีกด้วย ........2) เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารเป็ นเครื่องมือในการพัฒนา คุณภาพทางการศึกษา เทคโนโลยี สามารถทำาได้ในร้ปแบบต่าง ๆ เช่น การที่ผ้เรียนที่เรียนร้้โดยสามารถใช้

เวลาเพิ่มเติมกับบทเรียนด้วยสื่อซีดี รอมเพื่อตามให้ทันเพื่อน ผ้้เรียนที่รบ ั ข้อม้ลได้ปกติสามารถเพิ่ม ศักยภาพ ในการเรียนร้้ด้วยตนเองได้มากขึ้น จากความหลากหลายของเนื้ อหาใน สื่อสารอิเล็กทรอนิ กส์ นอกจากนี้ ฐาน ข้อม้ลอิเล็กทรอนิ กส์ท้ ังในระดับท้อง ถิ่นหรือระดับโลกอย่างระบบเวิลด์ไวด์ เว็บในอินเทอร์เน็ต ยังเปิ ดโอกาสให้ผ้ เรียนสามารถพัฒนาคุณภาพของการ เรียนร้้จากฐานข้อม้ลที่หลากหลาย และกว้างขวาง อย่างที่ระบบฐาน ข้อม้ลหรือห้องสมุดเดิมไม่สามารถ

รองรับได้ วิวัฒนาการของเทคโนโลยี สารสนเทศยังทำาให้ส่ ือทางเสียง สื่อ ข้อความ สื่อทางภาพ สามารถผนวก เข้าหากัน และนำาเสนอได้อย่างน่า สนใจและไม่น่าเบื่อ ไม่ว่าจะดึงข้อม้ล จากสื่อที่เก็บข้อม้ล เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอม หรือจากเครือข่าย ซึ่งปั จจุบัน มีเทคโนโลยีดิจิทัล และการบีบอัด สัญญาณที่ก้าวหน้าที่ได้อย่างรวดเร็ว และสมบ้รณ์ ในขณะเดียวกันข้อม้ลที่ มีประโยชน์ยังสามารถเก็บบันทึกและ เรียกใช้ร่วมกันได้จากคลังดิจิทัล (Digital Archive) ในร้ปแบบต่าง

ๆ นอกจากนี้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ประเภทความจริงเสมือน (Virtual Reality) ยังสามารถประยุกต์ใช้เป็ น ประโยชน์ทางการศึกษาและการฝึ ก อบรม .........3) การพัฒนาบุคลากร ทางการศึกษาให้มีความร้้ทางด้าน เทคโนโลยี ในประเด็นนี้ ได้คำานึ งถึง ระดับการสร้างทักษะพื้ นฐาน (Literacy) การสร้างผ้้สอนที่มีความ ร้้ท่ีจะใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและ การสื่อสารประกอบการเรียนการสอน การสร้างผ้้มค ี วามร้้ ความชำานาญ

เฉพาะศาสตร์ทางคอมพิวเตอร์ใน ระดับต่าง ๆ เพื่อที่จะนำาไปส่้การ คิดค้นสร้างสรรค์เทคโนโลยี สารสนเทศ และที่จำาเป็ นมากสำาหรับ ประชาชนทัว่ ไป คือการสร้างทักษะพื้ น ฐานทางคอมพิวเตอร์ ........4) บทบาทของอินเทอร์เน็ต กับการศึกษา อินเทอร์เน็ตเป็ น "เครือ ข่ายแห่งเครือข่าย" (Network of Networks) ทำาให้เกิดการเชื่อมโยง กันอย่างเสรี โดยไม่มก ี ารปิ ดกั้น การ เผยแพร่และสืบค้นข้อม้ลผ่านระบบ เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web)

ทำาให้บุคคลสามารถเผยแพร่ข้อม้ล ของตนเองต่อโลกได้ง่าย พอกับการ สืบค้นข้อม้ลโดยใช้ระบบทะเบียนที่อย่้ (Uniform Resource LocatorURL) และผ่านตัวสืบค้น (Search Engines) ต่าง ๆ นอกจากนั้ นการ สื่อสารผ่านระบบไปรษณี ย์ อิเล็กทรอนิ กส์ (Electronic Mail หรือ E-mail) เป็ นการปฏิวัติระบบ การสื่อสารทัว่ โลกด้วยสะดวก ความเร็ว และถ้กต้องสมบ้รณ์ รวมทั้ง การแลกเปลี่ยนสาระความร้้ผ่านระบบ แผนกระดานข่าว (Bulletin Board) และกลุ่มอภิปราย

(Discussion Groups) ต่าง ๆ ทำาให้เกิดการ แลกเปลี่ยนความร้้กัน อย่างกว้างขวางและทัว่ ถึงกันมากขึ้น ร้ปแบบของการสืบค้นข้อม้ลของภาษา HTML (Hyper Text Markup Language) นอกจากความสะดวก และง่ายต่อการใช้แล้วยังเป็ นสภาพ แวดล้อมที่อาจมีผลทางจิตวิทยาให้ผ้ ใช้ค้นหาข้อม้ลลึกลงไป โดยสรุปเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร มีส่วนสัมพันธ์หรือเอื้ อต่อการ ศึกษาทั้งในด้านการเรียนการสอน การวิจัย การบริหาร และการบริการ

สังคม การใชูเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ..........การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จัดว่าเป็ นการศึกษาที่สำาคัญส้งสุดใน การเตรียมนิ สิตให้มีความร้้และทักษะ ในการแสวงหาความร้้ด้วยปั ญญา การ วิจัยเป็ นกระบวนการแสวงหาความร้้ ความจริงอย่างเป็ นระบบ จึงเป็ นที่ ยอมรับกันว่าหลักส้ตรระดับบัณฑิต ศึกษาทุกหลักส้ตรไม่ว่าจะเป็ นระดับ มหาบัณฑิตทั้งแผน ก และแผน ข

หรือระดับดุษฎีบัณฑิตทั้งแบบ 1 และ แบบ 2 มีข้อกำาหนดให้นิสิตต้อง ทำาการวิจัยที่แสดงถึงความคิดริเริม ่ โดยอาจทำาในร้ปวิทยานิ พนธ์หรือการ ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองในลักษณะ โครงการวิจัยขนาดเล็ก นอกจากจะวัด จากตัวมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต แล้ว ยังต้องวัดจากคุณภาพและความ เป็ นเลิศทางวิชาการของวิทยานิ พนธ์ หรือรายงาน/โครงการวิจัยที่นิสิต นั กศึกษาได้จัดทำาตามข้อกำาหนดของ หลักส้ตรด้วย (สุวิมล ว่องวาณิ ช และ นงลักษณ์ วิรช ั ชัย , 2546)

