Networkinternet

  • Uploaded by: PongthaP Reawruad
  • 0
  • 0
  • December 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Networkinternet as PDF for free.

More details

  • Words: 1,727
  • Pages: 78
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

1

เนื้อหา เครือข่าย การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย เครือข่ายอินเทอร์เน็ต โปรแกรมประยุกต์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

2

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) เครือข่ายคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นจากการนําเครื่องคอมพิวเตอ ร์มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน โดยใช้สื่อนําสัญญาณข้อมูล และอุปกรณ์เครือข่ายที่จาํ เป็น เพื่อใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในเครือข่ายร่วมกัน และ ยังช่วยให้ผู้ใช้ในระบบสามารถติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกั นได้ 3

ทรัพยากรในเครือข่าย ทรัพยากรในเครือข่ายได้แก่  อุปกรณ์ทางฮาร์ดแวร์  โปรแกรมประยุกต์ และ  ข้อมูล

4

การเชื่อมต่อระบบคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย การเชื่อมต่อทางกายภาพ (Physical Connection)  การเชื่อมต่อผ่านระบบโทรศัพท์  การเชื่อมเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายท้องถิ่น  การเชื่อมต่อเครือข่ายท้องถิน่ เป็นเครือข่ายระยะไกล

การเชื่อมต่อทางซอฟต์แวร์ (Logical Connection) 5

การเชื่อมต่อผ่านระบบโทรศัพท์ 01011 modem 01011

modem

ISP Phone lines

The Internet

Your computer

Internet Servers

Internet Servers

6

โมเด็ม ชนิดติดตั้งภายใน (Internal Modem) ชนิดเป็นเครื่องสําเร็จรูปสําหรับเชื่อมต่อเข้ากับช่อ งสัญญาณสื่อสารแบบอนุกรม เรียกว่าโมเด็มชนิดภายนอก (External Modem) ความเร็วสูงสุดในปัจจุบัน 56 Kbps ความเร็วในการเชื่อมต่อ = ความเร็วสูงสุดของโมเด็มในฝั่งที่มีประสิทธิภาพ ตํ่ากว่า ความเร็วในการสื่อสารจริงอาจไม่เท่ากับความเร็ว ในการเชื่อมต่อ

7

การเชื่อมเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายท้องถิ่น The internet

Router/ Gateway

Hub/Switch

Server

8

การเชื่อมเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายท้องถิ่น เหมาะสําหรับการใช้งานเครือข่ายตลอดเวลา เหมาะสําหรับความต้องการความเร็วในการเชื่อมต่อที่สูง ขึ้น มีข้อจํากัดในด้านระยะทางในการเชื่อมต่อเพราะถูกจํากัด โดยชนิดและความเร็วของวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย รวมทั้งชนิดของสายนําสัญญาณ 9

อุปกรณ์เครือข่ายและสายสัญญาณ วงจรเชื่อมต่อเครือข่าย สื่อนําสัญญาณ

 Unshielded Twisted Pair  Coxial  Fiber Optic  Satellite  อื่นๆ 10

การเชื่อมต่อเครือข่ายท้องถิ่นเป็นเครือข่ายระยะไกล เชื่อมต่อเครือข่ายระยะใกล้ตั้งแต่สองเครือข่ายในลัก ษณะจุดต่อจุด ทุกเครื่องในเครือข่ายต้องใช้สายสื่อสารร่วมกันเพื่อ ติดต่อกับเครื่องที่อยู่ต่างเครือข่าย ความเร็วในการเชื่อมต่อแปรเปลี่ยนไปตามปริมาณผู้ ใช้ในขณะใดๆ 11

การเชื่อมต่อเครือข่ายเข้าด้วยกัน ใช้เครือข่ายใดเครือข่ายหนึ่งเป็นศูนย์กลางและเชื่อม เครือข่ายที่เหลือกับศูนย์กลางในลักษณะจุดต่อจุด เครือข่ายท้องถิ่นแต่ละเครือข่ายจะต้องมีอุปกรณ์กํา หนดเส้นทาง(Router หรือ Gateway) เพื่อเชื่อมต่อกับ Gateway เครือข่ายอื่น Gateway ประจําเครือข่ายเรียกว่า Default Gateway 12

เครือข่ายดิจติ อลความเร็วสูง Asymmetrical Digital Subscriber Line(ADSL) Symmetric Digital Subscriber Line(SDSL) High-bit-rate Digital Subscriber Line(HDSL) Very-high-bit-rate Digital Subscriber Line(VDSL)

