Computer System

  • Uploaded by: PongthaP Reawruad
  • 0
  • 0
  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Computer System as PDF for free.

More details

  • Words: 2,545
  • Pages: 17
บทที่ 2 ระบบของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอร(Computer) เปนเทคโนโลยีที่สําคัญและโดดเดนในสังคมสารสนเทศ (Information Society) เนื่องจากเปนเครื่องมือที่ชวยใหการทํางานโดยเฉพาะทางขอมูลสารสนเทศมีประสิทธิภาพสะดวกรวด เร็วยิ่งขึ้น การรูจักคอมพิวเตอรจึงเปนสิ่งจําเปนสําหรับนําคอมพิวเตอรไปใชงาน ไมวาจะเปนงานดานพื้นฐานหรือ งานที่ตองอาศัยความชํานาญตางๆ 1. ความหมายของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอร หมายถึง อุปกรณอิเล็คทรอนิคสที่สามารถแปลงคําสั่งและดําเนินการตามคําสั่ง เชน การ สงขอมูลเขาสูระบบ การประมวลผล และการแสดงผลลัพธ เปนตน การทํางานของคอมพิวเตอร การทํางานของคอมพิวเตอรประกอบไปดวยการทํางานขั้นพื้นฐาน 4-ขั้นตอน ดังนี้ 1. การสงขอมูลเขา (Input) คําสั่งหรือขอมูลตางๆ จะตองมีการนําเขาสูระบบเพื่อนําไป ประมวลผล โดยผานอุปกรณนําเขาขอมูล เชน mouse และ keyboards เปนตน 2. การประมวลผล (Processing) เมื่อมีการนําเขาขอมูลสูระบบแลว คอมพิวเตอรมีหนาที่ ประมวลผลตามคําสั่งที่กําหนดไว เชน การคํานวณเปรียบเทียบตางๆ 3. การแสดงผลลัพธ (Output) ผลที่ไดจากการประมวลผลของคอมพิวเตอรในรูปแบบตางๆ เพื่อนําไปใชในการตัดสินใจ หรือการบริหารงานตอไป อุปกรณแสดงผลลัพธ เชน monitors และ printers 4. การจัดเก็บขอมูล (Storage) ทําหนาที่จัดเก็บขอมูลลงบนหนวยความจําสํารองประเภทตางๆ ตามความสามารถของคอมพิวเตอรนั้นๆ อุปกรณที่ใชในการจัดเก็บขอมูล เชน Floppy disks, CD-ROM, hard disks เปนตน หนวยประมวล

หนวยนําเขาขอ

หนวยแสดงผลลัพธ

หนวยจัดเก็บ

รูปที่ 2.1 การทํางานของคอมพิวเตอร

1.

2.

3.

4.

5. 6.

1. 2.

3. 4.

5.

องคประกอบของระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร ประกอบดวย ฮารดแวร (Hardware) หมายถึง อุปกรณทุกชนิดที่ใชในการประมวลผล การนําขอมูลเขา การจัดเก็บขอ มูลและการแสดงผลลัพธ โดยอุปกรณทุกชิ้นจะทํางานรวมกันเพื่อใหไดผลลัพธตามชุดคําสั่งหรือ software ที่อยูในเครื่อง รายละเอียดเกี่ยวกับฮารดแวร ซอฟตแวร (Software) หมายถึง ชุดคําสั่งที่สั่งใหฮารดแวรทํางานรวมกัน บางครั้งเรียกวา โปรแกรม แบงออกเปน 2 ประเภทหลัก คือ system software และ application software รายละเอียดไดกลาวไวใน บทที่ 5 ขอมูล/สารสนเทศ (data/ information) เมื่อเรานําขอมูลเขาสูระบบคอมพิวเตอร หนวยประมวลผลจะจัด การกับขอมูลนั้น เพื่อใหไดมาซึ่งสารสนเทศ หรือขอมูลที่ไดรับการกลั่นกรองใหอยูในรูปแบบที่นํามา ใชใหเกิดประโยชนได ดังนั้น ขอมูล จึงตองมีความถูกตองแมนยํา ทันเวลาและเชื่อถือได เพื่อใหไดมา ซึ่งสารสนเทศที่มีความถูกตองเชนกัน กระบวนการทํางาน (Procedure) คือขั้นตอนการทํางานของคอมพิวเตอรในระบบตางๆ เพื่อใหเกิดผล ลัพธที่ตองการ เชน ขั้นตอนในการใชตู ATM ผูใชจะตองปฏิบัติตามขั้นตอนที่ลําดับไว จึงจะไดเงินออก มา บุคลากร (Peopleware) เปนกลุมผูทํางานที่เกี่ยวของกับคอมพิวเตอร มีหนาที่แตกตางกันไป แตทํางาน รวมกันเพื่อใหมีการใชคอมพิวเตอรอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ดังกลาวไวแลวในบทที่ 1 ผูใช (Users) ถึงแมวาคอมพิวเตอรสวนมากสามารถสั่งการทํางานดวยตัวเองตามโปรแกรมที่ตั้งไวก็ตาม การใชการควบคุมของมนุษยก็ยังเปนสิ่งจําเปนอยูเสอมเชนกัน ดังนั้น ผูใชจึงควรเปนผูที่มีความรูความ สามารถพอที่จะนําสิ่งที่มีอยูมากอใหเกิดประโยชนได