........การที่จะให้นิสิตนั กศึกษาใช้ กระบวนการวิจัยเป็ นส่วนหนึ่ งของการ เรียนระดับบัณฑิตศึกษาได้น้ ั น นิ สิต จะต้องศึกษาค้นคว้า สร้าง และพัฒนา งานวิจัยหรือรายงาน/โครงการวิจัย อย่างจริงจัง เพื่อสร้างองค์ความร้้ เผย แพร่ความร้้ควบค่้ไปกับการเรียนร้้และ ติดตามความ ก้าวหน้าในองค์ความร้้ ของต่างประเทศ ดังนั้ นนิ สต ิ จำาเป็ น ต้องมีทักษะในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการ ศึกษา เช่น การสืบค้นข้อม้ลจาก แหล่งการเรียนร้้ต่าง ๆ และแหล่งการ

เรียนร้้ท่ีได้รบ ั การยอมรับว่าเป็ นอภิ มหาขุมทรัพย์ทางปั ญญาคือ เครือข่าย อินเทอร์เน็ต เนื่ องจากเครือข่าย อินเทอร์เน็ตเป็ นศ้นย์รวมของข้อม้ล ทุกสาขาจากทัว่ ทุกมุมโลก และ สามารถเข้าถึงแหล่งข้อม้ลได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ ที่สำาคัญคือนิ สิตจะต้องมี ทักษะในการสื่อสารผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ตได้ การวิจัยและการ ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองของนิ สิต จำาเป็ นต้องวิเคราะห์ข้อม้ลจากผลการ วิจัยหรือการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ........การที่จะให้การวิเคราะห์ข้อม้ล

การวิจัยหรือการศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง ถ้กต้อง รวดเร็ว นิ สิตจึงควรร้้ เรื่องการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารเพื่อประโยชน์ในการ วิเคราะห์ข้อม้ลอีกด้วย และเพื่อเผย แพร่ความร้้ท่ีได้จากการวิจัยหรือการ ศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง นิ สิตจำาเป็ น ต้องมีทักษะที่สำาคัญอีกทักษะหนึ่ งคือ ทักษะการนำาเสนอ ....4.1 การสืบค้นข้อม้ลและการ สื่อสารผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ...........4.1.1 การสืบค้นข้อม้ล ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เครือข่าย

อินเทอร์เน็ตในปั จจุบันมีข้อม้ล ข่าวสารอย่้มากมายหลายอย่าง โดย เฉพาะข้อม้ลที่มีให้บริการอย่้ในระบบ World Wide Web ซึ่งเป็ นที่ได้รบ ั ความนิ ยมอย่างมากสำาหรับผ้้ใช้บริการ อินเทอร์เน็ต หากทราบว่าข้อม้ลที่ ต้องการอย่้ท่ีเว็บไซด์ใด นิ สต ิ นั กศึกษาสามารถเปิ ดเว็บไซด์น้ ั นได้ ทันที เช่น ต้องการหาข้อม้ลเกี่ยวกับ การศึกษาสามารถค้นคว้าจากแหล่ง ต่าง ๆ ดังนี้ .......................http://www. moe.go.th/ กระทรวงศึกษาธิการ .......................http://www.

onec.go.th/ สกศ. .......................http://www. nu.ac.th/ สำานั กหอสมุด/ศ้นย์วิทย บริการต่าง ๆ .......................http://www. tiac.or.th/ ฐานข้อม้ลวิทยานิ พนธ์ ไทย ........แต่เนื่ องจากข้อม้ลในระบบ World Wide Web มีอย่้มากมาย จึงเป็ นเรื่องยากที่จะทราบได้ว่าข้อม้ล ที่ต้องการนั้ นอย่้ท่ีใด เครื่องมือที่จะ ช่วยให้ผ้ใช้บริการอินเทอร์เน็ต สามารถค้นหาข้อม้ลที่ต้องการได้น้ ั น เรียกว่า Search Engine และ

ปั จจุบันนี้ ก็มี Search Engines ให้ เลือกใช้บริการมากมาย ที่ทำาหน้าที่ ค้นหาข้อม้ลหลายร้ปแบบ ซึ่งจะช่วย ให้ผ้ใช้ค้นหาข้อม้ลที่ต้องการได้อย่าง รวดเร็วมากยิ่งขึ้นทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ เช่น http://www.thaifind.com/ http://www.ixquick.com/ http://www.thaiseek.com/ http://www.yahoo.com%20/ http://www.thaiall.com/ http://www.lycos.com/ http://www.thainame.net/m ain.html http://www.netfind2.aol.com / http://www.sanook.com/

http://www.excite.com/ http://www.google.com/ http://www.altavista.com/ http://www.aromdee.com/ http://www.freestation.com/ ........Search Engines ที่ได้รบ ั ความนิ ยมใช้กันมาก ได้แก่ yahoo, AttaVista, Infoseek, Excite และ Sanook เป็ นต้น Search Engines เป็ นเครื่องมือสำาหรับนิ สิต นั กศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในการ สืบค้นข้อม้ล เพื่อค้นหา สร้าง และ พัฒนางานวิจัย รายงาน หรือโครงการ วิจัย ดังนั้ นนิ สิตนั กศึกษาบัณฑิต ศึกษาจำาเป็ นต้องมีทักษะในการใช้

เครื่องมือช่วยค้นหาข้อม้ลบนเครือ ข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อประโยชน์ ดัง กล่าว ..........4.1.2 การสื่อสารผ่านเครือ ข่ายอินเทอร์เน็ต : จดหมาย อิเล็กทรอนิ กส์ ในยุคแห่งสังคมข่าวสารเช่นปั จจุบัน การติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์มีบทบาทและมีความ สำาคัญเพิ่มขึ้น การแลกเปลี่ยนข่าวสาร ระหว่างกันทัว่ ทุกมุมโลกทำาได้ง่าย เพียงแค่ ปลายนิ้ วสัมผัส นิ สต ิ นั กศึกษาสามารถติดต่อสื่อสารกับผ้้

สอน เพื่อน ผ้้เชี่ยวชาญ ผ้้ทรงคุณวุฒิ ได้อย่างทัว่ ถึงทุกมุมโลกได้อย่าง รวดเร็ว หรือเพื่อประโยชน์ในการเก็บ รวบรวมข้อม้ลประกอบการวิจัย โดย ใช้จดหมายอิเล็กทรอนิ กส์หรือ ไปรษณี ย์อิเล็กทรอนิ กส์ (Electronic Mail) หรือที่นิยมเรียก สั้น ๆ ว่า อี-เมล์ (E-mail) อี-เมล์ เป็ นบริการหลักที่ใช้เป็ นเครื่อง มือติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ตที่นิยมกันมากที่สุด เนื่ องจากสามารถพิมพ์ข้อความและ ส่งจดหมายหรือแนบไฟล์ไปพร้อมกับ