13

Asymmetrical Digital Subscriber Line ADSL

เป็นเทคโนโลยีที่สนับสนุนความเร็วในการเชื่อมต่อเร็วสูง โดยมีความเร็วขาขึ้น (Upstream : จากโมเด็มของผู้ใช้ไปยังโมเด็มฝัง่ ISP) กับความเร็วขาลง (Downstream : จากโมเด็มฝัง่ ISP มายังโมเด็มของผูใ้ ช้) ไม่เท่ากัน 14

Symmetric Digital Subscriber Line SDSL ความเร็วในการเชื่อมต่อทั้งความเร็วขาขึ้น และ

ความเร็วขาลงเท่ากัน เทคโนโลยีนี้เหมาะสมกับการนํามาใช้ในงานด้านธุรกิจ

15

High-bit-rate Digital Subscriber Line HDSL เป็นเทคโนโลยีที่นํามาใช้แทนสายเช่าความเร็ว

1.544 Mbps ซึ่งเดิมมีขีดจํากัดในด้านระยะทางเพียง 1 กิโลเมตร ให้ส่งสัญญาณได้ไกลมากขึ้นถึง 3.6 กิโลเมตรด้วยความเร็ว 2 Mbps

16

Very-high-bit-rate Digital Subscriber Line VDSL เป็นเทคโนโลยีที่มีลักษณะการทํางานคล้าย

ADSL สามารถใช้งานได้กับสายนําสัญญาณหลายชนิด เช่น สายแกนร่วม (Coax) สายใยแก้ว(Fiber-optic) สายตีเกลียวคู่ (Twisted-pair) ในระยะระหว่าง 300 ถึง 1,800 เมตร โดยมีความเร็วขาลง 50-55 Mbps และความเร็วขาขึ้นที่ 1.5-2.5 Mbps 17

แผนผังการเชื่อมต่อเครือข่ายระยะไกล

18

การเชื่อมต่อทางซอฟต์แวร์ ทําได้โดยทําการติดตั้งซอฟต์แวร์สําหรับสื่อสารข้อมูลซึ่ง ทําหน้าที่กําหนดรูปแบบและวิธีการในการสื่อสารข้อมูล เรียกว่าโพรโตคอล (Protocol) เครื่องคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องจะติดต่อสื่อสารข้อมูลกันได้ก็ต่อเมื่อใช้โพรโตคอล ชุดเดียวกันเท่านั้น 19

ชุดโพรโตคอล TCP/IP

20

เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายที่ประกอบด้วยเครื่องคอ มพิวเตอร์ที่ใช้ชุดโพรโตคอล TCP/IPเป็นมาตรฐานในการสื่อสาร TCP (Transmission Control Protocol) ซึ่งทําหน้าที่สร้างการติดต่อและควบคุมการสื่อสารระหว่าง โปรแกรมที่ทําหน้าที่ขอใช้บริการและโปรแกรมที่ทําหน้า ที่ให้บริการ IP (Internet Protocol) ซึ่งทําหน้าที่ในการส่งข้อมูลจากเครือ่ งคอมพิวเตอร์ต้นทาง

21

ตําแหน่งของคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต กําหนดเป็นเลขฐานสองขนาด 32 บิต เรียกว่าเลขตําแหน่งในเครือข่ายและมีชื่อเรียกเฉพาะว่า IP Address แบ่งออกเป็น 4 ชุด ชุดละ 8 บิต คั่นด้วยเครื่องหมายจุด นิยมเขียนเป็นเลขฐานสิบ แต่ละชุดจะมีค่าระหว่าง 0-255 ตัวอย่าง เช่น

 10.4.1.39 เป็นหมายเลข IP ของเครื่อง seashore.buu.ac.th  10.16.64.24 เป็นหมายเลข IP ของเครื่อง www.cs.buu.ac.th22

กลุ่มและรูปแบบของ IP Address

สําหรับเครือข่ายขนาด

แยก IP Address ออกเป็น Class เพื่อกําหนดขนาดของเครือข่าย ใหญ่ กลาง เล็ก 23

IP Address คือหมายเลขอ้างอิงในการส่งข้อมูลบนโปรโตคอล TCP/IP (ปัจจุบันเป็น IPV4) โดยกําหนดหมายเลขให้อุปกรณ์ในระบบ เช่น เครือ่ งคอมฯ บริดจ์ เราเตอร์ เพื่อใช้กําหนดเส้นทาง(ปลายทาง) ในการส่งแพ็กเก็จข้อมูล IP Address เป็น address แบบลําดับชั้น (hierarchy) ทําให้สะดวกในการบริหารจัดการ IP Address เป็น address ขนาด 32 บิต แบ่งเป็น 5 ประเภท คือ A,B,C,D,E 24