คุณสมบัติที่สําคัญ 5 ประการของคอมพิวเตอร มีความเร็วสูงในการประมวลผล (Processing Speed) ซึ่งแตกตางกันไปตามการทํางานและความสามารถ ของคอมพิวเตอรแตละประเภท มีการทํางานที่ถูกตองแมนยําและเชื่อถือได (Accuracy and Reliability) ไมวาจะเปนการปฏิบัติการทางดาน คํานวณ หรือการใหปฏิบัติงานซ้ําๆกันหลายครั้ง คอมพิวเตอรตองสามารถทําตามชุดคําสั่ง (programs) ที่ เขียนไวอยางไมมีขอผิดพลาด มีความจุในการเก็บขอมูลสูง (Storage Capacity) ซึ่งก็ขึ้นอยูกับขนาดของคอมพิวเตอรดวยเชนกัน วามี หนวยความจําสํารองไดปริมาณมากเทาไร มีการทํางานดวยระบบอิเล็กทรอนิกส (Electronic Machine) ขอมูลทั้งหมดที่ถูกปอนเขาสูเครื่อง คอมพิวเตอรจะไดรับการแปลงสัญญาณใหอยูในรูปของสัญญาณไฟฟากอน และ เมื่อมีการประมวลผลเรียบ รอยแลว คอมพิวเตอรก็จะเปลี่ยนสัญญาณไฟฟาเปนภาษาที่มนุษยเขาใจได มีการสื่อสารเชื่อมโยงขอมูล (Communication) สามารถติดตอสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องอื่นๆได

ระบบสารสนเทศ 8

องคประกอบของระบบคอมพิวเตอร ประกอบดวย 3 สวน 1. ฮารดแวร (Hardware) หมายถึง ตัวเครื่องคอมพิวเตอรหรือสวนประกอบและอุปกรณที่เกี่ยวของ ที่เห็นไดจับตองได เกณฑมาตรฐานในการเลือกซื้ออุปกรณ 1.1 ไมโครโปรเซสเซอร (Microprocessor) หรือ ซีพียู (CPU) เปนวัสดุที่ทําดวยสารซิลิคอน ซึ่ง ประกอบดวยวงจรรวม เรียกวา ชิป (Chip) ความเร็วในการทํางานวัดเปน เมกะเฮิรตซ (MHz) หรือ 1ลานรอบตอวินาที 1.2 แรม (RAM) เปนหนวยความจําชั่วคราว กอนประมวลผลขอมูลจะถูกอานเก็บไวที่แรมกอน ถามีหนวยความจํา แรมนอยเครื่องจะประมวลผลไดชา ปจจุบันแรมาไมควรต่ํากวา 32 MB 1.3 ดิสกไดรฟ (Disk Drive) ใชอานขอมูลบนแผนดิสก 1.4 ซีดีรอมไดรฟ (CD-ROM Drive) ใชอานขอมูลจากแผนซีดีรอม แผนซีดีรอม 1 แผนจุได 650 MB 1.5 ฮารดดิสก (Hard disk) เปนอุปกรณเก็บขอมูลเหมือนแผนดิสกเกตแตจะทํามาจากจานโลหะแข็ง เชน อลูมิเนียมเคลือบดวย สารแมเหล็ก สามารถบันทึกและอานขอมูลไดเร็วกวาดิสกเกต จุขอมูลไดมาก มีหนวยในการเก็บขอมูลเปนกิกะไบต(GB) ที่นิยมใชกันไดแก Seagate, NEC, Quantum เปนตน 1.6 คียบอรด (Key board) เปนอุปกรณรับขอมูล มาตรฐานที่ใชเปนขนาด 105 คีย 1.7 เมาส (Mouse) เปนอุปกรณสําหรับชี้ตําแหนงบนจอภาพ ใชคูกับแผนรองเมาส(Mouse Pad) 1.8 กลองของเครื่อง (Case) ทําหนาที่หอหุมอุปกรณอิเล็กทรอนิกสตางๆภายในเครื่องไว มีแบบนอน (Baby) และแบบตั้ง (Tower) 1.9 จอภาพ (Monitor) ขนาดจอภาพที่นิยม คือ ขนาด 15 นิ้ว หรือ 17 นิ้ว โดยวัดจากความยาวของเสนทแยงมุมของจอภาพ 2. ซอฟตแวร (Software) คือโปรแกรมคําสั่งที่สั่งใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางาน โดยจะเก็บไวในหนวยความจํา หลังจากนั้นเครื่องจะ ทํางานดวยตนเองตามโปรแกรมภายใตการควบคุมของหนวยควบคุม (Control Unit) ซอฟตแวรแบงเปน 2 ประเภท คือ 2.1 ซอฟตแวรระบบ (System Software)

ระบบสารสนเทศ 9

คือ โปรแกรมที่ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของคอมพิวเตอรฮารดแวร จัดระบบการเก็บขอมูล การรับสงขอมูล เก็บขอมูลลงหนวยความจํา โดยบริษัทผูผลิตเครื่องจะใหโปรแกรมมากับเครื่อง สวนสําคัญที่ เปนแกนหลักของโปรแกรมระบบ คือ ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการ (OS: Operating System) คือ กลุมโปรแกรมที่เปนสวนเชื่อมโยงระหวางเครื่องและ ผูใชเครื่อง โดยมีหนาที่สําคัญดังนี้ - ควบคุมการทํางานของโปรแกรมและอุปกรณตางๆโดยเฉพาะอุปกรณรับและสงขอมูล (Input / Output Device) - จัดสรรทรัพยากรซึ่งใชรวมกัน (Shared Resource) - ติดตามการทํางานของอุปกรณภายในเครื่อง ประเภทของระบบปฏิบัติการ - ดอส (DOS: Disk Operating System) เปนระบบปฏิบัติการที่เมื่อกอนนิยมใชกันมาก การทํางานเปนแบบงานเดี่ยว (Single-tasking) ซึ่งมี 2 แบบ คือ PC-DOS และ MS-DOS - วินโดวส (Windows) ค.ศ 1990 บริษัทไมโครซอฟตไดผลิต Windows 3.0 ใชงานดานกราฟก GUI: Graphic User Interface) สามารถทํางานหลายโปรแกรมพรอมกัน (Multitasking) ค.ศ 1995 ไดผลิต Windows 95 เปนระบบปฏิบัติการ 32 บิท ซึ่งมีความสามารถดานระบบ เครือขาย สง E- mail ได Windows 98 เพิ่มประสิทธิภาพของวินโดวส 95-เปนระบบที่สนับสนุนการทํางานโปรแกรม ตางๆบนวินโดวสใหสามารถเชื่อตอกับระบบอินเทอรเน็ตอยางมีประสิทธิภาพ ปจจุบันไดพัฒนาถึง Windows 2000 Windows NT เปนระบบปฏิบัติการของบริษัทไมโครซอฟตสําหรับเนตเวิรกขนาดเล็ก เหมาะ สําหรับติดตั้งบนเครื่องแมขาย (Server) -