จดหมายผ่านเครือข่ายไปยังบุคคล หรือกลุ่มบุคคลที่อย่้ห่างไกลถึงคนละ ซีกโลกได้ภายในวันเวลาเพียงไม่ก่ี วินาที จากความสะดวก รวดเร็ว ความประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายของ อี-เมล์ ทำาให้มีการประมาณกันว่าใน วันหนึ่ ง ๆ คนทัว่ โลกรับ-ส่งอีเมล์กัน เป็ นจำานวนหลายพันล้านฉบับ ..........สิ่งจำาเป็ นสำาหรับการใช้ บริการจดหมายอิเล็กทรอนิ กส์ มีดัง ต่อไปนี้ ........1) สมาชิกกับผ้้ให้บริการ อินเทอร์เน็ต หรือ ISP (Internet

Service Provider) ทั้งนี้ ก็เพื่อ เชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ของนิ สิต นั กศึกษาเข้าส่้ระบบอินเทอร์เน็ต ........2) E-mail Address ส่วน ตัว เพื่อใช้ในการรับ -ส่งจดหมาย อิเล็กทรอนิ กส์ ตัวอย่างของ E-mail Address เช่น [email protected] [email protected] เป็ นต้น ........3) โปรแกรมที่ใช้ในการรับ ส่ง E-mail ซึ่งมีด้วยกันหลาย โปรแกรมด้วยกัน ลักษณะการใช้งาน E-mail สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ

...............3.1) การใช้งานแบบ ออนไลน์ (Online) ผ้้ใช้จะทำาการ เชื่อมต่อเข้ากับศ้นย์บริการ อินเทอร์เน็ตตลอดเวลาที่ใช้งาน Email รวมถึงการเขียนจดหมาย การ อ่านจดหมาย การตอบจดหมาย และ การส่งจดหมาย ซึ่งก็เท่ากับว่าผ้้ใช้จะ ต้องเสียค่า Usage Time หรือเวลา ที่เชื่อมต่อเข้าส่้ระบบ อินเทอร์เน็ต ตลอดระยะเวลาของการใช้งาน ...............3.2) การใช้งานแบบ ออฟไลน์ (Offline) ผ้้ใช้จะทำาการ เชื่อมต่อเข้าส่้ศ้นย์บริการอินเทอร์เน็ต

ก็ต่อเมื่อต้องการส่งจดหมายออกไป และขณะที่ต้องการรับจดหมายใหม่ เท่านั้ น ซึ่งในช่วงของการเขียน จดหมาย การอ่านจดหมาย และการ ตอบจดหมาย ผ้้ใช้ไม่จำาเป็ นต้องเชื่อม ต่อเข้าส่้ศ้นย์บริการอินเทอร์เน็ต นั บ ได้ว่าเป็ นการประหยัดค่า Usage Time ได้เป็ นอย่างดี วิธีการใช้อีเมล์ เป็ นเรื่องง่ายและสะดวกรวดเร็วมาก เมื่อนิ สิตนั กศึกษาจะส่งจดหมายถึง ผ้้ ใดจะต้องทราบ e-mail address ของผ้้น้ ั นก่อน เช่นเดียวกันนิ สต ิ นั กศึกษาต้องมี e-mail address

ด้วยเช่นกัน โดยจะใช้บริการของเว็บ ไซด์ใดก็ได้ สำาหรับนิ สิตมหาวิทยาลัย นเรศวรจะได้รบ ั e-mail address ส่วนตัวทุกคน ตั้งแต่เข้าศึกษาจน กระทัง่ จบการศึกษา โดยใช้รหัสประจำา ตัว เช่น 9465……[email protected] (e-mail address นี้ จะใช้ได้ เฉพาะขณะมีสถานภาพเป็ นนิ สิตของ มหาวิทยาลัยนเรศวรเท่านั้ น) ปั จจุบันมีผ้ให้บริการ e-mail โดยไม่ คิดค่าใช้จ่ายหลายรายทั้งในประเทศ และต่างประเทศ เช่น http://www.thaimail.com/

http://www.hotmail.com/ http://www.yahoo.com%20/ ทั้งนี้ บริการจะแตกต่างกันขึ้นอย่้กับ เนื้ อที่เก็บข้อม้ล ประเภทของบริการ เสริมหรือล้กเล่นพิเศษ เป็ นต้น ร้ปแบบของ e-mail address (ที่ อย่้ของ e-mail) มีส่วนประกอบที่ สำาคัญ 2 ส่วน คือ .........ส่วนที่ 1 คือ ชื่อ e-mail ของผ้้รบ ั (อาจเป็ นชื่อจริงหรือชื่อ สมมุติ) มักจะเรียกว่า Login Name หรือ Account Name .........ส่วนที่ 2 คือ ชื่อเว็บไซด์ของ

ผ้้ให้บริการ e-mail หรือ Domain Name คือชื่อเครื่องที่นิสิตมีทะเบียน อย่้ (เช่น [email protected]) .........ทั้ง 2 ส่วน จะถ้กคัน ่ ด้วย เครื่องหมาย @ (at=แอท) ดังนั้ น หากนิ สิตจะบอกชื่อ e-mail address ของตนให้กับผ้้รบ ั นิ สิตจะ ต้องอ่านส่วนที่ 1 แอท ส่วนที่ 2 เช่น ssengsri at thaimail dot com การส่ง e-mail นั้ น แม้ว่านิ สต ิ นั กศึกษาจะใช้บริการของเว็บไซด์ใด ส่วนใหญ่จดหมายจะประกอบด้วย ส่วนต่าง ๆ ดังนี้ ........1) From ถ้าเป็ นจดหมายที่

เราพิมพ์ออกไป ก็จะหมายถึงชื่อ อีเมล์ของเรา ซึ่งโปรแากรมส่งอีเมล์ มักพิมพ์อัตโนมัติให้ หรือถ้าเป็ น จดหมายที่เรารับเข้ามาก็จะเป็ นชื่อ อีเมล์ของผ้้ส่งจดหมายมาให้ ........2) To หมายถึง อีเมล์ผ้รบ ั ปลายทาง ผ้้ส่งต้องร้้ช่ ืออีเมล์ท่ีสะกด ถ้กต้องของผ้้รบ ั ด้วย ไม่ฉะนั้ นอาจมี การส่งจดหมายผิดหรือจดหมายอาจตี กลับโดยอัตโนมัติ ถ้าไม่มีผ้รบ ั ตามจ่า หน้า นอกจากนี้ ในการส่งจดหมายนั้ น อาจส่งถึงหลาย ๆ คนพร้อมกันได้ใน ครั้งเดียวก็ได้

