การให้สารน้ าทางหลอดเลือดดา (Administering intravenous (iv) therapy) อาจารย์ กันยา นภาพงษ์
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อแก้ไขภาวะไม่สมดุลของสารน้ าและอิเลคโทรไลด์ที่สูญเสี ยไป อย่างรวดเร็ ว 2. เพื่อป้ องกันภาวะไม่สมดุลของสารน้ าและอิเลคโทรไลด์ 3. เพื่อให้ยาทางหลอดเลือดดาเนื่องจากยาบางชนิดไม่สามารถดูดซึม เข้าสู่ระบบทางเดินของอาหารหรื อรับประทานทางปากแล้วถูก ทาลายโดยน้ าย่อยจากกระเพราะอาหาร
ข้อควรปฏิบตั ิและบทบาทของพยาบาลในการให้สารน้ า 1. ยึดหลัก Aseptic technique อย่างเคร่ งครัด
2. ตรวจสอบชนิดของสารน้ าที่ให้ จานวน วันหมดอายุ ลักษณะของสารละลาย ตรวจสอบความเรี ยบร้อยของถุงหรื อขวดสารน้ าไม่อยูใ่ นสภาพที่ชารุ ดเสี ยหาย 3. เลือก ชนิดของชุดให้สารน้ า และ/หรื อเครื่ องควบคุมปรับหยดการให้สารน้ า (Infusion pump)ให้เหมาะสมตามแผนการรักษาของแพทย์ 4. เลือกตาแหน่งหลอดเลือดดาที่จะแทงเข็มให้ถูกต้องเหมาะสม 5. ควบคุมอัตราการหยดของสารน้ าให้ถูกต้องตามขนาดและเวลาตามแผนการรักษา ของแพทย์ 6. ทาความสะอาดบริ เวณตาแหน่งที่แทงเข็ม 7. จดบันทึกปริ มาณสารน้ าที่เข้าและขับออกจากร่ างกาย
ชนิดของสารน้ าที่ให้ทางหลอดเลือดดา 1. Isotonic solution จะมีความเข้มข้นเท่ากับน้ านอกเซลล์ (extracellular fluid)ซึ่งมีออสโมลาริ ต้ ีระหว่าง 275-295 m0sm/l เมื่อให้ทางหลอดเลือดดาจะไม่มีการเคลื่อนที่ของน้ า เข้าหรื อ ออกจากเซลล์ ฉะนั้นการให้สารน้ าชนิด isotonic จึงช่วยเพิ่ม ปริ มาตรของน้ าที่อยูน่ อกเซลล์ • ใช้ รักษาผู้ทมี่ กี ารเสี ยนา้ นอกเซลล์ มาก เช่ น อาเจียน ท้ องเดิน หรือมีเลือดออกผิดปกติ
ตัวอย่าง Isotonic solution • 5% dextrose in water (D5W)
สารละลายประกอบด้วย glucose 50 gm ให้พลังงาน 170cal/l ข้ อควรระวัง ไม่ควรให้ในปริ มาตรที่มาก เพราะ สารละลายจะไม่มีโซเดียมเป็ นส่ วนประกอบ ปริ มาตร สารละลายที่ให้มากและเร็วจะไปละลายโซเดียมในเลือด ให้เจือจาง ทาให้เกิดสมองบวม (Brain swelling) และ เสี ยชีวติ ได้อย่างรวดเร็วถ้าไม่ได้รับการรักษาทันท่วงที
0.9% NaCl (normal saline) สารละลายมีส่วนประกอบ เฉพาะ Na+ และ Cl- ใช้รักษาชัว่ คร่ าว เพื่อทดแทนการสูญเสี ยน้ านอกเซลล์ และในผูป้ ่ วย Diabetic ketoacidosis ( DKA) Lactated Ringer’s solution สารละลายมีส่วนประกอบอิเลคโทรไลด์หลายชนิดที่มีความเข้มข้น เหมือนกับในเลือด(ที่ไม่มีคือ แมกนีเซียมไอออนและ ฟอสเฟต)ใช้ รักษา Hypovolemia , Burns , มีการสูญเสี ยน้ าออกจากร่ างกาย เช่น สูญเสี ยน้ าดี Diarrhea ภาวะที่ร่างกายเป็ นกรดจากเมตาบอลิก ระดับน้อย
รู ปแสดงตัวอย่าง 5% dextrose in water
รู ปแสดงตัวอย่าง 0.9% NaCl (normal saline)