โอเอส/ทู (OS/2: Operating System 2) บริษัท IBM ใหบริษัท ไมโครซอฟตผลิตระบบปฏิบัติการที่ใชกับเครื่อง PS/2 ใหสามารถใช งานแบบกราฟกและสามารถทํางานแบบมัลติทาสกิ้ง คือใชงานหลายๆโปรแกรมไดพรอมกัน แตไมเปน ที่นิยมเพราะตองใชหนวยความจําขนาดใหญ - ยูนิกซ (Unix) เปนระบบปฏิบัติการที่ใหญและซับซอน มีขีดความสามารถสูง ใชงานลักษณะ มัลติทาสกิ้ง(Multitasking) คือสามารถใชงานไดหลายๆโปรแกรมพรอมกัน และเปนแบบมัลติยูสเซอร (Multiuser) คือ มีผูใชหลายๆคนพรอมกัน เหมาะสําหรับระบบเนตเวิรก (Network) ใชไดกับเครื่อง คอมพิวเตอรเมนเฟรม มินิคอมพิวเตอรและเครื่อง

ระบบสารสนเทศ 10

ไมโครคอมพิวเตอร แตตองระดับ 386 Dx ขึ้นไป มีหนวยความจําไมนอยกวา 8 MB มีฮารดดิสกความจุ ไมนอยกวา 100 MB - ซิสเต็ม 8 (System 8) เปนระบบปฏิบัติการของเครื่องแมคอินทอช (Macintosh) สามารถทําเปนระบบมัลติทาสกิ้งได เหมาะกับงานดานเดสทอปพับลิสชิ่ง (Desktop Publishing) คือการออกแบบและพิมพเอกสารโดยใช โปรแกรมคอมพิวเตอรซึ่งเปรียบเสมือนโรงพิมพตั้งโตะ 2.2 ซอฟตแวรประยุกต (Application Software) คือ โปรแกรมที่นักเขียนโปรแกรมเขียนขึ้นดวยภาษาใดภาษาหนึ่ง เพื่อใหสามารถประมวลผลไดตาม ตองการ 2.2.1 โปรแกรมสําเร็จรูป (Package Program) 2.2.2 โปรแกรมที่นักเขียนโปรแกรมเขียนขึ้นเอง ภาษาคอมพิวเตอร (Computer Languages) คือ ภาษาที่ใชในการติดตอกับเครื่องคอมพิวเตอร โดยเขียนเปนชุดคําสั่ง (Program) ภาษาคอมพิวเตอร แบงเปน 2 ระดับ คือ 1. ภาษาระดับต่ํา (Low Level Language) เปนภาษาในยุคแรกๆ แบงเปน 2 ประเภท คือ - ภาษาเครื่อง (Machine Language) เปนชุดคําสั่งที่ใชติดตอกับเครื่องโดยตรง ลักษณะแสดงในรูปเลขฐานสอง ประกอบดวย รหัสบอกประเภทของคําสั่ง (Operation Code หรือ OP-Code) เปนสวนคําสั่งที่บอกใหเครื่องทําการประมวลผล และ รหัสบอกตําแหนงขอมูล (Operand) เปนสวนที่บอกตําแหนงขอมูลในหนวยความจํา - ภาษาแอสแซมบลี (Assembly Language) เปนภาษาสัญลักษณ (Symbolic Language) พัฒนามาจากภาษาเครื่อง ใชสัญลักษณแทนเลข ฐานสอง เชน ADD แทนภาษาเครื่อง 1100 SUB “ 1101

Assembly Language

Assembler

Machine Language

2. ภาษาระดับสูง (High lever Language) การเขียนภาษาไมขึ้นกับฮารดแวรดังนั้นผูใชไมจําเปนตองเขาใจระบบการทํางานของเครื่องก็ ได แตตองเขาใจกฎเกณฑในการเขียนแตละภาษา ลักษณะคลายภาษาอังกฤษ จึงเปนที่นิยม