........3) Subject หมายถึง หัว เรื่องที่จะพ้ดคุยเป็ นหัวข้อสรุปเนื้ อ ความในจดหมาย ........4) CC (Carbon Copy) หมายถึง การสำาเนาจดหมายเดียวกัน นี้ ถึงชื่ออีเมล์ผ้อ่ ืนให้รบ ั ทราบด้วย ........5) BCC (Blind Carbon Copy) สำาเนาจดหมายเดียวกันนี้ ถึง ชื่ออีเมล์ผ้อ่ ืนให้รบ ั ทราบคล้าย CC แต่จะซ่อนชื่ออีเมล์ผ้รบ ั ไม่ให้ใครเห็น ........6) Attachment หมายถึง การแนบเอกสารอื่นไปพร้อมกับอีเมล์ เช่น ไฟล์ร้ปภาพ ไฟล์เสียง เป็ นต้น โดยจะระบุถึงชื่อไฟล์ท่ีต้องการแนบ

ไปกับอีเมล์น้ ี ........7) Body หมายถึง พื้ นที่ สำาหรับเนื้ อความของจดหมาย ให้ผ้ใช้ พิมพ์ข้อความจดหมายได้ทันที ........8) Signature หมายถึง ข้อความสำาหรับลงท้ายจดหมาย ซึ่ง เจ้าของอีเมล์น้ ั น ๆ สามารถกำาหนด ขึ้นเองได้ โดยพิมพ์ไว้เพียงครั้งเดียว ในส่วนของซิกเนเจอร์ มักนิ ยมใช้กับ คำาขอบคุณ ชื่อผ้้ส่ง ที่อย่้ เบอร์ โทรศัพท์ แล้วโปรแกรมจะแทรกซิก เนเจอร์ ต่อท้ายเนื้ อความให้โดย อัตโนมัติ

........9) New Message หรือ Compose เริม ่ เขียนจดหมายใหม่ .......10) Reply ใช้ในกรณี ท่ี ต้องการตอบจดหมายฉบับที่กำาลังอ่าน .......11) Reply to all ใช้ในกรณี ที่ต้องการตอบจดหมายฉบับที่กำาลัง อ่านอย่้ แต่จดหมายฉบับนั้ นมีผ้รบ ั หลายคน และถ้าผ้้อ่านต้องการตอบ จดหมายถึงผ้้รบ ั ทุกคน รีพลายท้ออล จะคัดลอกชื่อ ผ้้อ่ ืนที่เกี่ยวข้องกับ อีเมล์ฉบับนี้ ให้ได้รบ ั เมล์ตอบพร้อม กันด้วย .......12) Forward ส่งจดหมาย

ฉบับที่กำาลังอ่าน ต่อไปให้ผ้อ่ ืน .......13) Delete ลบจดหมายฉบับ ที่กำาลังอ่านออกจากต้้จดหมาย .......14) Send ใช้ในกรณี ท่ี ต้องการให้โปรแกรมส่ง (Send) จดหมาย .......15) > (เครื่องหมายมากกว่า ) มักจะพบในส่วนเนื้ อความของ จดหมาย คือถ้าเป็ นจดหมายที่ตอบ โดยใช้ Reply โปรแกรมจะสำาเนา ข้อความเดิมมาไว้ในจดหมายที่กำาลัง จะส่งด้วย โดยมีเครื่องหมาย ">" นำา หน้าทุกบรรทัด เพื่อให้ร้ว่าไม่ใช่

ข้อความใหม่ วิธีการสืบคูนขูอม้ลโดยใชู Google 1 Google จะใช้ and (และ) อย่้ใน ประโยคเสมอ เช่น ค้นหา harvest moon back to nature Google จะค้นหาแบบ harvest AND moon AND back….(พ้ดง่ายๆ คือ ค้นหาแบบแยกคำา) 2 การใช้ OR (หรือ ) คือการให้ Google หาข้อม้ลมากขึ้นจาก คำา A และ คำา B (พ้ดง่ายๆ คือนำาผลที่ได้ มารวมกัน) วิธีใช้ พิมพ์ OR ด้วยตัว

ใหญ่ระหหว่างคำาที่ต้องการ เช่น vacation London OR paris คือ หาทั้งใน London และ Paris 3 Google จะละคำาทัว่ ๆไป (เช่น the ,to , of) และตัวอักษรเดี่ยว เพราะจะทำาให้ค้นหาช้าลง แต่ถา้ คำา พวกนั้ นสามารถช่วยให้หาข้อม้ลง่ายขี้ น ก็ต้องใช้เครื่องหมาย + ช่วยโดย นำาไปอย่้ข้างหน้าคำานั้ น (ต้องเว้น วรรคก่อนด้วย) เช่น back + to nature หรือ final fantasy + x 4 Google สามารถกับขอบเขตการ

ค้นหาให้เล็กลงด้วยการใช้ Advanced Search หรือ การ ค้นหา แบบพิเศษ ใน Google ภาษา ไทย 5 Google สามารถตัดคำาพ้องร้ปได้ โดยใช้เครื่องหมาย - ช่วยโดยการนำา ไปอย่้คำาที่จะตัด เช่นคำาว่า bass มี 2 ความหมายคือ เกี่ยวกับปลา และ ดนตรีเราจะตัดที่มีความหมายเกี่ยว กับดนตรีออกโดยพิมพ์ bass – music หมายคามว่า bass ที่ไม่มค ี ำา ว่า music นอกจากนี้ มันยังสามารถ ตัดอย่างอื่นได้อีก เช่น “front

mission 3” – filetype:pdf หมายความว่า เรื่องเกี่ยวกับ front mission 3 แต่ไม่แสดงไฟล์ PDF 6 การค้นหาแบบทั้งวลี (คือการค้นหา ทั้งกลุ่มคำา) ให้ใช้เครื่องหมาย * * เช่น *Breath of fire lV 7 Google สามารถแปลเว็บภาษา Italian, French, Spanish, German, และ Portuguese เป็ น ภาษาอังกฤษได้ (โดยคลิ้กที่คำาว่า “ Translate this page “ ด้านข้าง ชื่อเว็บ)