ชนิดของสารน้ าที่ให้ทางหลอดเลือดดา(ต่อ) 2. Hypertonic Solutions สารละลายชนิดที่มีแรงดันออสโมติก มากกว่า blood serum (> 295 mOsm/l) ผลทาให้น้ าออกนอกเซลล์ มาอยู่ ใน intravascular compartment ทาให้ เซลล์เหี่ ยว จะให้กบั ผูป้ ่ วยที่มีการ สูญเสี ยโซเดียมจานวนมากๆ และผูป้ ่ วยที่มีน้ าคัง่ ในเซลล์เพื่อช่วยให้มี การดึงน้ าออกเซลล์ เช่น เนื้อสมองบวม • ข้ อควรระวัง ควรให้ ในปริมาณ น้ อยและให้ อย่ างช้ าๆ เพือ่ ป้องกันมิให้ ความดันเลือดเพิม่ ขึน้
ตัวอย่าง สารละลาย Hypertonic
5% dextros in 0.45% Nacl ใช้รักษา hypovolemia ,maintain fluid intake. 10% dextros in water (D10W) ให้พลังงาน 340 cal/l , peripheral parenteral nutrition (PPN) 5% dextros in 0.9% Nacl (normal saline) ใช้เพื่อทดแทนสารอาหารและอิเลคโทรไลด์
ชนิดของสารน้ าที่ให้ทางหลอดเลือดดา(ต่อ) 3.Hypotonic Solutions สารละลายชนิดนี้มีความเข้มข้นของ โซเดียมคลอไรด์ เป็ นครึ่ งหนึ่งของสารละลาย Isotonic มี แรงดันออสโมติกน้อยกว่า blood serum (<275 mOsm/l) จึง ทาให้เกิดการเคลื่อนของน้ าเข้าสู่เซลล์ ซึ่ งมีผลทาให้เซลล์ ขยายตัว และบวม เซลล์แตกได้ • มีประโยชน์ ในการทดแทนนา้ ที่ร่างกายสู ญเสี ยโดยไม่ ต้องการให้ ระดับ ของโซเดียมในพลาสมาสู งขึน้
ตัวอย่าง สารละลาย Hypotonic
0.33 NaCl ( 1/3 strength saline) สารละลายมีส่วนประกอบของ Na+ , Cl- และfree water ซึ่งไต สามารถเลือกและเก็บ Na+ , Cl- ในปริ มาณที่ตอ้ งการได้ free waterจะเป็ นตัวช่วยให้ไตกาจัด solutesออก
0.45 NaCl ( ½ strength saline) สารละลายมีส่วนประกอบของ Na+ , Cl- และfree water ใช้รักษา ภาวะที่มีโซเดียมในเลือดสูงเนื่องจากสารละลายประกอบด้วย โซเดียมไอออนน้อยซึ่งจะทาให้โซเดียมในเลือดเจือจางลง
ขนาดของสารน้ า • สารน้ าที่ใช้โดยทัว่ ไปมีขนาด 500 มิลลิลิตร หรื อ 1000 มิลลิลิตร บรรจุอยูใ่ นถุงพลาสติกที่มีความยืดหยุน่ หรื อขวด พลาสติกชนิดแข็ง ซึ่งเป็ นสูญญากาศ ดังนั้นเมื่อสารน้ าในขวด ไหลออกเข้าหลอดเลือดดา ขวดพลาสติกจะแฟบลงจากการ กระทาของแรงดันบรรยากาศภายนอกขวด ซึ่งปั ญหานี้จะหมด ไปถ้าขวดสารน้ ามีทางเปิ ดให้อากาศเข้าไปแทนที่ • สารน้ า ขนาด 50 มิลลิลิตร 100 มิลลิลิตร และ 250 มิลลิลิตร ใช้สาหรับผสมยาที่ให้ทางหลอดเลือดดา
รู ปแสดงตัวอย่างขนาดและชนิดของสารน้ า
ตาแหน่งหลอดเลือดดาที่ใช้แทง (Venipuncture sites) • ตาแหน่ งหลอดเลือดที่ เหมาะสมและดีสาหรับการให้ สารน้าคือ หลอดเลือดดา บริเวณ ท้ องแขน ( Accessory cephalic vein, Median antebrachial vein, Median cubital vein)
ตาแหน่งหลอดเลือดดาที่ใช้แทง (Venipuncture sites)
หลอดเลือดดา บริเวณหลังมือและ แขน (Dorsal venous network , Cephalic vein , Basilic vein )
Dorsal metacarpal vein