ระบบสารสนเทศ 11

ภาษาระดับสูง

Compiler หรือ Interpreter

ภาษาเครื่อง

-อินเทอพรีเตอร (Interpreter) เปนโปรแกรมแปลภาษาระดับสูงใหเปนภาษาเครื่อง จะแปลทีละคําสั่ง เชน ภาษา BASIC, dBASE เปนตน -คอมไพเลอร (Compiler) เปนโปรแกรมแปลภาษาระดับสูงเปนภาษาเครื่อง โดยจะแปลทั้งโปรแกรม 3. ภาษาธรรมชาติ (Natural language) เปนภาษาที่อนุญาตใหผูใชสั่งคอมพิวเตอรดวยภาษาพูดซึ่งเปน โครงสรางของภาษาอังกฤษ หมายความวา สั่งดวยประโยคเหมือนกับสั่งมนุษยดวยกัน ในการทําเชนนี้ จะตองทํา ใหคอมพิวเตอรฉลาดพอที่จะเขาใจคําสั่งนั้นๆได สวนมากจะนํามาใชในวงการแพทยและธุรกิจ โครงสรางของภาษาโปรแกรม แบงเปน 5 สวนดังนี้ 1. ประโยคที่ใชระบุตัวแปร 2. ประโยคที่ใชในการอานและแสดงผลลัพธ 3. ประโยคควบคุม วาจะใหทํางานที่สวนใดของคําสั่ง ถาไมมีสวนนี้เครื่องจะทํางานเรียง จากบนลงลาง 4. ประโยคที่ใชในการคํานวณ 5. ประโยคที่ใชบอกจบการทํางาน ตัวอยางของซอฟตแวรประยุกต ไดแก 1. Word Processing เปนโปรแกรมที่นิยมนํามาใชในงานเอกสารตางๆ (document) ทั้งที่มีเนื้อหาเปนอักขระ และรูปภาพ โดยการเก็บขอมูลของงานที่ไดจากโปรแกรมนี้ จะอยูในรูปของแฟมขอมูลนามสกุล .doc ผูใช สามารถกําหนดรูปแบบหนากระดาษ ตัวอักขระ และสีได เชน Microsoft Word เปนตน 2. Spreadsheet เปนโปรแกรมที่ใชในการสรางตารางและงานแผนภูมิตางๆ รวมทั้งการคํานวณ ผูใชสามารถใส ขอมูลทุกอยางได เชนเดียวกับ word processing การนําโปรแกรมนี้ไปใชงาน เชน การทําบัญชี ตารางสถิติ และ การบันทึกคะแนน โปรแกรมประเภทนี้ เชน Microsoft Excel เปนตน 3. Presentation เปนโปรแกรมที่ใชในการนําเสนอขอมูล ในรูปแบบที่นาสนใจ เนื่องจากสามารถใสเทคนิค ตางๆ ทั้งลักษณะการปรากฏของตัวอักขระ รูปภาพ และเสียงดวย เปนโปรแกรมประเภท multimedia ใช ประกอบกับเครื่องฉาย (LCD projector) เชน Microsoft PowerPoint เปนตน 4. Database โปรแกรมประเภทจัดการฐานขอมูล ใชสรางฐานขอมูลเพื่อจัดเก็บและจัดการขอมูลไดอยางรวด เร็วและมีประสิทธิภาพ เราสามารถนําโปรแกรมนี้ไปใชในงานตางๆ เชน การเก็บขอมูลนักศึกษา รายการสิน คาในโกดัง ขอมูลพนักงาน เปนตน โปรแกรมประเภทนี้ เชน Microsoft Access 5. Desktop Publishing และ Graphics ใชสําหรับจัดหนาหนังสือ สิ่งตีพิมพตางๆ เชน แผนพับ นามบัตร และ ใบประกาศ สามารถกําหนดรูปแบบไดตามตองการหรือตามที่มีแบบมาใหอยูแลว(Template)รวมทั้งใน

ระบบสารสนเทศ 12

การออกแบบงานดานศิลปะ ตัดตอ ตกแตงรูปภาพตางๆ โปรแกรมประเภทนี้ เชน Adobe PageMaker, Adobe PhotoShop เปนตน ซอฟตแวรเพื่อการใชงานกับระบบไมโครคอมพิวเตอร ซอฟตแวรกลุมนี่เรียกวา productivity software แบงออกตามการทํางานดังนี้ 1. ดานการพิมพหรือประมวลผลคํา (word processing software) 2. ดานการตีพิมพและผลิตเอกสาร (desktop publishing software) 3. ดานเอกสารอิเล็กทรอนิกส (electronic publishing software) 4. ดานการนําเสนองานดวยกราฟฟก (graphics presentation) 1.1 ซอฟตแวรเพื่อการประมวลผลคํา ซอฟตแวรเพื่อประมวลผลคํา หรือเรียกวา word สรุป การใชงานของซอฟตแวรประมวลผลคํา ไดดังนี้ 1. สรางเอกสาร 2. จัดรูปแบบของเอกสาร 3. บันทึกตัวอักขระเขาสูระบบคอมพิวเตอรและแกไขปรับปรุงการพิมพ 4. พิมพเอกสารที่ประมวลผลแลวหรือสงเอกสารที่ประมวลผลแลวบนระบบแฟกซ 1.2 ซอฟตแวรเพื่อการผลิตเอกสารในลักษณะของการตีพิมพเผยแพร โปรแกรม desktop publishing หรือ DTP เปนโปรแกรมที่ทํางานตีพิมพเอกสารมีความคลองตัว ตัวอยาง เชน เมนูอาหาร บัตรอวยพร แผนพับ จุลสาร เปนตน ทั้งนี้ก็จะทํางานควบคูไปกับ word processing คือ word ใชในการจัดรูปแบบเอกสาร สวน DTP จัดรูปแบบ กราฟฟก เลยเอาต อารตเวิรก ฯลฯ 1.3 เอกสารอิเล็กทรอนิกส เอกสารอิเล็กทรอนิกส (electronic documents) จะถูกสรางดวยโปรแกรม electronic publishing และเก็บ ไวบน diskette, HD, CD-ROM,DVD และเผยแพร รวมทั้งตัวหนังสือ ภาพ และเสียง หรือไมวาจะเผยแพรบน เครือขาย internet การสราง electronic documents ประกอบดวย 1. โปรแกรม word processing สําหรับสราง text file 2. HTML (HyperText Markup Langusge) สําหรับสราง HTML documents 3. Portable document เปนเอกสารอิเล็กทรอนิกสที่สามารถเคลื่อนยายไปยังผูรับในสถานที่ตาง ๆ หรืออาจรวมอยูใน HTML-based ในการสราง WWW page ทําใหสามารถเผยแพรเอกสาร อิเล็กทรอนิกสไปไดทั่วโลก 1.4 ชุดโปรแกรมการนําเสนอรายงาน การนําเสนอรายงานของภาคธุรกิจเปนสิ่งสําคัญมากสําหรับผูบริหาร ดังนั้นการนําเสนองานดวย presentation graphics software