8 Google สามารถหาไฟล์ในร้ปแบ บอื่นๆที่ไม่ใช่ HTML ได้ ประเภท ไฟล์ท่ีรองรับคือ Adobe Portable Document Format (นามสกุล ของไฟล์ PDF)Adobe PostScript (นามสกุลของไฟล์ PS)Lotus 1-23 (นามสกุลของไฟล์ wk1, wk2, wk3, wk4, wk5, wki, wks, wku)Lotus WordPro (นามสกุล ของไฟล์ lwp)MacWrite (นามสกุ ลของไฟล์ mw)Microsoft Excel (นามสกุลของไฟล์ xls)Microsoft powerPoint (นามสกุลของไฟล์ ppt)Microsoft Word (นามสกุล

ของไฟล์ doc)Microsoft Works ( นามสกุลของไฟล์ wks, wps, wdb)Microsoft Write (นามสกุล ของไฟล์ wri)Rich Text Format (นามสกุลของไฟล์ rtf)Text (นามสกุลของไฟล์ ans หรือ txt)วิธี ใช้ filetype:นามสกุลของไฟล์ เช่น “Chrono Cross’ filetype:pdf หมายความว่าเอกสารของ Chromo Cross ที่เป็ น pdf และมันยังมีความ สามารถด้ไฟล์เหล่านั้ นในร้ปแบบของ HTML ได้ (โดยคลิ้ก View as HTML หรือ ร้ปแบบ HTML ใน

Google ไทย) 9 Google สามารถเก็บ Cached ของเว็บที่จะเข้าชมไว้ได้ (โดยคลิ้กที่ Cached หรือ ถ้กเก็บไว้ ใน Google ภาษาไทย) ประโยชน์ของ มันคือช่วยให้เราสามารถเข้าเว็บบาง เว็บที่อาจโดนลบไปแล้ว โดยข้อม้ลที่ เป็ นข้อม้ลก่อนถ้กลบ (ใหม่สุดที่มัน จะมีได้) 10 Google สามารถค้นหาหน้าที่ คล้ายกัน(โดยคลิ้ก Similar pages หรือ หน้าที่คล้ายกันใน Google

ภาษาไทย) โดยจะค้นหาข้อม้ลที่ คล้ายๆ กันให้เรา เช่น ถ้าเรากำาลงหา ข้อม้ลการวิจัยความสามารถนี้ จะช่วย ให้หาข้อม้ลได้มากมาย ในเวลาที่ รวดเร็วโดยไม่ต้องเป็ นห่วงเรื่อง keyword 11 Google สามารถค้นหา link ทั้งหมดที่เชื่อมไปยังเว็บนั้ นได้ วิธีใช้ link:ชื่อ UEL เช่น link:www.google.com แต่คุณ ไม่สามารถใช้ความสามารถนี้ ร่วมกับ การหาแบบอื่นๆ ได้

12 Google สามารถค้นหาเว็บทีจำา เพระเจาะจงได้ โดยพิมพ์ คำาที่คุณ ต้องการเจาะจง site:ชื่อ URL เช่น ถ้าคุณต้องการหาเว็บเกี่ยวกับการเข้า (admission) มหาวิทยาลัย Standford ให้พิมพ์ admission site:www.stanford.edu 13 ถ้าคุณมีเวลาน้อย (และคิดว่าโชค ดี) Google มีบริการค้นหาด่วน (ชื่อ บริการ I’m Feeling Lucky) โดยที่ Google จะนำาเว็บที่อย่้ลำาดับ แรกของการค้นหาส่งให้คุณเลย(link ไปเว็บนั้ นให้เสร็จ) เช่น คุณต้องการ

ค้นหาเว็บมหาวิทยาลัย Stanford อย่างด่วนให้พิมพ์ Stanford แล้ว กด I’m Feeling Lucky หรือ ใช่ เลย! เจอแน่ๆ ใน Google ไทย 14 Google สามารถหาแผนที่ของ สหรัฐอเมริกาได้โดยพิมพ์ ที่อย่้ ชื่อ ถนน พร้อมด้วยชื่อรัฐ เช่น 165 University Ave palo Alto CA Google จะจัดการส่งแผนที่คุณภาพ ส้งมาให้คุณ 15 Google สามารถ หาเบอร์โทร (เฉพาะอเมริกา) หรือพิมพ์เบอร์โทร

แล้วหาบริษัทได้โดยพิมพ์ First name (or first initial) , last name, city (state is optional)First name (or first initial) , last name, stateFirst name (or first initial) , last name, area codeFirst name (or first initial) , last name, zip codePhone number, including area codeLast name, city, state Last name, zip code แล้วแต่ว่าจะใช้แบบไหน 16 Google สามารถค้นหา Catalog สินค้าได้ (เข้าไปที่ http://catalogs.google.com/) 17 Google สามารถเก็บข้อม้ล

ลักษณะการใช้ท่ีคุณต้องการได้โดย เข้าไปที่ Preferences หรือ ตัว เลือกใน Google ไทย ที่มา http://www.edu.nu.ac.th/sup anees/lesson/366515/unit2_ p01.html

ฝึ กปฏิบัติการใชูเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการสื่อสารและสืบคูน .........โลกในยุคปั จจุบันเป็ นยุคของ ข้อม้ลข่าวสารและยุคทางด่วนข้อม้ลที่ ก้าวหน้ามาก เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารมีบทบาทที่สำาคัญใน

ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการทำางาน ผ้้ท่ีมีข้อม้ลและสามารถหาข้อม้ลได้ ก่อน ผ้้อ่ ืนจะได้เปรียบในทุกด้าน การ สร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เชื่อมโยงกันทัว่ โลกหรือที่เราเรียกว่า อินเทอร์เน็ต มีบทบาทที่สำาคัญและ ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อชีวิต ประจำาวันของเราหลายด้าน จึงจำาเป็ น อย่างยิ่งที่นิสิตจะได้ศึกษาและ ทำาความเข้าใจ เพื่อจะได้นำาไปใช้ให้ เกิดประโยชน์ส้งสุดในการศึกษาและ อื่น ๆ ต่อไปในอนาคตได้ ........คำาว่า อินเทอร์เน็ต มาจากคำา

เต็มว่า International Network หรือเขียนแบบย่อว่า Internet หมายความว่า เครือข่ายนานาชาติ หรือเครือข่ายสากล คือเครือข่าย คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ท่ีเชื่อมโยง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทัว่ โลกเข้าด้วย กัน โดยเป็ นระบบเครือข่ายของเครือ ข่าย (Network of Networks) ใน ปั จจุบันมีเครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีเชื่อม โยงกันอย่้มากกว่า 60 ล้านเครื่อง มา เชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข่าวสารกัน การที่คอมพิวเตอร์ท่ีแตกต่างกันหลาย ชนิ ดจำานวนมากมายทัว่ โลก เชื่อมโยง