IP Address

ส่วนแรกเรียกว่าNetwork Address หรือ Network ID ส่วนที่สองเรียกว่า Host Address หรือ Host ID

25

IP Class หมายถึงการจัดกลุ่ม IP Address จากตัวเลข 32 บิต จํานวน 4 ชุด ซึ่งในแต่ละชุดมีคา่ 0 – 255 ทําให้สามารถมีหมายเลข IP ได้ถึง 256x256x256x256 = 4,294,967,296 เพื่อแจกจ่ายให้กบั อุปกรณ์ตา่ งๆ บนเครือข่ายทั่วโลก โดยหน่วยงาน Inter NIC (Internet Network Information Center) จะเป็นผูก้ ําหนดหมายเลข IP เพื่อใช้ทั่วโลก ซึ่งนับวันก็ต้องลดน้อยลงไป ขณะนีก้ ําลังมีการพัฒนา โปรโตคอลไอพี version ใหม่ คือIPV6 จาก 32บิต เป็น 128 บิต และเมือ่ ประกาศใช้แล้ว IP จะมีเพียงพอสําหรับอนาคตแน่นอน แต่การอัพเกรดอินเตอร์เนตให้ใชโปรโตคอลเวอร์ชั่นใหม่ ต้องใช้เวลาอีกนานพอสมควร เพราะเป็นเรือ่ งใหญ่มาก

26

Class A  Network ID =27=128 ต้องลบด้วย2 เพราะ -ไม่สามารถให้ Network ID ที่เป็น 0 ทั้งหมดได้ -ไม่สามารถใช้ Network ID ที่ขึ้นต้นด้วยหมายเลข 127 ได้ Class D  ไม่ได้ถกู นํามาใช้กําหนดให้กับเครือ่ งคอมฯ ทั่วไป แต่จะถูกใช้สําหรับการส่งข้อมูลแบบ Multicast ของบางApplication ซึง่ เป็นการส่งจากเครือ่ งต้นทางหนึ่งเครื่อง ไปยังกลุ่มของเครื่องปลายทางกลุ่มหนึ่ง แต่ไม่ใช่ทุกเครื่องในเน็ตเวิร์กเซกเมนต์นั้น 28 บิต ใช้กําหนด Address ของกลุ่มเครื่อง ที่ต้องการเข้ามาอยู่ใน Multicast Group เดียวกัน ไบต์ซ้ายสุดของAddress ใน Class D จะมีคา่ เป็น 224 เสมอ  Windows สนับสนุนการส่งข้อมูลในลักษณะนี้ ตัวอย่างของApplication หรือ service ที่ใช้ Multicast ได้แก่ WINS (Windows Internet Name Service) และ Application Multimedia เช่น MS NetShow Class E  ถูกสงวนเอาไว้ ยังไม่ได้ถกู ใช้งานจริง แต่อาจถูกใช้ในอนาคต 27

Private/Public Internet อย่างไรก็ตามเมื่อเชือ่ มต่อเครือข่ายเข้ากับ internet อาจทําให้หมายเลขเครือ่ ง ไปซํ้ากับโฮสต์ใน internet ได้ เพื่อป้องกันปัญหาดังกล่าว องค์กร IETF( Internet Engineering Task Force) ได้กําหนดหมายเลขไอพี 3 กลุม่ เป็นหมายเลขไอพีส่วนบุคคล ซึ่งหมายเลขกลุ่มนีจ้ ะไม่ถูกส่งโดยเราเตอร์

ดูหมายเลข IP ที่ใช้แล้วที่ http://www.iana.org/assignments/ipv4-address-space

28

Subnet Mask (หมายเลขเครือข่าย) เป็นเลขฐานสองขนาด 32 บิต ที่ใช้ในการกําหนดขอบเขตของเครือข่ายและสัมพันธ์กับ Class ของ IP Address เช่นเครือข่ายที่มีหมายเลขเครือข่ายใน Class C จะมีค่าโดยปริยายเป็น 255.255.255.0 ใช้ในการทดสอบว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ต้นทางและปลาย ทางอยู่ในเครือข่ายเดียวกันหรือไม่ หมายเลขเครือข่าย = หมายเลขAND IP Operator • Subnet mask

29

ตัวอย่างการหาหมายเลขเครือข่าย

เครื่อง A

IP ADDRESS : 192.168.1.2 SUBNET MASK : 255.255.255.0

เครื่อง B

IP ADDRESS : 192.168.1.8 SUBNET MASK : 255.255.255.0

30

ตัวอย่างการหาหมายเลขเครือข่าย

12 6 3 1 8 4 2 1 8 1 4 1 2 0 6 0 0 0 0 0

เครื่อง A

12 6 3 1 8 4 2 1 8 1 4 0 2 1 6 0 1 0 0 0

.