ระบบสารสนเทศ 13

สรุป 1. 2. 3. 4. 5. 6.

สามารถเตรียมการในการนําเสนอไดสะดวก สามารถนําเสนอหรือชี้แจงภาพรวมไดชัดเจน สามารถขยายความเฉพาะสวนที่ตองการใหละเอียดลงไปไดอยางมองเห็นความตอเนื่อง ดึงดูดความสนใจของผูฟงไดดี ยนระยะเวลาในการนําเสนอ การประชุม สามารถเรียกรูปแบบการนําเสนอไดหลายรูปแบบโปรแกรมการนําเสนอดวยกราฟฟกที่นิยมมากที่ สุดในปจจุบัน คือ Microsoft Power Point 3. พีเพิลแวร (Peopleware) หมายถึง บุคคลที่เกี่ยวของกับการใชคอมพิวเตอรทั้งทางตรงและทางออม บุคลากรคอมพิวเตอร 3.1 หัวหนาหนวยงานคอมพิวเตอร 3.2 ฝายวิเคราะหและออกแบบระบบ (System Analysis Design) - นักวิเคราะหระบบ (SA: System Analyst) - นักออกแบบระบบ (SD: System Designer) 3.3 โปรแกรมเมอร (Programmer) 3.4 ฝายปฏิบัติการ (Operation and Services) - ผูควบคุมเครื่อง (Operator) - ผูจัดตารางเวลา (Scheduler) - พนักงานจัดเก็บและรักษา (Librarian) - พนักงานเตรียมขอมูล (Data Entry) ประเภทของคอมพิวเตอร เราสามารถแบงประเภทของคอมพิวเตอรไดตามขนาดและความเร็วในการประมวลผลดังนี้ 1. Supercomputers ซูเปอรคอมพิวเตอร เปนคอมพิวเตอรที่มีประสิทธิภาพในการทํางานสูงที่สุด มีความ สามารถในการประมวลผลเร็วสูง มีการทํางานที่ซับซอน โดยเฉพาะอยางยิ่งในดานการคํานวณ จึงเหมาะที่จะนํา ไปใชงานที่ตองการความละเอียดในการประมวลผล เชน การพยากรณอากาศ การปฏิบัติการทางทหารดานอาวุธ ตางๆ การตรวจสอบการแพรกระจายของสารกัมมันตภาพรังสี เปนตน (หมายเหตุ : ราคาตรวจสอบ พ.ศ. 2544 ประมาณ 80 ลานบาทขึ้นไป) 2. Mainframes คอมพิวเตอรเมนเฟรมหรือคอมพิวเตอรขนาดใหญ มีความสามารถในการประมวลผลดวย ความเร็วสูง มีหนวยความจําหลักขนาดใหญ ทําใหสามารถเก็บ ขอ มูลไดในปริมาณมาก เหมาะสําหรับองคกร หรือ ธุรกิจขนาด ใหญที่ตองรองรับผูใชบริการมากๆในเวลา เดียวกัน เชน

ระบบสารสนเทศ 14

ธนาคาร การจองตั๋วเครื่องบิน การจองหองพักโรงแรม การลง ทะเบียนนักศึกษา เปนตน 3. Minicomputer มินิคอมพิวเตอรหรือ คอมพิวเตอรขนาดกลาง มีความสามารถรองลงมาจาก mainframes แตสูงกวา Workstations คือสามารถรองรับการทํางานจากผูใชหลายคน เพื่อการ ทํางานเฉพาะดานตางกันไป ธุรกิจที่นิยมนํามินิคอมพิวเตอรมาใช เชน อุตสาหกรรมขนาดกลางตางๆ การคํานวณทางดานวิศวกรรม การทํางานดานบัญชี หรือ การจองตั๋วและที่พักในธุรกิจขนาดกลาง เปนตน 4. Workstations เวิรคสเตชั่น มีลักษณะเหมือนคอมพิวเตอรขนาดตั้งโตะ (desktop computer) ตางกันตรงที่ Workstations มีความสามารถทางดานกราฟฟค และการประมวลผลดานการ คํานวณที่สูงกวา และยังสามารถทํางานหลายงานไดในเวลาเดียวกัน ทําใหถูกใชเปนคอมพิวเตอรแมขายไดดวย Workstations จะใชในทางวิทยาศาสตร วิศวกรรม และ งานที่ตองอาศัยความรูเฉพาะทางดานตางๆ โดยเฉพาะ อยางยิ่งทางดานงานออกแบบกราฟฟค แบบจําลอง(modeling) และ การหมุนรอบทิศทางของภาพ 3 มิติ (Threedimensional objects rotation) อยางไรก็ตาม เทคโนโลยีที่สูงขึ้นทําใหความแตกตางของ Workstations และ PCs นั้น ลดนอยลงไปทุก ที เนื่องจาก PCs ที่มีประสิทธิภาพสูง สามารถปฏิบัติงานดานกราฟฟคไดเทียบเทากับ Workstations ที่มีประสิทธิ ภาพต่ํา และ Workstations ที่มีประสิทธิภาพสูงก็สามารถปฏิบัติงานของ mainframes และ supercomputers ในยุค แรกๆไดเชนกัน (Thomborson, 1993) 5. Microcomputers ไมโครคอมพิวเตอร เปนคอมพิวเตอรที่มีผูใชมากที่สุด เนื่องจากมีขนาดกะทัดรัด สามารถ ปฏิบัติงานทางธุรกิจขนาดยอมและใชในงานสวนตัวไดเปนอยางดี เราจึงนิยมเรียกคอมพิวเตอรประเภทนี้วา PC : Personal Computer PCs นั้นมีหลายรูปแบบตางกันตามลักษณะ ดังนี้ 5.1 Desktop Computers เปนคอมพิวเตอรขนาดตั้งโตะ เหมาะสําหรับการใชในสํานักงาน ที่บานหรือ สถานศึกษาทั่วไป แยกยอยออกเปน 2 ประเภท คือ Desktop PC และ Tower PC มีคุณสมบัติเชน เดียวกันทุกประการ ตางกันตรงที่ แผงวงจรตางๆของ Tower PC จะถูกเก็บไวที่ Tower case หรือ กลองทรงสูงสี่เหลี่ยม