กันได้ จะต้องใช้เกณฑ์ท่ีใช้ในการ เชื่อมต่อหรือโพรโทคอล (Protocol) เดียวกัน จึงจะเข้าใจกันได้ และ เกณฑ์วิธีท่ีนำามาใช้กับการเชื่อมโยงต่อ อินเทอร์เน็ตในปั จจุบันมีช่ ือเรียกว่า ที ซีพี/ไอพี (TCP/IP) ..........อินเทอร์เน็ตถ้กนำาไปใช้งาน ในด้านต่าง ๆ มากมาย ทั้งในด้าน สื่อสาร เช่น ไปรษณี ย์อิเล็กทรอนิ กส์ หรืออีเมล (Electronic Mail หรือ E-mail) การสนทนาผ่านระบบ คอมพิวเตอร์หรือห้องคุย (Chat Room) ด้านแหล่งความร้้และความ

บันเทิง ด้านการซื้ อขายสินค้าและ บริการหรือเราเรียกว่าการพาณิ ชย์ อิเล็กทรอนิ กส์ (E-commerce) นั บวันอินเทอร์เน็ตจะยิ่งเข้ามามี บทบาทในชีวิตประจำาวันของเรามาก ขึ้น การที่มีระบบอินเทอร์เน็ตช่วยให้ นิ สิตสามารถเคลื่อนย้ายข้อม้ลจาก ส่วนต่าง ๆ ของโลก โดยไม่จำากัด ระยะทางได้รวดเร็วยิ่งขึ้น การส่ง ข้อม้ลสามารถทำาได้หลายร้ปแบบคือ ภาพ เสียง ข้อความต่าง ๆ ระบบ อินเทอร์เน็ตอาศัยเทคโนโลยี โทรคมนาคมเป็ นตัวเชื่อมต่อเครือข่าย

ในประเทศไทยอินเทอร์เน็ตได้รบ ั ความนิ ยมอย่างแพร่หลายทุกสาขา วิชาชีพ มีสมาชิกใช้งานในระบบเชื่อม ไปถึงสถานศึกษาต่าง ๆ ทั้งในส่วน กลางและภ้มิภาค ตลอดถึงประชาชน ทัว่ ไปด้วย นอกจากนี้ ทางรัฐบาลได้ ผลักดันให้มีการใช้งานอินเทอร์เน็ต เชื่อมโยงไปถึงระดับองค์กรบริหาร ส่วนตำาบล (อบต.) ที่เราเรียกว่า เครือข่ายอินเทอร์เน็ตตำาบล ใช้ในการ เผยแพร่ผลงานและผลิตภัณฑ์ท่ีผลิต ขึ้นในท้องถิ่นเพื่อออกจำาหน่ายทาง อินเทอร์เน็ตด้วย

การใช้อินเทอร์เน็ตก่อให้เกิดประโยชน์ หลายด้าน สามารถสรุปที่สำาคัญได้ ดังนี้ 1) ใช้แลกเปลี่ยนข้อม้ลข่าวสาร สะดวก และรวดเร็ว 2) ใช้สืบค้นข้อม้ลจากแหล่งข้อม้ล จ่าง ๆ ทัว่ โลกได้ 3) ใช้แลกเปลี่ยนข้อม้ลกับเครื่อง คอมพิวเตอร์ต่างระบบได้ 4) สามารถส่งข้อม้ลได้หลายร้ปแบบ 5) ให้ความบันเทิงในร้ปแบบต่าง ๆ เช่น การฟั งเพลง เล่นเกม เป็ นต้น 6. ใช้ส่ ือสารด้วยข้อความซึ่งเป็ นการ

พ้ดคุยกันระหว่างผ้้ใช้อินเทอร์เน็ตโดย การพิมพ์ ข้อความโต้ตอบ 7) ใช้ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิ กส์ 8) ซื้ อขายสินค้าและบริการ การต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านระบบ การสื่อสารโทรคมนาคมเข้าส่้ระบบ อินเทอร์เน็ต เพื่อใช้บริการต่าง ๆ จากอินเทอร์เน็ต นิ สต ิ สามารถทำาได้ 2 วิธี คือ 1) การต่อโดยใช้สายโทรศัพท์ผ่าน อุปกรณ์โมเด็ม (MODEM) ไปยังไอ เอสพีท่ีนิสิต เป็ นสมาชิกอย่้ โมเด็ม คืออุปกรณ์แปลงสัญญาณ

คอมพิวเตอร์ให้เป็ นสัญญาณโทรศัพท์ และแปลงสัญญาณโทรศัพท์ให้เป็ น สัญญาณคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ท่ี ใช้ในการแปลงสัญญาณ ดิจิทัลจาก คอมพิวเตอร์เป็ นสัญญาณแอนะล็อก ผ่านสายโทรศัพท์ไปยังเครื่อง คอมพิวเตอร์ปลายทาง และขณะ เดียวกันยังสามารถแปลงสัญญาณแอ นะล็อกกลับเป็ นสัญญาณดิจิทัลได้ โดยปกตินิสต ิ สามารถใช้วิธีน้ ี ติดต่อ จากที่บา้ นหรือที่ทำางานที่ไม่มีระบบ เครือข่ายเชื่อมโยงถึง ความเร็วของ การติดต่อขึ้นอย่้กับโมเด็ม

2) การต่อผ่านเครือข่ายแลน วิธีน้ ี จะ สะดวกมากกว่าวิธีอ่ ืน การรับส่งข้อม้ล มีความเร็วส้ง นิ ยมใช้ในหน่วยงานที่มี ขนาดใหญ่ เช่น มหาวิทยาลัย กระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ใช้งาน ได้พร้อมกันครั้งละหลาย ๆ คน โดย หน่วยงานเหล่านั้ นจะต้องมีการเชื่อม อินเทอร์เน็ตผ่านสายสัญญาณใยแก้ว นำาแสงหรือสายวงจรเช่า (Leased Line) กับไอเอสพี การให้บริการอินเทอร์เน็ตมีหลายร้ป แบบและมีการเปลี่ยนแปลงและเกิด ขึ้นใหม่ตลอดเวลา สามารถสรุปที่มี

การใช้ประโยชน์มากที่สุด ดังต่อไปนี้ 1) การให้บริการเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web หรือ www) เป็ นบริการระบบข่าวสารที่มีข้อม้ลอย่้ ทุกแห่งในโลก ซึ่งข้อม้ลต่าง ๆ เหล่า นั้ นสามารถอย่้ในหลายร้ปแบบแตก ต่างกัน เช่น เอกสาร ร้ปภาพ ภาพ เคลื่อนไหว และเสียง เป็ นต้น ข้อม้ล เหล่านี้ สามารถเชื่อมโยงกันอย่างเป็ น ระบบ สามารถสืบค้นได้ง่าย 2) การให้บริการไปรษณี ย์ อิเล็กทรอนิ กส์ (Electronic Mail หรือ E-mail) เป็ นบริการรับ -ส่ง