12 6 3 1 8 4 2 1 8 0 4 0 2 0 6 0 0 0 0 1 12 6 3 1 8 4 2 1 8 0 4 0 2 0 6 0 0 0 1 0

192

168 .

1 .

2

31

การหาหมายเลขเครือข่ายเครื่อง A IP ADDRESS = 192.168.1.2 SUBNET MASK = 255.255.255.0 11000000 . 10101000 . 00000001 . 00000010 AND 11111111 . 11111111 . 11111111 . 00000000 11000000 . 10101000 . 00000001 . 00000000

IP ADDRESS SUBNET MASK NETWORK NO.

NETWORK NUMBER = 192.168.1 32

ตัวอย่างการหาหมายเลขเครือข่าย

12 6 3 1 8 4 2 1 8 1 4 1 2 0 6 0 0 0 0 0

เครื่อง B

12 6 3 1 8 4 2 1 8 1 4 0 2 1 6 0 1 0 0 0

.

12 6 3 1 8 4 2 1 8 0 4 0 2 0 6 0 0 0 0 1 12 6 3 1 8 4 2 1 8 0 4 0 2 0 6 0 1 0 0 0

192

168 .

1 .

8

33

การหาหมายเลขเครือข่ายเครื่อง B IP ADDRESS = 192.168.1.8 SUBNET MASK = 255.255.255.0 11000000 . 10101000 . 00000001 . 00001000 AND 11111111 . 11111111 . 11111111 . 00000000 11000000 . 10101000 . 00000001 . 00000000

IP ADDRESS SUBNET MASK NETWORK NO.

NETWORK NUMBER = 192.168.1 34

ตัวอย่างการหาหมายเลขเครือข่าย เครื่อง A

IP ADDRESS : 192.168.1.2 SUBNET MASK : 255.255.255.0

NETWORK NUMBER : 192.168.1

เครื่อง B

IP ADDRESS : 192.168.1.8 SUBNET MASK : 255.255.255.0

NETWORK NUMBER : 192.168.1

แสดงว่า เครื่องคอมพิวเตอร์ A และเครื่องคอมพิวเตอร์ B อยู่ในเครือข่ายเดียวกัน

35

Loopback Address เป็นการกําหนดค่า Address ย้อนกลับให้ application หรืออุปกรณ์บนเครือข่าย เพื่อให้ Process ภายในเครื่องสามารถติดต่อกันได้ โดยผ่านขั้นตอนการเชื่อมต่อของ loopback •

มีการกําหนด IP Address เฉพาะขึ้นมา และสงวนเอาไว้ใช้งานตามแต่ละ class คือ – Loopback ของ class A คือ 127.0.0.0 – Loopback ของ class B คือ 191.255.0.0 – Loopback ของ class C คือ 223.255.255.0 เช่นถ้ามีการส่งข้อมูลไปยังหมายเลข 191.255.0.1 ก็จะไม่ส่งข้อมูลออกไปนอกระบบเน็ตเวิร์ก แต่จะย้อนกลับไปยังเครือ่ งต้นทางที่ส่งมา

36

การติดต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย เครื่องคอมพิวเตอร์ต้นทางต้องรู้ IP Address ของเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางเสมอ และ เครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายแต่ละเครือข่าย ต้องรู้ IP Address ของอุปกรณ์กําหนดเส้นทางประจําเครือข่ายหรือ Default Gateway ของเครือข่ายนั้นด้วยเช่นกัน

37

วิธีการส่งข้อมูล เครื่องในเครือข่ายเดียวกันต้องมีส่วนของหมายเลขเครือข่ ายเหมือนกัน ถ้าหมายเลขเครือข่ายของเครื่องปลายทางเท่ากับหมายเลข เครือข่ายของเครือ่ งต้นทาง การส่งข้อมูลสามารถกระทําได้โดยตรง ในกรณีที่ไม่เท่ากัน ผู้ส่งจะส่งข้อมูลไปยัง Default Gateway เพื่อให้ Default Gateway เลือกเส้นทางที่จะส่งข้อมูลไปยังเครื่องปลายทางตามความ เหมาะสมต่อไป

38

การส่งข้อมูลบนเครือข่าย 192.168.2.77

Router/ Gateway 192.168.1.55

Ethernet

Ethernet

The internet 192.168.2.1

192.168.2.2

192.168.2.3 192.168.1.1

192.168.1.2

192.168.1.3

192.168.1.4

39

ระบบชื่อโดเมน (Domain Name System : DNS) เป็นการจัดกลุ่ม IP Address ของหน่วยงานแต่ละหน่วยงานเข้าด้วยกัน และกําหนดเป็นชื่อขึ้นใช้แทน มีการจัดโครงสร้างตามลําดับชั้น  กําหนดตามลักษณะของหน่วยงาน และ  กําหนดตามพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ 40