รูปที่ 2.2 Desktop PC รูปที่ 2.3 Tower PC 5.2 Notebook Computers เปนคอมพิวเตอรขนาดพกพา หนักประมาณ 2-4 กิโลกรัม มีอุปกรณ คอมพิวเตอรมาตรฐานทั่วไป เชน คีบอรด disk drive และ CD-ROM drive 5.3 Labtop Computers มีลักษณะเชนเดียวกับ notebook computers ตางกันตรงขนาดของหนาจอที่ใหญ กวาและน้ําหนักที่มากกวา

ระบบสารสนเทศ 15

5.4 Hand-held Computers เหมาะกับงานที่ตองมีการออกนอกสถานที่ เชน การตรวจเช็คสินคาใน โกดัง หรือการเก็บขอมูลตามสถานที่ตางๆ 5.5 Palmtop Computers เปนคอมพิวเตอรพกพาขนาดประมาณฝามือ เหมาะสําหรับการใชงานสวน บุคคลเพื่อบันทึกขอมูลตางๆ เชน เบอรโทรศัพทที่อยู นัดหมายการประชุม ปฏิทิน เปนตน 5.6 Personal Digital Assistant (PDA) เปนคอมพิวเตอรพกพาประเภท pen-based computers เนื่องจาก มีการนําเขาขอมูลโดยใชปากกา PDA นี้กําลังเปนที่นิยมมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะคุณสมบัติที่ทํางานได เหมือน PC และยังเปนอุปกรณสื่อสารในตัว คือ สามารถ สงแฟกซ ขอความ และใชเปนโทรศัพท ไดดวย

รูปที่ 2.4 Notebook Computer

รูปที่ 2.5 Subnotebook Computer

รูปที่ 2.6 Laptop computer

หนวยความจําสํารอง (secondary storage) หมายถึง หนวยจัดเก็บขอมูลในระยะยาวภายนอก CPU และ หนวย ความจําหลัก ในการจัดการกับขอมูลนั้น เราจําเปนตองจัดเก็บขอมูลใหอยูในรูปของแฟมขอมูล(file) โดยเราสามารถ แบงประเภทของแฟมขอมูลไดตามลักษณะขอมูล ดังนี้ 1. ASCII file : เก็บขอมูลในรูปของ text เทานั้น (text-only file) 2. Data file : เก็บขอมูลที่จัดไวในรูปของระเบียน (record) แลว 3. Document file: เก็บขอมูลที่ไดจากการประมวลผลของ โปรแกรมประเภท word processing 4. Spreadsheet file : เก็บขอมูลที่เปนลักษณะตาราง แผนภูมิ ตางๆ เชน ขอมูลที่ไดจาก โปรแกรม Excel 5. Source program file : เก็บชุดคําสั่ง หรือโปรแกรมที่เขียนหรือพัฒนาขึ้นมาดวยภาษาโปรแกรม ประเภทตางๆ และตองไดรับการแปลเปนภาษาเครื่องเสียกอน คอมพิวเตอรจึงจะนําไปปฏิบัติได 6. Executable program file : เก็บชุดคําสั่งที่ไดรับการแปลใหอยูในรูปของภาษาเครื่องแลว 7. Graphics file : เก็บขอมูลที่เปนรูปภาพในรูปของดิจิตอล 8. Audio file : เก็บขอมูลที่เปนเสียงในรูปของดิจิตอล 9. Video file : เก็บขอมูลที่เปนภาพเคลื่อนไหวในรูปของดิจิตอล การจัดการกับแฟมขอมูล 1. ผูใชสามารถ สราง ตั้งชื่อ และเก็บแฟมขอมูล 2. ผูใชสามารถก็อปป ยาย และลบแฟมขอมูล 3. ผูใชสามารถเรียกดูและปรับเปลี่ยนแกไขแฟมขอมูล