ข้อปฏิบตั ิในการเลือกหลอดเลือดดาสาหรับให้สารน้ า 1. เลือกหลอดเลือดดาของแขนข้างที่ผปู้ ่ วยไม่ถนัดก่อน เพื่อให้ผปู้ ่ วย สามารถใช้แขนข้างที่ถนัดทากิจวัตรต่างๆได้ดว้ ยตนเอง 2. ตรวจสอบบริ เวณตาแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม เช่น ไม่มีบาดแผล หรื อแผลไหม้ที่ทาให้หลอดเลือดถูกทาลาย แขน ข้างนั้นได้รับการผ่าตัดเลาะต่อมน้ าเหลืองออกหรื อไม่ ถ้าใช่หา้ ม แทงเข็ม หรื อเจาะเลือดแขนข้างนั้นเพราะจะทาให้เกิดการติดเชื้อได้ ง่ายและการรัดสาย tourniquet จะขัดขวางระบบไหลเวียนแขนอาจ บวมได้
ข้อปฏิบตั ิในการเลือกหลอดเลือดสาหรับให้สารน้ า(ต่อ) 3.ไม่ควรใช้ antecubital vein ถ้ายังมีหลอดเลือดอื่นที่พอจะหาได้เพราะ การงอแขนของผูป้ ่ วยจะทาให้ IV catheter เลื่อน 4.ไม่ควรใช้หลอดเลือดที่ขาเนื่องจากอาจเกิดอันตรายการไหลเวียนของ เลือดไม่ดีได้ง่าย 5.ไม่ใช้หลอดเลือดดาบริ เวณที่ได้รับการผ่าตัด เนื่องจากบริ เวณนี้หลอด เลือดดาถูกรบกวนจากการได้รับการผ่าตัด หรื อบริ เวณที่หลอดเลือด ได้รับการผ่าตัดเชื่อมระหว่างหลอดเลือด 2 หลอด (shunt)
ข้อปฏิบตั ิในการเลือกหลอดเลือดสาหรับให้สารน้ า(ต่อ) 6.ในทารกแรกเกิด ให้แทงเข็มบริ เวณ scalp vein เนื่องจากเห็นชัด ตาแหน่งของเข็มเลื่อนหลุดได้ยาก กว่าเมื่อทารกดิ้น 7. คานึงถึงชนิดของสารน้ าที่ให้ สารน้ าชนิด hypertonic เนื่องจากสาร น้ ามีความเข้มข้นของสารละลายสูง และมีความหนืดควรเลือกหลอด เลือดเส้นใหญ่ในการให้สารน้ า 8. ผูป้ ่ วยที่ให้ยาทางหลอดเลือดดา เช่น ยาปฏิชีวนะโปตัสเซียมคลอไรด์ อาจมีการระคายเคืองและปวด บริ เวณหลอดเลือด
ข้ อปฏิบัติในการเลือกหลอดเลือดสาหรับให้ สารน้า(ต่ อ)
9. ควรเปลี่ยนตาแหน่งหลอดเลือดทุก 72-96 ชม. การแทงเข็มให้เริ่ มจาก ตาแหน่งส่ วนปลายของหลอดเลือดเข้าหาส่ วนต้นในทิศทางเข้าหา หัวใจ 10. ควรเลือกเข็มเบอร์เล็ก ความยาวสั้น ในผูป้ ่ วยที่มีคาสัง่ การรักษาต้อง ให้สารน้ าทางหลอดเลือดดาเป็ นเวลาหลายวัน 11. หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริ เวณข้อ ข้อพับเพราะจะทาให้เข็มเคลื่อนไป มาทาให้เกิดการบาดเจ็บต่อหลอดเลือด
การเตรี ยมอุปกรณ์สาหรับให้ สารน้ า
1. ชุดให้สารน้ า (IV infusion set)
ชุดให้สารน้ าถูกทาให้ปลอด เชื้อบรรจุอยูถ่ ุงพลาสติก มี หลายรู ปแบบ ขึ้นอยูก่ บั บริ ษทั ที่ผลิต แต่มีส่วนประกอบที่ใช้ งานเหมือนกันต่างกันที่ รู ปลักษณะ เมื่อนาออกจากถุง แล้วส่ วน spikeและส่ วน connector จะต้องปราศจากเชื้อ โดยมีปลอกพลาสติกสวมไว้
รู ปแสดงชุดให้สารน้ าแบบพื้นฐานที่พบได้บ่อย ที่ควบคุมการไหลของสารน้ า โดยใช้มือบังคับลูกล้อเลื่อนหนีบสายยาง
(roller clamp)
เข็มแทงฝาปิ ดขวดสารน้ า (Spike ) สวมปลอกพลาสติก
ภาชนะรองรับสารน้ า (drip chamber)
ส่ วนเชื่อมต่อ(connector) กับ IVcatheter
ชนิดของชุดให้สารน้ า 1.ชุดให้สารน้ าชนิดหยดใหญ่ (Macrodrip) หมายถึงชุดให้สาร น้ าที่มีเข็มพลาสติกสาหรับหยด สารน้ าใน drip chamber โดย กาหนดให้อตั ราหยดของสารน้ า (drop factor) เท่ากับ 10,15,20 หยด เท่ากับ 1 มิลลิลิตร ขึ้นอยู่ กับการผลิตซึ่งตรวจสอบได้ที่ ฉลากของถุงที่บรรจุชุดให้สารน้ า