โครงสร้างตามลําดับชั้นของชื่อโดเมน

41

การกําหนดชือ่ โดเมนในระดับสูงสุดตามลักษณะหน่วยงาน com หน่วยงานด้านธุรกิจและการค้า edu สถาบันศึกษา net หน่วยงานที่สนับสนุนการดําเนินการในเครือข่าย mil หน่วยงานทหาร org หน่วยงานอื่นๆ int หน่วยงานที่ดําเนินการในระดับนานาชาติ biz หน่วยงานธุรกิจ info สําหรับบุคคลทั่วไปใช้ในการบริการข่าวสาร pro สําหรับหน่วยงานที่เชี่ยวชาญในระดับอาชีพ

42

การกําหนดชือ่ โดเมนในระดับสูงสุดตามรหัสประเทศ th ประเทศไทย cn จีน jp ญีป่ ุ่น kr เกาหลี

43

การกําหนดชื่อโดเมนในระดับที่สอง หน่วยงานที่ได้รับรหัสในระดับสูงสุดสามารถนํามาขยายเ ป็นรหัสในระดับที่สองได้ เช่นรหัสประเทศไทย th สามารถแยกออกเป็นรหัสหน่วยงานในประเทศ เช่น

 ac หมายถึงสถานศึกษา  co หมายถึงหน่วยงานธุรกิจและการค้า  go หมายถึงหน่วยงานราชการ เป็นต้น 44

การกําหนดชื่อโดเมนในระดับที่สาม จากรหัสหน่วยงานในระดับที่สอง หน่วยงานที่ได้รับรหัสนัน้ สามารถขยายต่อไปเป็นรหัสในระดับ ที่สาม ซึ่งเป็นรหัสที่ชี้เฉพาะถึงหน่วยงาน เช่น

 buu หมายถึงมหาวิทยาลัยบูรพา  cu หมายถึงจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  tu หมายถึงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ  ku หมายถึงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นต้น

45

การกําหนดชื่อโดเมนในระดับตํ่าลงไป หน่วยงานสามารถกําหนดชื่อหน่วยงานย่อยภายในได้เอง เช่น กําหนดชื่อ

 cs แทนเครือข่ายย่อยของภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์  sci แทนเครือข่ายของคณะวิทยาศาสตร์  eng แทนเครือข่ายของคณะวิศวกรรมศาสตร์ เป็นต้น 46

DNS หน่วยงานที่ได้รับรหัสในระดับใดๆสามารถตั้งชื่อเครื่องที่ อยู่ภายใต้ความควบคุมได้อสิ ระ และ/หรือ สามารถขยายรหัสต่อไปให้กับหน่วยงานย่อยรับผิดชอบแ ทนได้ เครื่องทุกเครือ่ งมีหมายเลข IP ดังนัน้ การตั้งชื่อเครือ่ งภายใต้ชื่อรหัสที่ได้รับมาแล้วทําให้ ชื่อเครื่องที่ตามด้วยชื่อโดเมนของหน่วยงานมีค่าเทียบเท่า กับหมายเลข IP ของเครื่องๆนั้น

47

ตัวอย่างการกําหนดชื่อโดเมน เช่น ชื่อ angsila.cs.buu.ac.th มี IP Address เป็น 10.16.64.16 มีความหมายว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ชื่อ angsila อยู่ในเครือข่ายของภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์(cs) ซึ่งเป็นเครือข่ายย่อยในเครือข่ายของมหาวิทยาลัยบูรพา(buu) เครือข่ายของมหาวิทยาลัยบูรพาเป็นเครือข่ายย่อยในเครือข่ายของ สถาบันการศึกษา(ac) และ เครือข่ายของสถาบันการศึกษาเป็นเครือข่ายย่อยของเครือข่ายในป ระเทศไทย(th) ดังนั้น ชื่อเครือ่ ง + ชื่อโดเมนของหน่วยงาน ( angsila.cs.buu.ac.th ) คือ ชื่อโดเมนที่ใช้แทนหมายเลข IP 10.16.64.1648

การสื่อสารที่เกิดขึน้ เมื่อผู้ใช้ระบุชอื่ เครื่องให้บริการ WWW 1. ระบุช่ือเคร่ ืองให้บริการ