ระบบสารสนเทศ 16

4. ผูใชสามารถทําการ upload (โอนแฟมขอมูลจากเครื่องลูกขายไปยังเครื่องแมขาย) และ download (โอนแฟมขอมูลจากเครื่องแมขายมายังลูกขาย) 5. ผูใชสามารถรับแฟมขอมูล(import file)จากโปรแกรมอื่นเพื่อมาทํางานรวมกับแฟมขอมูลของตนได 6. ผูใชสามารถบีบอัดแฟมขอมูล (compress file)ใหมีขนาดเล็กลงไดเพื่อประหยัดเนื้อที่บนหนวย ความจําสํารอง 7. ผูใชสามารถสรางระบบความปลอดภัยในการเขาถึงแฟมขอมูลได (password or security) การเขาถึงสารสนเทศบนหนวยความจําสํารอง แบงออกไดเปน 2 ประเภท ดังนี้ 1. การเขาถึงแบบเรียงลําดับ (sequential access) กลาวคือ หากตองการเขาถึงขอมูลที่บันทึกไวในสุด ผูใชก็ตองไลตามลําดับขอมูลไปจนกวาจะเจอ ซึ่งเปรียบไดกับการกรอเทปคาสเซ็ท เพื่อฟงเพลงที่ ตองการ 2. การเขาถึงแบบสุม หรือแบบโดยตรง (random access or direct access) เมื่อผูใชตองการเขาถึงขอ มูลใด ก็สามารถเลือกไปที่ขอมูลนั้นๆไดทันที เปรียบไดกับการเลือกฟงเพลงจากแผน CD ซึ่ง สามารถกําหนดเพลงที่ตองการฟงไดทันที ประเภทของหนวยความจําสํารอง แบงออกไดเปน 3 ประเภท ดังนี้ 1. จานแมเหล็ก (Magnetic Disks) เปนวัสดุที่ไดรับความนิยมแพรหลาย เนื่องจากมีความจุสูง มีความ เชื่อถือได และสามารถเขาถึงไดแบบโดยตรง(direct access) จานแมเหล็กแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก 1.1 จานแมเหล็กแบบออน (floppy disks) นิยมเรียกวา diskettes หรือ แผนดิสก (disks) ที่ใช อยูในปจจุบันมีขนาด 3.5 นิ้ว (จานออนประเภท 5.25 นิ้วไดถูกเลิกใชไปแลว) เปนจานออนเคลือบสารแมเหล็ก หุมดวยพลาสติกแข็ง มีความจุสูงไดถึง 2.5 MB แตปกติที่ใชอยู คือ 1.44 MB และที่ floppy disks จะมีแถบปอง กันการเขียนขอมูล เรียกวา write -protect tab ไวสําหรับกันการเผลอเขียนทับขอมูลที่เราไมตองการเปลี่ยนแปลง การบันทึกขอมูลบนแผนดิสก เปนแบบ sector โดยการแบงเนื้อที่บนแผนดิสกเปนแทรค (track) แตละ track จะแบงออกเปนสวนๆ เรียกวา sector และ sector แตละ sector รวมกัน เรียกวา cluster ซึ่งทําใหการหาหรือ บันทึกขอมูลเปนไปโดยงาย เนื่องจากแตละขอมูลจะมีที่อยูเปนของตน Floppy disks ที่สามารถเก็บขอมูลไดมากๆ เรียกวา floppy-disk cartridges ที่รูจักกันดีมีอยู 3 ประเภท คือ • Zip disks มีความจุ 100 MB และ 250 MB นิยมใชกับขอมูลที่เปน multimedia ตองใช zip disk drive ในการทํางาน เชื่อกันวา จะเปนดิสกที่นิยมใชอยางกวางขวางแทนที่ floppy disk ในอนาคต • Superdisks มีความจุสูงกวา 120 MB ดีกวา zip disk ตรงที่มีความจุสูงกวา และสามารถ ทํางานดวย floppy disk drive ธรรมดาได • HiFD disk มีความจุสูงถึง 200 MB ใชกับ floppy disk drive ไดเชนเดียวกัน 1.2 จานแมเหล็กแบบแข็ง (hard disks) เปนแผนเหล็กบางๆ เคลือบดวยสาร iron oxide ใชสําหรับเก็บขอมูล เรียกวา platter ซึ่งมีการเขาถึงขอมูลที่เร็วกวา floppy disk และมีความสามารถในการ เก็บขอมูลไดในปริมาณมากๆ ปจจุบันมีหนวยความจุ เปน GB (gigabyte) ระบบสารสนเทศ 17