จดหมายอิเล็กทรอนิ กส์หรืออีเมล ซึ่ง จดหมายเหล่านี้ จะถ้กส่งผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ตไปถึงผ้้รบ ั ไม่ว่าอย่้ท่ีใด ในโลกอย่างรวดเร็วภายในเวลาไม่ก่ี วินาที จดหมายที่ส่งจะเป็ นข้อม้ล เอกสาร ร้ปภาพ ภาพเคลื่อนไหว และ เสียง 3) การแลกเปลี่ยนข่าวสารแบบกลุ่ม (Usenet Newsgroup) เป็ น บริการที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อม้ล ข่าวสาร และแสดงความคิดเห็นร่วม กันระหว่างผ้้สนใจในเรื่องเดียวกัน สามารถอภิปรายโต้ตอบกันได้ มีการ

จัดหัวข้อให้แสดงความคิดเห็นเป็ นก ลุ่ม ๆ เช่น กล่ม ุ ผ้้สนใจด้าน สิ่ง แวดล้อม กลุ่มผ้้สนใจด้าน คอมพิวเตอร์ กลุ่มผ้้สนใจด้าน การเมือง และอื่น ๆ ทุกคนจากทัว่ โลกสามารถแสดงความคิดเห็นได้ อย่างกว้างขวาง 4) การซื้ อขายสินค้าและบริการ (Electronic Commerce หรือ ECommerce) เป็ นบริการที่จัดทำาขึ้น เพื่ออำานวยความสะดวกในการซื้ อขาย ทางอินเทอร์เน็ต เป็ นธุรกิจที่นิยม มากในปั จจุบัน สามารถให้การบริการ

ได้ตลอด 24 ชัว่ โมง ผ้้ใช้อินเทอร์เน็ต สามารถสืบค้นหาของที่ตนต้องการซื้ อ ตรวจสอบราคา รวมถึงรายละเอียด และการสัง่ ซื้ อได้โดยตรงจากที่บา้ น หรือสำานั กงาน 5) การบริการการโอนถ่ายข้อม้ล (File Transfer Protocol หรือ FTP) เป็ นบริการโอนถ่ายข้อม้ลบน เครือข่ายอินเทอร์เน็ตระหว่างแหล่ง ข้อม้ลที่มีอย่้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่าง ๆ ทัว่ โลก นำาลงมาเก็บในเครื่อง คอมพิวเตอร์ของนิ สิตนั กศึกษา ทำาให้ สามารถนำาข้อม้ลหรือโปรแกรมที่

ต้องการจากเครือข่ายมาใช้งานได้ 6) การสื่อสารโต้ตอบด้วยข้อความ (Internet Relay Chat หรือ IRC) เป็ นบริการที่ให้ผ้ใช้ อินเทอร์เน็ตในส่วนต่างของโลก สามารถติดต่อพ้ดคุย โต้ตอบด้วย ข้อความผ่านระบบอินเทอร์เน็ต นิ สิต นั กศึกษาสามารถพิมพ์ข้อความ โต้ตอบระหว่างบุคคล 2 คน หรือ เป็ นกลุ่มบุคคลพร้อมกันก็ได้ เป็ นการ โต้ตอบในเวลาเดียวกันขณะนั ่งทำางาน ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็ นที่นิยม มากในกลุ่มวัยรุ่น โปรแกรมที่ใช้ท่ี

นิ ยมกันมากในขณะนี้ ได้แก่ โปรแกรมไอซีคิว (ICQ) ดังได้กล่าวมาแล้วว่า เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web หรือ www) เป็ นบริการหนึ่ งของอินเทอร์เน็ต ใช้ ในการให้บริการข้อม้ลในร้ปแบบต่าง ๆ ได้ โดยมีการติดตั้งเครื่อง คอมพิวเตอร์ท่ีทำาหน้าที่ให้บริการ ข้อม้ล เราจะเรียกว่าเครื่องบริการเว็บ (Web Server) เพื่อให้บริการข้อม้ล แก่ ผ้ต ้ ้องการ ร้ปแบบของข้อม้ลจะ ถ้กนำาเสนอผ่านโปรแกรมค้นด้ ที่ เรียกว่า เบราว์เซอร์ (Browser)

หรือเว็บเบราว์เซอร์ (Web Browser) แสดงเป็ นหน้ากระดาษ อิเล็กทรอนิ กส์ ที่เรียกว่า เว็บเพจ (Web Page) ข้อม้ลที่อย่้ในเว็บเพจ สามารถเชื่อมโยงกับข้อม้ลอื่นด้วยวิธี เชื่อมโยงหลายมิติ (Hyperlink) หน้าแรกของเว็บเพจ เรียกว่า โฮมเพจ (Home Page)

ร้ปที่ 2 แสดงหน้าโฮมเพจของ มหาวิทยาลัยนเรศวร (ที่มา

http://www.nu.ac.th) ก่อนเข้าไปด้ข้อม้ลที่เว็บเพจต่าง ๆ นิ สิตต้องร้้ช่ ือที่อย่้เว็บหรือเว็บไซต์ (Web Site) นั้ นก่อน ที่อย่้ของ เว็บไซต์คือตัวคอมพิวเตอร์บริการเว็บ ที่เก็บข้อม้ลต่าง ๆ ไว้ ที่อย่้น้ ี จะถ้ก เรียกว่า ย้อาร์แอล (Universal Resource Locator: URL) แต่ละ

แห่งจะมีช่ ือไม่ซ้ ำากัน เมื่อทราบชื่อย้ อาร์แอลก็สามารถเข้าไปค้นข้อม้ลได้ เช่น ถ้านิ สต ิ ต้องการด้ข้อม้ลต่าง ๆ ในเว็บไซต์ของกระทรวงศึกษาธิการ นิ สิตต้องทราบว่าย้อาร์แอลของ กระทรวงศึกษาธิการคือ http://www.moe.go.th

ร้ปที่ 3 แสดงการพิมพ์ช่ ือ ย้อาร์แอล (URL) เพื่อสืบค้นข้อม้ล (ที่มา http://www.moe.go.th)