3. รับหมายเลข IP ของ เคร่ ืองให้บริการกลับมา

2. ค้นหาหมายเลข IP ของช่ ือ เคร่ ืองให้บริการท่ีระบุ

4. ติดต่อไปยังเคร่ ือง ให้บริการตามหมายเลข IP ของเคร่ ืองให้บริการท่ีได้รบ ั 49

ข้อมูลที่จําเป็นสําหรับเครือข่าย สรุปได้ว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครือ่ งในเครือข่ายอินเทอ ร์เน็ต ต้องมีข้อมูลที่จาํ เป็นสําหรับเครือข่าย คือ  IP Address  Subnet Mask  Default Gateway และ  Domain Name Server 50

การตรวจสอบข้อมูลเครือข่าย การตรวจสอบข้อมูลเครือข่ายในระบบปฏิบัติการ MS Windows ทําได้โดยการเข้าสู่ระบบปฏิบัติ MS-DOS และใช้คําสั่ง ipconfig หรือใช้คําสั่ง ifconfig ในระบบปฏิบัติการ Unix

51

การตรวจสอบข้อมูลเครือข่าย

สําหรับกรณีที่มีข้อมูลครบถ้วนและถูกต้อง ก็ไม่ได้หมายความว่าจะสามารถติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นในเครือข่ายได้ ต้องทําการตรวจสอบการติดต่อสือ่ สารในเครือข่ายในลําดับต่อไป

52

การตรวจสอบการติดต่อสื่อสารในเครือข่าย

53

การตรวจสอบการติดต่อสื่อสารในเครือข่าย

54

โปรแกรมประยุกต์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต มีสถาปัตยกรรมแบบ Client/Server เป็นสถาปัตยกรรมของโปรแกรมที่ประกอบขึ้นด้วย โปรแกรมสองชุด  ชุดแรกเป็นโปรแกรมที่ทําหน้าที่ในการให้บริการอย่างใดอย่า งหนึง่ เรียกว่า ผู้ให้บริการ(Server)  โปรแกรมอีกชุดหนึ่งเรียกว่า ผู้ขอใช้บริการ(Client) 55

The Client/Server Model เครื่องผู้ให้บริการ

เครื่องผู้ขอใช้บริการ

ร้องขอ ตอบกลับ

เครือข่าย

56

การถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล File Transfer Service ใช้ในการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลจากเครื่องผู้ให้บริการมายังเค รือ่ งผู้ใช้บริการ โปรแกรมในกลุ่มนี้เรียกว่า File Transfer Protocol หรือ FTP FTP เป็นการให้บริการ ในการทําสําเนาแฟ้มข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ตนมี สิทธิ (User FTP) หรือจากเครือ่ งคอมพิวเตอร์ที่มีการให้บริการแบบไม่ต้องร ะบุตวั ผู้ใช้ (anonymous FTP)

57

เครือ่ งคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล เครือ่ งคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล ประกอบด้วย  เครื่องผู้รับบริการ (Client) หรือบางทีเรียกว่า local host จะ run โปรแกรม ftp (ftp client) เพือ่ ขอบริการ  เครื่องผู้ให้บริการ (Server) หรือบางทีเรียกว่า remote host จะ run โปรแกรม ftpd เพือ่ รอการติดต่อและให้บริการแก่ local host

58

การถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล การถ่ายโอนไฟล์จาก local host ไปยัง remote host เรียกว่าการ

upload

การถ่ายโอนไฟล์จาก remote host ไปยัง local host เรียกว่าการ

download

Upload Remote Host

Local Host Download

59

โปรแกรมไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail) โปรแกรมไปรษณียอ์ เิ ล็กทรอนิกส์เป็นบริการรับส่งจดหม ายผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ให้บริการได้สะดวกและรวดเร็ว รับส่งข่าวสารได้ทั้งแบบตัวอักษร ภาพ และเสียง ทําให้การติดต่อสื่อสารไม่มีขีดจํากัด และเป็นระบบที่ได้รับความนิยมในการใช้บริการสูงในเค รือข่ายปัจจุบัน 60

แนวความคิดพื้นฐานของไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ Email เป็นการติดต่อสือ่ สารแบบ Asynchronous ข้อมูลในจดหมายจะถูกส่งไปยัง Server ข้อมูลในจดหมายจะถูกเก็บไว้จนกระทั่งถูกเรียกใช้ ข้อมูลในจดหมายอาจจะใช้เวลาเล็กน้อยก่อนที่จะถูก ส่งถึง 61