Macrodrip
ชนิดของชุดให้สารน้ า (ต่อ) Microdrip
2. ชุดให้สารน้ าชนิดหยด เล็ก (Microdrip ) หมายถึงชุดให้สารน้ าที่มี เข็มเหล็กสาหรับหยดสาร น้ าใน drip chamber โดย กาหนดให้ กาหนดให้ อัตราหยดของสารน้ า (drop factor) เท่ากับ 60 หยด เท่ากับ 1 มิลลิลิตร
ชนิดของชุดให้สารน้ า (ต่อ) Volume controlled set
• 3. ชุดให้สารน้ าชนิดควบคุมปริ มาตร
(Volume controlled set (Solu set)) หมายถึงชุดให้สารน้ าที่มีกระบอก บรรจุสารน้ า และมีสเกลบอกปริ มาตร ข้างกระบอกไว้สาหรับผสมยา ที่ ต้องการควบคุมปริ มาตรของสารน้ า ซึ่งกาหนดให้อตั ราหยดของสารน้ า (drop factor) เท่ากับ 60 หยด เท่ากับ 1 มิลลิลิตร
รู ปแสดง iNFUSION SET SPIKES และ drips chambers
Macrodrip
SPIKES
Microdrip Drips chambers
ตรวจสอบ drop factor ของชุดให้สารน้ าที่ฉลาก
2.เข็มแทงหลอดเลือดดามีหลายแบบเช่น A butterfly needle
2.1 Butterfly needle ลักษณะเป็ นเข็มที่เป็ น โลหะ สั้น มีปลอก พลาสติกสวมไว้เพื่อ รักษาส่ วนเข็มให้ ปราศจากเชื้อ ที่จบั เข็ม แบบ สองปี กคล้ายปี ก ผีเสื้ อ ทาด้วยพลาสติก
IV catheter IV catheter
2.2 IV catheter เป็ นท่อพลาสติก ซึ่งมีเข็มโลหะสอดอยูต่ รง กลาง ใช้เป็ นส่วนนาสาหรับแทงเข้าหลอด เลือดดาโดยดันส่วนท่อพลาสติกเข้าสู่ หลอด เลือดดาแล้วค่อยๆถอนเข็มออกส่วนที่คา้ งอยู่ ในหลอดเลือดดาคือส่วนที่เป็ นท่อพลาสติก เท่านั้น มีหลายขนาด เช่น 20 G ,22G, 24 G ตัวเลขที่บอกขนาดยิง่ มากเข็มยิง่ เล็ก ความ ยาวมี 3/4นิ้ว 1 นิ้ว เป็ นต้น เลือกใช้ตาม ขนาดของหลอดเลือดดา อายุผปู้ ่ วย เวลาที่ ให้สารน้ า และชนิดของสารน้ าถ้ามีความ เข้มข้นสูง ควรเลือกขนาดใหญ่
ส่ วนประกอบของ iv catheter มีส่วนประกอบ 3 ส่ วน คือ 1.ปลอกพลาสติก 2.เข็มท่อพลาสติก 3.Introducer needle
เข็มท่อพลาสติก
ปลอกพลาสติก
Introducer needle
ส่ วนเชื่อมต่อกับชุดให้สารน้ า
ภาพแสดงปลายเข็มส่ วนนา ขนาดของเข็มเบอร์ 22 G
ลักษณะปลายตัดของเข็ม ขณะแทง หลอดเลือดดาให้ ถือเข็มโดยให้ หงาย ปลายตัดอยู่ด้านบน
3. หัวต่อชนิด 3 ทาง (3 –way stopcock)
ใช้ สาหรับคาสั่ งการรักษาของแพทย์ ที่ให้ สารน้ามากกว่ า 1 ชนิด
แสดงทิศทางการไหลของสารน้ าตามหัวลูกศรในภาพ สายต่อจากสารน้ าขวดที่2 ซึ่ งปิ ดไว้
สายต่อจากสารน้ าขวดที่ 1 ซึ่ งเปิ ดให้สารน้ าไหลเข้า ผูป้ ่ วย
ส่ วนเชื่อมต่ อกับ extension tube ซึ่งจะต่ อกับ IV catheter
ตัวอย่างสายต่อ • สายต่ อสาหรับให้ สารนา้ /ยา บางเวลา โดยหล่ อลืน่ สายไว้ ด้ วย heparin หรือ NSS
ส่ วนเชื่อมต่อกับ IVcatheter
4. สายรัดแขน ตาแหน่งของปลาย สายยางรัด
ตาแหน่งที่จะแทงเข็ม
(Tourniquet)
สายยางรัดแขนมีวตั ถุประสงค์เพือ่ หยุดการไหลกลับของเลือดชั่วคราว ทาให้ ตาแหน่ งของหลอดเลือดบริเวณที่ตา่ กว่ า ตาแหน่ งที่รัดมีเลือดคัง่ ทาให้ หลอดเลือดโป่ งนูน สามารถเห็นหลอดเลือดได้ชัดเจน