การใช้บริการข้อม้ลข่าวสารบนเครือ ข่ายอินเทอร์เน็ตหรือที่เรียกว่า เวิลด์ ไวด์เว็บ จะต้องทำาการติดตั้งโปรแกรม ค้นด้หรือเว็บเบราว์เซอร์ เพื่อเรียกด้ ข้อม้ลที่ต้องการ เว็บเบราว์เซอร์ท่ี นิ ยมใช้กันแพร่หลายมี 2 โปรแกรม คือ โปรแกรมอินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอ เรอร์ (Internet Explorer หรือไอ อี (IE)) พัฒนาโดยบริษัท ไมโครซอฟต์ และเน็ตสเคปคอมมิ วนิ เคเตอร์ (Netscape Communicator) พัฒนาโดยบริษัท เน็ตสเคปคอมมิวนิ เคชัน ดังแสดงร้ป

หน้าต่างโปรแกรมใน ร้ปที่ 4 และร้ป ที่ 5

ร้ปที่ 4 แสดง หน้าต่างโปรแกรมเบ ราว์เซอร์อินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์

ร้ปที่ 5 แสดงหน้าต่างโปรแกรมเบ ราว์เซอร์เน็ตสเคปคอมมิวนิ เคเตอร์ การสืบค้นเพื่อหาข้อม้ลหรือบริการที่ ต้องการในเวิลด์ไวด์เว็บ สามารถ

ทำาได้หลายวิธีข้ ึนอย่้กับผ้้ใช้งานว่ามี ความร้้ในการใช้อินเทอร์เน็ตและการ ใช้โปรแกรมเบราว์เซอร์มากน้อย ขนาดไหน เนื่ องจากปริมาณข้อม้ลที่มี อย่้ในอินเทอร์เน็ตกระจายอย่้ทัว่ โลก เป็ นจำานวนมาก เราไม่สามารถใช้โปร แกรมเบราว์เซอร์เปิ ดอ่านข้อม้ลจาก เว็บเพจต่าง ๆ โดยไม่ได้คัดกรองเสีย ก่อนได้ เนื่ องจากจะไม่ได้ข้อม้ลที่ ต้องการอย่างรวดเร็ว หรืออาจหา ข้อม้ลที่ต้องการไม่พบ จึงมีการพัฒนา เว็บไซต์คน ้ หาข้อม้ลแล้วรวบรวม ข้อม้ลรายชื่อเว็บไซต์และจัดข้อม้ลให้

เป็ นหมวดหม่้หรือคำาหลัก (Keyword) เพื่อง่ายต่อการสืบค้น เมื่อเราทราบหมวดหม่้หรือคำาหลักก็ สามารถเข้าไปด้ข้อม้ลที่ต้องการได้ จึง เป็ นที่นิยมกันมาก ขั้นตอนการสืบค้นข้อม้ลอาจดำาเนิ น การได้ตามวิธีการ ดังนี้ 1) การใช้ย้อาร์แอล (URL) เพื่อ สืบค้น ในกรณี น้ ี ผ้้สบ ื ค้นต้องทราบมา ก่อนว่าข้อม้ลที่ต้องการอย่้ท่ีเว็บไซต์ ใดก็เข้าส่้เว็บไซต์น้ ั น เช่น เว็บไซต์ท่ีมี ข้อม้ลเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ท่ีเป็ น ภาษาไทยของศ้นย์เทคโนโลยีและ

อิเล็กทรอนิ กส์แห่งชาติ (เน็คเทค) ถ้า ต้องการข้อม้ล สามารถใช้ ย้อาร์แอล ดังนี้ http://www.nectec.or.th

ร้ปที่ 6 แสดงตัวอย่างการค้นข้อม้ล จากเว็บไซต์ท่ีร้ช่ ือย้อาร์แอล 2) การใช้เครื่องมือช่วยสืบค้น ใน กรณี ท่ีไม่ทราบว่าแหล่งข้อม้ลอย่้ท่ีใด เราสามารถใช้เครื่องมือช่วยในการ สืบค้นได้ โดยกำาหนดกลุ่มข้อม้ลหรือ คำาหลักที่ต้องการในการสืบค้น เครื่อง

มือในการสืบค้นเป็ นโปรแกรมที่ พัฒนาขึ้นมาเพื่ออำานวยความสะดวก ในการใช้งาน มีอย่้ 2 ประเภท คือ โปรแกรมช่วยค้นหาและโปรแกรม ค้นหาสารบบ ที่มา http://www.edu.nu.ac.th/sup anees/lesson/366515/unit1_ p04.html การฝึ กปฏิบัตก ิ ารใชูเทคโนโลยี สารสนเทศ ฝึ กปฏิบัตก ิ ารเรื่องต่อไปนี้ - สร้างความค้น ุ เคยกับพังก์ชันต่าง ๆ

ของ Internet Explorer - การใช้งาน Search Engine ใน การสืบค้นข้อม้ล - การใช้งาน E-Book - จาก Scenario ที่กำาหนด ให้ ทำาการออกแบบเลือกเครื่อง คอมพิวเตอร์ท่ีจะใช้สำาหรับองค์กรให้ ทำาการค้นหาจาก Internet ข้อม้ล การตัดสินในควรประกอบด้วย * รายละเอียด ต่าง ๆ ของเครื่อง คอมพิวเตอร์เช่น RAM, Hard disk และอื่น ๆ * ให้ทำาการเปรียบเทียบราคาด้วย

. มอบหมาย Coursework Assignment · การใช้งาน System Softwareo Doso Windows · การสร้าง Webpage ด้วย Application Software · การออกแบบและตกแต่งตัวอักษร และร้ปภาพด้วย Application Software - ให้ออกแบบตารางเพื่อใช้ในการเก็บ ข้อม้ล โดยใช้ MS Word - ให้ทำาการสร้างตารางที่ได้ทำาการ ออกแบบไว้โดยใช้ MS Access การ Upload ข้อม้ลขึ้นส่้ Web -Server การใช้งาน FTP สำาหรับการ

ดาวน์โหลดข้อม้ลการ Share ข้อม้ล บนระบบเครือข่ายการด้แลความ ปลอดภัยบนระบบเครือข่ายขั้นพื้ น ฐาน ที่มา http://commsci.pn.psu.ac.th/commsciwe b/couse_outline/CA/870221. doc

ข้อม้ลเขียนโดย ผศ.วิวรรธน์ จันทร์ เทพย์ ที่ 9:39 หลังเที่ยง ความร้้เพิ่มเติม - นวัตกรรมและ

เทคโนโลยีสำาหรับคร้ - คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา - อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษาและ สืบค้น - เครือข่ายเพื่อการศึกษา วันเสาร์, ตุลาคม 10, 2009

More Documents from "pum"

June 2020 5
Pummmmm
June 2020 8
June 2020 9
June 2020 8
June 2020 9