องค์ประกอบ ของโปรแกรมไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนิกส์

ส่วนการติดต่อกับผู้ใช้ เรียกว่า User Agent โดยมากมักจะอยู่ในรูปแบบของโปรแกรมใช้งาน โปรแกรมเหล่านี้ช่วยอํานวยความสะดวกในการอ่านจดหมาย ช่วยในการจัดเตรียมจดหมายและจัดส่ง รวมถึงอํานวยความสะดวกในการจัดเก็บที่อยู่ของผู้ใช้ที่มีการติด ต่อบ่อย องค์ประกอบทีส่ ําคัญอีกส่วนหนึง่ ได้แก่ส่วนการรับส่งไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย เรียกว่า Message Transfer Agent

62

E-mail Address รูปแบบทั่วไปของ email address user@domain_name ตัวอย่าง เช่น [email protected]

ในบางครั้งอาจจะอยู่ในรูปแบบ

user@computer_name.domain_name เช่น [email protected] 63

การส่งจดหมาย ถึง(To) พิมพ์ e-mail address ของบุคคลที่ผสู้ ่งต้องการส่งจดหมายไปถึง สําเนาถึง(Cc) พิมพ์ e-mail address ของผู้รับคนอื่นที่ผู้ส่งต้องการส่งสําเนาจดหมายไปถึง ซ่อนสําเนาถึง(Bcc) พิมพ์ e-mail address ของผู้รับคนอื่นที่ผู้ส่งต้องการส่งสําเนาจดหมายไปถึงเพียงแต่มีข้ อแตกต่างกันที่ เมื่อผูส้ ่งระบุตัวผูร้ ับสําเนาจดหมายด้วย ซ่อนสําเนาถึง แล้ว ผูร้ ับจดหมาย (ในที่นี้คือเจ้าของ e-mail address ในส่วนของ ถึง) จะไม่ทราบว่าจดหมายที่ได้ตนรับนัน้ 64 ถูกทําสําเนาส่งไปถึงผูอ้ ื่นด้วยหรือไม่

ข้อดีของ E-mail เป็นการติดต่อสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ สามารถกระจายข้อมูลในจดหมายไปยังผู้อ่านหลายๆ คนได้ ส่งต่อข้อมูลในจดหมายไปยังผู้อนื่ ได้ง่าย สามารถส่งข้อมูลในจดหมายได้รวดเร็วมาก แม้ว่าจะอยู่ไกลออกไป สามารถแนบแฟ้มข้อมูลไปกับข้อความในจดหมายได้ ไม่ต้องติดแสตมป์ ใส่ซองหรือไปที่ทําการไปรษณีย์

65

ข้อเสียของ E-mail

มีจดหมายที่ต้องรับส่งมากขึ้น ได้รับจดหมายที่ไม่พึงประสงค์ (Junk mail หรือ Spam mail) มากขึ้น

66

บริการเวิลด์ไวด์เว็บ ระบบเวิลด์ไวด์เว็บประกอบขึ้นด้วยเอกสารจํานวนมาก เอกสารแต่ละหน้าเรียกว่าเอกสารเว็บ (Web Page) ทําให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์สามารถค้นหาและดูเอกสารข้อมูลต่างๆ ได้หลายรูปแบบ ทั้งข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว หรือเสียง เอกสารเว็บแต่ละหน้าอาจมีการเชื่อมโยงไปยังเอกสารอื่นได้หลา ยหน้าซึ่งแต่ละหน้าอาจอยู่ในเครื่องให้บริการต่างกัน ทําให้เกิดเป็นระบบเอกสารหลายมิติ (Hypertext) ขึ้น 67

ลักษณะการทํางานของบริการเวิลด์ไวด์เว็บ HTML DOCUMENTS/ LINKED FILES

http://www.buu.ac.th/index.html

REQUEST index.html

HTTP

The Internet

Client Web Browser

WEB PAGE

HTTP

HTML DOCUMENT index.html

Web Server

68

การทํางานพื้นฐานของ WWW เครื่องคอมพิวเตอร์ Client มีโปรแกรม Browser ติดต่อไปยังเครื่อง Server ที่รันโปรแกรม Web Server ผู้ใช้กําหนดแหล่งข้อมูลที่ต้องการรับบริการ เรียกว่า URL : Uniform Resource Locator ลงบน Browser Browser ส่งคําร้องขอ (request) ไปยัง Web Server เมื่อได้รับ ก็จะส่งข้อมูลกลับมา (respond) ให้กับ Browser โพรโตคอลหลักที่ทําหน้าที่ในลักษณะ request-respond เรียกว่า Hypertext Transfer Protocol หรือ HTTP 69