การรัดแขน ควรจัดให้ ปลายทั้งสอง ข้ างของสายรัดชี้ไปด้ านบน ของ ตาแหน่ งที่จะแทงเข็ม เพือ่ ป้องกัน ไม่ ให้ ปลายสายมาสั มผัสตาแหน่ งที่ จะแทงเข็ม
5.ถุงมือสะอาด (disposable gloves)
6.เสาแขวนถุง/ขวดสารน้ า(Iv pole)
รู ปแสดงเสาแขวนขวดสารน้าที่ปรับความ สู งระดับต่ างๆ
การปรับความสู งของเสาแขวนขวดสารนา้
7.อุปกรณ์อื่นๆ คือ สาลีปลอดเชื้อ แอลกอฮอล์ 70% แผ่นโปร่ งแสงปิ ด ตาแหน่งที่แทงเข็ม(transparent dressing) หรื อก๊อซปลอดเชื้อ ไม้รอง แขน พลาสเตอร์
อุปกรณ์ทาความสะอาดผิวหนังประกอบด้วย แอลกอฮอล์ 70%, สาลีsterile ,forceps และชามรู ปไตสาหรับทิ้งขยะ
การเตรี ยมพลาสเตอร์
การเตรี ยมขวดสารน้ า
ตรวจสอบชนิดและขนาดของสารนา้ ตามคาสั่งการรักษาของแพทย์ และเขียนป้ายบอกชื่อผู้ป่วย เตียง /ห้ อง ชนิดของสารนา้ ขนาด ยาที่ผสม(ถ้ ามี) จานวนหยดต่ อนาที วันที่ เวลาที่เริ่ม เวลา หมด
การเตรี ยมขวดสารน้ า
ปิ ดป้ ายชนิดสารนา้ ที่ข้างขวดตาม แผนการรักษาของแพทย์
ทาเครื่องหมายแสดงระดับสารนา้ ตามเวลา(ชม.)ที่ ผู้ป่วยควรได้ รับ ตรงด้ านที่แสดงสเกล ซึ่งมี 2แบบคือ แบบเปิ ด (open)หรือแบบปิ ด (close)กับบรรยากาศ
การคานวณอัตราหยดของสารน้ า ตัวอย่าง คาสัง่ การรักษา D5W 1000ml in 10 hours ถ้า เลือกใช้ชุดให้สารน้ าที่มี drop factor 60 drop / min คานวณหาจานวนหยดต่อนาที (gtt/min) ตามสูตรดังนี้
Standard formula จานวนหยดต่อนาที= ปริ มาตรสารน้ าทั้งหมด(ml) xdropfactor(gtt/ml)
เวลาที่ให้ท้ งั หมด(min) จานวนหยดต่อนาที = 1000ml x 60 600 (60minx10hr) = 60000 600 =100 gtt/min
Short formula using milliliters per hour จานวนหยดต่อนาที = ปริ มาตรสารน้ าต่อชัว่ โมง x drop factor (gtt/ml) เวลา (60 min) คานวณหาสารน้ าที่ได้รับต่อชัว่ โมงก่อนโดยเอา 1000ml หารด้วย 10 hours 1000 = 100 ml/hr 10 จานวนหยดต่อนาที = 100 ml x60 60min = 6000 60 =100 gtt/min
ข้อควรระวังในการควบคุมอัตราการหยดของสารน้ า 1. ควรตรวจสอบอัตราการหยดของสารน้ าอย่างน้อยทุก 1 ชัว่ โมง เพื่อรักษาความสมดุลของน้ าและเกลือแร่ การให้เร็ ว เกินอาจเกิดอาการหัวใจวาย โดยเฉพาะเด็ก สูงอายุ ผูป้ ่ วยโรค ไต หัวใจ 2. คาสัง่ การรักษา KVO (keep vein open) หมายถึงการปรับ อัตราหยดช้าๆ แต่ไม่ต่ากว่า10-15มล./ชม. โดยเฉพาะหยด เล็ก มิฉะนั้นแรงดันในหลอดเลือดแดงจะมากกว่าทาให้เลือด ไหลย้อนเข้ามาในสายชุดให้สารน้ าเกิดก้อนเลือด อุดตัน ทางผ่านของสารน้ า
Implementation
วิธีปฏิบัติ
การเตรี ยมผูป้ ่ วย 1.บอกวัตถุประสงค์และขั้นตอนการทา พร้อมกับอธิบาย แผนการรักษา ระยะเวลาที่ให้ ปริ มาณสารน้ าที่ได้รับ เพื่อ เป็ นการให้ขอ้ มูล คานึงถึงสิ ทธิผปู้ ่ วย ลดความวิตกกังวล ผูป้ ่ วยจะได้ให้ความร่ วมมือตามแผนการรักษาของแพทย์