ผู้ขอใช้บริการ การแสดงผลเอกสารเว็บทําได้โดยใช้โปรแกรมค้นผ่าน (Browser) เช่น Firefox และ Microsoft Internet Explorer เป็นต้น โดยผู้ใช้ต้องระบุตัวชี้แหล่งทรัพยากรสากล หรือยูอาร์แอล (Universal Resource Locator หรือ Uniform Resource Locator เรียกย่อว่า URL) เช่น http://www.buu.ac.th/index.html

70

ตัวชี้แหล่งทรัพยากรสากล(URL) โดยทั่วไปประกอบขึ้นด้วยองค์ประกอบสามส่วน  โพรโตคอลหรือวิธีการที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร  ชื่อโดเมนของเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการ และ  ชื่อแฟ้มของเอกสารเว็บที่ต้องการ เช่น

http://www.buu.ac.th/index.html

 มี http เป็นชื่อโพรโตคอล  www.buu.ac.th เป็นชื่อโดเมนของเครื่องคอมพิวเตอร์ของผูใ้ ห้บริการ และ  index.html เป็นชื่อแฟ้มของเอกสารเว็บ

71

รูปแบบของ URL <protocol>://<server name> [:<port number>]/ ส่วนของ <protocol> http:// World Wide Web Server ftp:// FTP server (file transfer) https:// Secure HTTP news:// Usenet newsgroups mailto: e-mail file:// File on local system 72

รูปแบบของ URL

<protocol>://<domain name> / ส่วนของ <domain name>  หมายถึง ชื่อเครื่องให้บริการบนอินเทอร์เน็ต เช่น www.buu.ac.th หรือ angsila.cs.buu.ac.th  ยกเว้นในกรณีของ mailto: จะหมายถึง E-mail address เช่น mailto:[email protected] และ ไม่ได้ตามด้วยเครื่องหมาย //  สามารถระบุเป็น IP Address ก็ได้

73

รูปแบบของ URL

<protocol>://<domain name> //

ส่วนของ /  ระบุชื่อแฟ้มข้อมูล และ path ไปยังแฟ้มข้อมูลนัน้  ตัวอย่างเช่น

• http://www.buraphalinux.org/index.html จะมีค่าเท่ากับ http://www.buraphalinux.org • Homepage ของ micky สามารถระบุได้เป็น http://www.buraphalinux.org/~micky 74

ผู้ให้บริการเว็บ

ผูใ้ ห้บริการเป็นโปรแกรมที่ทํางานอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่อง ใดเครื่องหนึ่งในเครือข่าย ตัวอย่างโปรแกรมผู้ใช้บริการ เช่น Apache และ Microsoft IIS เป็นต้น โปรแกรมเหล่านี้ทําหน้าที่รอคอยเพื่อให้บริการ เมื่อได้รับการเชื่อมต่อและชื่อแฟ้มเอกสารเว็บจากผู้ใช้บริการ ผูใ้ ห้บริการจะทําการค้นแฟ้มที่กําหนดจากระบบแฟ้มในเครื่องคอ มพิวเตอร์ของตน และทําการส่งเอกสารหลักหรือเอกสาร HTMLไปยังผู้รับบริการให้แล้วเสร็จก่อน จากนั้นจึงทําการส่งแฟ้มอืน่ ๆที่มีการอ้างอิงถึงในเอกสารเว็บไปยั75ง

คุณสมบัติ Favorites การจัดเก็บ URL ต่าง ๆ ที่เราสนใจไว้ เพื่อเป็นทางลัดและเกิดความ สะดวกในการเรียกใช้งานหน้ าเว็บเพจในภายหลังโดยไม่ต้ องจดจํา URL ของเว็บเพจนั้น ๆ

76

ตัวอย่างวิธีการสืบค้นข้อมูล การใช้เครื่องหมายคําพูด “….” เข้าช่วย เช่น  “computer network”

ผลที่ได้จะได้ เว็บเพจ ที่มีคําว่า computer และคําว่า network ทั้งสองคํา โดยมีคําว่า computer มาก่อน ตามด้วยเว้นวรรค และต่อท้ายด้วยคําว่า network 77

ตัวอย่างวิธีการสืบค้นข้อมูล การค้นหาโดยการใช้เครื่องหมาย * ต่อท้าย Keyword เช่น  Bang*

ผลที่ได้จะได้ เว็บ เพจ ที่มีคําว่า Bang หรือ มีคําว่า Bang เป็นส่วนประกอบของคํา เช่น Bang’s หรือ Bangkok เป็นต้น 78

Related Documents

Networkinternet
November 2019 14

More Documents from "PongthaP Reawruad"

Expert Excel Tips
November 2019 36
November 2019 18
Networkinternet_forprint
November 2019 10
Tvss
November 2019 18
Networkinternet
November 2019 14
Computer System
November 2019 27