การเปิ ดชุดให้สารน้ าและการต่อกับขวดสารน้ า 1.ล้ างมือเพือ่ ลดจานวนเชื้อโรค
2.เปิ ดฝาปิ ดจุกยางของขวดสารน้า ออกเพือ่ เตรียมต่ อชุดให้ สารน้า บริเวณจุกยาง
แสดงตาแหน่ งบริเวณที่แทงเข็ม
3. ใช้ ปากคีบคีบสาลีปราศจากเชื้อชุบ แอลกอฮอล์ 70% ใส่ มือบีบให้ หมาด และ เช็ดบริเวณจุกยางขวดสารน้าเพื่อทาความ สะอาดและป้องกันการปนเปื้ อนเชื้อ
4.เปิ ดชุดให้ สารนา้ โดยยึดหลัก Aseptic technique โดยยังไม่ เปิ ดปลอกพลาสติกที่สวม spike และบริเวณส่ วนต่ อกับเข็มแทงหลอด เลือดดา และปิ ดที่ปรับหยดสารนา้ เพือ่ ป้ องกัน อากาศและสารนา้ เข้ าชุดให้ สารนา้
5. ดึงฝาครอบปลายเข็มด้ านที่มี กระเปาะออก ระมัดระวังอย่ าให้ บริเวณ spike สัมผัสสิ่งใดๆ
เพือ่ จะใช้ ส่วนspike แทงบริเวณจุก ยางของขวดสารน้าและป้องกัน การปนเปื้ อนเชื้อโรค
6.ใช้ spike แทงผ่ านทะลุตรงกลางจุก ยางของขวดสารนา้ ค่ อยๆหมุนขยับ มือดันส่ วน spike เข้ าจนสุ ด
เพือ่ ต่ อขวดสารนา้ เข้ ากับชุดให้ สารนา้
รู ปแสดงการต่อชุดให้สารน้ าเข้ากับถุงสารน้ า
1
2
3
4
รู ปแสดงการต่อชุดให้สารน้ าเข้ากับถุงสารน้ า(ต่อ)
5
7
6
8
7. แขวนขวดสารน้ ากับเสาแขวนเพื่อให้สารน้ าไหล ตามแรงโน้มถ่วง
8. บีบกระเปาะของชุ ดให้ สารนา้ ให้ สารนา้
ไหลลง โดยให้ มีปริมาตรครึ่งหนึ่งของ กระเปาะ
เพือ่ สะดวกต่ อการสั งเกตการหยด ของสารน้า
ภาพแสดงฟองอากาศในสายชุดให้ สารน้า ไล่ ออกให้ หมดโดยการใช้ นวิ้ ดีดที่สายจะเห็น ฟองอากาศลอยขึน้ ไปจนถึงกระเปาะ
9.
ถอดปลอกพลาสติกที่สวมเข็มบริเวณปลายสายชุ ดให้ สารนา้ ออกโดยใช้ เทคนิค sterile และเตรียม ภาชนะรองรับสารนา้ ที่จะไหลออกมาพร้ อมกับฟองอากาศ ใช้ มอื อีกข้ างหนึ่งเปิ ดที่ปรับหยดสารนา้ สังเกตการไหลของสารนา้ มาตามสายเมือ่ สารน้าเต็มสาย ปิ ดที่ปรับหยดสารนา้ ไว้ เพื่อป้องกันไม่ ให้ ฟองอากาศจานวนมากเข้ าไปในหลอดเลือด แล้ วสวมปลอกเข็มกลับคืนโดยใช้ เทคนิค sterile 10. ก่ อนจะถึงขั้นตอนการแทงเข็มหลอดเลือดดา ฉีกพลาสเตอร์ สาหรับยึดเข็มกับผิวหนังไวัให้ พร้ อม
การแทงเข็มเข้ าหลอดเลือดดา
1. จัดให้ ผู้ป่วยอยู่ในท่ านอนหงายโดยให้ แขนข้ างทีใ่ ห้ สารนา้ อยู่ข้าง ลาตัวหรือจัดอยู่ในท่ านั่งพร้ อมมือวางไว้ บนโต๊ ะขวางเตียง 2. สวมถุงมือสะอาด เพือ่ ป้ องกันตนเองไม่ ให้ สัมผัสเลือดซึ่งอาจมี การปนเปื้ อนเชื้อโรค 3. เลือกและคลาหลอดเลือดดาทีจ่ ะให้ สารนา้ โดยรัดสายยางเหนือ บริเวณทีจ่ ะแทงเข็ม 5 - 6 นิว้ ถ้ าเป็ นตาแหน่ งทีบ่ ริเวณหลังมือ บอกให้ ผู้ป่วยกามือเพือ่ ให้ เห็นเส้ นเลือดชัดเจน
การแทงเข็มเข้าหลอดเลือดดา(ต่อ) 4. เช็ดผิวหนังด้ วยสาลีชุบแอลกอฮอล์ 70 โดยเช็ดวนออกโดยรอบหรือเช็ด ไปทางเดียวกันเพือ่ ลดจานวนเชื้อโรค 5. ถอดปลอกเข็มออกจากหัวเข็มด้ วยเทคนิคไร้ เชื้อ ระวังปลายเข็มสั มผัส สิ่ งปนเปื้ อนใช้ มือข้างที่ถนัดจับเข็มโดยให้ ปลายด้ านตัดของเข็มอยู่ ด้ านบน 6. ยึดผิวหนังบริเวณหลอดเลือดดาที่จะแทงเข็มให้ ตึงด้ วยมืออีกข้ างเพือ่ ให้ หลอดเลือดอยู่กบั ที่ และ ทาให้ แทงเข็มเข้ าเส้ นเลือดได้ ง่าย
การแทงเข็มเข้าหลอดเลือดดา (ต่อ)
7 .แทงเข็ม โดยทามุมประมาณ 10-30องศากับผิวหนังตรงกลาง หรือเข้ าทางด้ านข้ างหลอดเลือด ดาจนมิดปลายตัดของเข็ม
แล้ วกดมุมลงจนเกือบขนานกับผิวหนัง เบนปลายเข็ม เข้ าหลอดเลือดดา เมือ่ มองเห็นเลือดที่หัวเข็ม แสดงว่ า เข็มอยู่ในหลอดเลือดแล้ ว จากนั้นปล่ อยมือทีด่ งึ ผิวหนัง ไว้ ให้ ตงึ มาจับหัวเข็มด้ านบน อีกมือหนึ่งดึงแกนเข็ม ออกที่ละน้ อยพร้ อมๆกับมือที่จับหัวเข็มไว้ดนั เข็ม พลาสติกเข้ าไปตามแนวหลอดเลือดเป็ นระยะๆจนสุ ด เข็ม ยังไม่ ต้องดึงแกนเข็มออก
การแทงเข็มเข้าหลอดเลือดดา (ต่อ)
8.ใช้ มือที่จับหัวเข็มด้ านบนเปลี่ยน มากดบนผิวหนังใกล้ ตาแหน่ งที่ ปลายเข็มพลาสติกอยู่ในหลอดเลือด
9.ให้ ผ้ ปู ่ วยคลายมือออก ใช้ มืออีกข้ างปลดสายยาง รัดแขนออกแล้ว แล้วเปลีย่ นมาดึงแกนเข็มออกทิง้ ลงชามรู ปไต ถอดเข็มที่สวมส่ วนต่ อของชุ ดให้ สารนา้ ออก นามาต่อกับข้ อต่อของหัวเข็ม พลาสติก ด้ วยเทคนิคไร้ เชื้อ หมุนให้ แน่ น เพือ่ ป้ องกันการเลือ่ นหลุด
การแทงเข็มเข้าหลอดเลือดดา (ต่อ) 10. เปิ ดทีป่ รับหยดสารนา้ ให้ สารนา้ ไหลเข้ าหลอดเลือดดา สั งเกต ผิวหนังบริเวณทีแ่ ทงเข็ม เพือ่ ให้ แน่ ใจว่ าปลายเข็มอยู่ในหลอด เลือดดา ถ้ าไม่ มอี าการบวม ให้ ยดึ หัวเข็มกับผิวหนังด้ วยพลา สเตอร์ (หรือปิ ด Sterile gauze แล้ วปิ ดด้ วย พลาสเตอร์ หรือ ปิ ดด้ วยฟิ ล์ มแผ่ นใส) และเพือ่ ให้ ปลายเข็มอยู่กบั ที่ และปรับ อัตราการไหลของสารนา้ ตามแผนการรักษา
ภาพแสดงการปรับหยดสารน้ าใน drip chamber
การปรับหยดโดยการเลื่อน คลายล้ อหมุนที่บีบสายชุดให้ สารน้าไว้ ไปมานับจานวน หยดต่ อนาทีให้ ตรงตามที่คานวณ โดยให้ นาฬิ กาอยู่ข้าง drip chamber
การแทงเข็มเข้าหลอดเลือดดา (ต่อ) 11. แนะนาวิธีการปฏิบัติตัวให้ ผู้ป่วยทราบและ จัดท่ าให้ ผู้ป่วยสุ ขสบายลดความวิตกกังวล และเพือ่ ป้ องกันภาวะแทรกซ้ อนที่อาจเกิดขึน้ เช่ นเลือดไหลย้ อนกลับเป็ นต้ น 12. ทาความสะอาดอุปกรณ์ และเก็บเข้ าที่สะดวก ต่ อการใช้ ครั้งต่ อไป 13. ล้ างมือป้องกันการแพร่ กระจายเชื้อ 14. เขียนบันทึกการให้ สารน้าใน Nurse ’s note เป็ นหลักฐานทางกฎหมาย
ปัจจัยที่มีผลต่อการไหลของสารน้ า 1 . ตาแหน่ งของแขน ขณะเปลีย่ นท่ า อาจทาให้ อตั ราการไหลของสารนา้
ลดลงการใช้ หมอนรองใต้ แขนสามารถทาให้ การไหลของสารนา้ เพิม่ ขึน้ 2. ตาแหน่ งของสายอาจถูกกดทับจากการนอนทับ หักพับ การปิ ดของ clamp ทาให้ สารนา้ หยุดไหล หรือมีบางส่ วนของสายห้ อยตา่ กว่ า ตาแหน่ งที่ แทงเข็มเข้ าหลอดเลือดดา 3. ความสู งของขวดสารนา้ การปรับระดับของเสาแขวนให้ สูงขึน้ จะทาให้ การไหลของสารนา้ เร็วขึน้ ผลจากแรงโน้ มถ่ วงของโลก
4.
การรั่วของสารนา้ ออกนอกหลอดเลือดดาแทรกซึมอยู่ในเนือ้ เยือ่ (infiltration) จะพบสารนา้ จะไหลช้ า หรือหยุดโดยไม่ มกี ารหัก พับงอหรือกดทับ บริเวณทีแ่ ทงเข็มจะบวม สั มผัสเย็นและปวด การแก้ ไข เปลีย่ นตาแหน่ งทีแ่ ทงเข็มใหม่ 5. ขนาดของเข็มทีใ่ ช้ แทงหลอดเลือด ถ้ ามีขนาดโต อัตราการไหลของ สารนา้ จะเร็ว 6. การมีลมิ่ เลือดอุดตันทีป่ ลายเข็ม จะพบสารนา้ หยุดไหลห้ ามใช้ กระบอกฉีดยาฉีดสารนา้ ดูดหรือฉีดผ่ านเข็ม เพราะลิม่ เลือดจะ หลุดเข้ าไปในหลอดเลือด ให้ เปลีย่ นเข็มและตาแหน่ งทีแ่ ทงเข็ม ใหม่
การเปลี่ยนชุดสายให้สารน้ า 1. ชุดสารนา้ ชนิดธรรมดา พยาบาลควรเปลีย่ นทุก 24-72 ชั่วโมง เพือ่ ป้ องกันการติดเชื้อ 2. ชุดสารนา้ ชนิด solu set ควรเปลีย่ นทุก 5วัน
• เขียนแถบป้ ายเล็กระบุวนั เดือน ปี ทีเ่ ริ่มใช้ ชุดสายให้ สารนา้ • ข้ อควรระวัง หลังการเปลีย่ นชุดสายให้ สารนา้ คือ การไล่ ฟองอากาศให้ หมดและต่ อปลายข้ อต่ อกับหัวเข็มให้ แน่ น
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารน้ า • หลอดเลือดดาอักเสบ (phlebitis) การแก้ไข เปลีย่ นตาแหน่ งที่แทงเข็ม ใหม่ ประคบด้ วยความเย็นสลับร้ อนหรือแพทย์อาจให้ ยาทา เพือ่ ลดความ เจ็บปวดและการอักเสบ • ฟองอากาศเข้ าไปอยู่ในหลอดเลือด (air embolism การแก้ไข รายงาน แพทย์ ทันที จัดท่ าให้ ผ้ ปู ่ วยนอนตะแคงซ้ าย ศีรษะต่า ฟองอากาศจะผ่าน เข้ าไปสู่ หัวใจห้ องล่ างขวาและเข้ าไปในปอด เตรียมอุปกรณ์ ให้ ออกซิเจน ตรวจสอบสั ญญาณชีพ • การมีสารน้ามากกว่าปกติในระบบหลอดเลือด (circulatory overload) การแก้ ไข ปรับอัตราหยดลดลง จัดท่ านอนให้ ศีรษะสู ง รายงานแพทย์ • ปฏิกริ ิยาสารไพโรเจน เกิดมีสารไพโรเจนปนเปื้ อน การแก้ ไข หยุดให้ สาร น้าทันที รายงานแพทย์ ตรวจสอบสั ญญาณชีพ ส่ งตรวจสารน้ า
บรรณานุกรม • มณี อาภานันทิกลุ . (2552). การให้สารน้ าทางหลอดเลือดดา.ใน สุ ปาณี เสนาดิสัย และมณี อาภานันทิกลุ (บก.) คู่มอื ปฏิบัติการพยาบาล (พิมพ์ครั้งที่ 1, หน้า165-169).กรุ งเทพมหานคร: จุดทอง • Taylor, C., Lillis, C., LeMone , P., Lynn, P. (2008). Fundamentals of Nursing The art and Science of Nursing Care (6 th ed.) Philadelphia :Lippincott Williams & Wilkins. • Taylor, C., Lillis, C., LeMone , P., Lebon , M. (2005). Skill Checklist to Accompany Fundamentals of Nursing The art and Science of Nursing Care (5 th ed.) Philadelphia : Lippincott Williams & Wilkins.