ขอมูลจะถูกบันทึกหรืออานจากฮารดดิสกดวย read/ write heads โดยที่หัวเข็มนั้นไมไดสัมผัสผิวหนา ของ platter เหมือนกับการเลนแผนเสียง เพราะเพียงแคฝุนละออง หรือควันบุหรี่ ก็สามารถทําลายจานแมเหล็ก ชนิดนี้ได หัวเข็มขนาดเล็กและบางนี้ จึงเหมือนกับรอนจากซายไปขวาผานผิวหนา platter ไปมาในระยะที่ใกล มากๆ เทานั้นเอง การบันทึกขอมูลบน hard disk จะเปนลักษณะที่เรียกวา แบบ cylinder เนื่องจากในระบบ คอมพิวเตอรที่มีขนาดใหญนั้น ฮารดดิสก เปนการนํา platters หลายๆแผน มาวางซอนกันจึงเกิดเปนรูปทรง กระบอก (cylinder)ขึ้นมา เชน ถานํามาวางซอนกัน 11 แผน เราก็จะไดดานที่สามารถบันทึกขอมูลได 20 หนา ไม รวมดานที่อยูบนสุด และลางสุด เปนตน ลักษณะของฮารดดิสกที่วางซอนกัน หรือที่เรียกวา hard disk packs นั้น สามารถเคลื่อนยายได และมี ความสามารถในการเก็บขอมูลไดมากกวาฮารดดิสกชนิดอื่น อีก 2 ประเภทของฮารดดิสก คือ internal hard disk หรือ fixed disk จะอยูภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร มักใชกับประเภท ไมโครคอมพิวเตอร สามารถเก็บขอมูลได ในปริมาณมาก และ hard-disk cartridge สามารถเคลื่อนยายไปมาไดสะดวกเหมือนตลับเทปทั่วไป นิยมใชเก็บ ขอมูลที่เปนความลับ โดยทั่วไปมีความจุอยูที่ 2 GB 2. จานแสง (Optical Disks) ซึ่งบางครั้งเรียก compact disk (CD) หรือ optical laser disk (เลเซอรดิสก) เปนหนวยความจําสํารองที่มีความจุสูงที่สุด อานและบันทึกขอมูลดวยแสงเลเซอรจาก optical head ที่รูจักกันดีมี อยู 3 ประเภท คือ 2.1 Compact disk (CD) เปนวัสดุที่ไดรับความนิยมอยางแพรหลายในปจจุบัน ทํางานดวย CD drive ซึ่งมีความเร็วในการอานตางกันไป โดยคาความเร็วจะอยูในรูปตัว X เชน 24x (สามารถถายโอนขอมูล ประมาณ 3.6 MB ตอวินาที เปนตน ) 32x และ 50x เปนตน โดยทั่วไปจะมีความจุอยูที่ 650 MB ขึ้นไป เรา สามารถแบง CD ออกเปน 3 ประเภทได ดังนี้ • Compact disk read-only memory (CD-ROM) สามารถบันทึกขอมูลในรูปของ multimedia ได มีขอ จํากัด คือ สามารถบันทึกไดเพียงครั้งเดียวโดยผูผลิต และผูใชสามารถอานไดเพียงอยางเดียวเทานั้น ไมสามารถแกไขหรือทําการเปลี่ยนแปลงใดๆกับขอมูลได นิยมนํามาใชในการบันทึกผลิตภัณฑ เพื่อจําหนาย เชน โปรแกรมตางๆ • Compact disk recordable (CD-R) เปนแผนซีดีเปลาที่สามารถนํามาบันทึกขอมูลไดครั้งเดียว และ นําไปอานไดหลายครั้ง เชนเดียวกับ CD-ROM แต CD-R อนุญาตใหผูซื้อเปนผูบันทึกขอมูลที่ตน ตองการ • Compact disk rewritable (CD-RW) ผูใชสามารถบันทึก เปลี่ยนแปลง และอานขอมูลไดหลายครั้ง นิยมใชกับงานออกแบบและงานที่นําเสนอในรูปของ multimedia ตางๆ ตองใชงานกับ CD-RW drive โดยที่มีขอดีตรงที่สามารถใชอาน CD-ROM ไดดวย ในขณะที่ CD-ROM drive ไมสามารถ ทํางานกับ CD-RW ได 2.2 Digital video disk (DVD) หรือ digital versatile disk มีขนาดเทากับ CD-ROM แตมี ความจุสูงกวามาก เพราะสามารถบันทึกไดทั้ง 2 ดาน โดยที่แตละดานมีความจุสูงถึง 4.7 GB ดังนั้น DVD 1 แผน จะสามารถจุไดประมาณ 10 GB และมีแนวโนมที่จะเพิ่มถึง 17 GB และสูงขึ้นไปอีกเรื่อยๆ ปจจุบันนิยมนํามาใช ในการบันทึกภาพยนตร แบงออกเปน 3 ประเภท เชนเดียวกับ CD คือ DVD-ROM, DVD-R, และ DVD-RW ซึ่ง แตละประเภทก็มีคุณสมบัติเชนเดียวกันกับ CD

ระบบสารสนเทศ 18

2.3 Write once/ read many (WORM disk) เปนจานแสงที่มีขอจํากัดเหมือนกับ CD-ROM คือสามารถบันทึกไดครั้งเดียวแตอานไดหลายครั้ง ตางกันตรงที่มีความจุสูงกวามาก นิยมใชในองคกรที่ตองการ บันทึกที่มีการเปลี่ยนแปลงนอยในปริมาณมาก เชน หองสมุดขนาดใหญ และเปนอีกทางเลือกหนึ่งแทนการใช microfilm ในการบันทึกภาพดิจิตอลปริมาณมาก 3. เทปแมเหล็ก (Magnetic Tape) เปนเทคโนโลยีหนวยความจําสํารองในรุนแรกๆ มีการเขาถึงแบบ เรียงลําดับ(sequential access) ทําใหไมเปนที่นิยมในการบันทึกขอมูลที่ตองการนําไปใชบอยๆแบบทันเวลา เราจึง นิยมนําเทปแมเหล็กเปนวัสดุในระบบคอมพิวเตอรที่ไมตองการเขาถึงแบบทันที ซึ่งเรียกวา batch processing (การรวบรวมขอมูลปริมาณหนึ่งกอนที่จะปอนเขาสูระบบคอมพิวเตอรเพื่อการประมวลผล)และ ในระบบสํารอง ขอมูล (backup system) เพราะมีราคาถูก มีความแมนยํา และสามารถเก็บขอมูลไดในปริมาณมาก ทํางานโดยใช tape drive หรือเครื่องอานเทปแมเหล็ก เทปแมเหล็กแบงออกเปน 2 ประเภท คือ 3.1 คารทริดจเทป (cartridge tape) มีลักษณะเปนกลอง หรือตลับ มีความจุประมาณ 120 MB ถึง 5 GB มีขอดี คือ สามารถนําขอมูลที่สํารองไวในเทปมาติดตั้งแทนฮารดดิสกที่เสียหายไดภายในเวลาอันรวด เร็ว 3.2 มวนเทปแมเหล็ก (magnetic tape reel) เปนรูปแบบดั้งเดิมซึ่งไดรับความนิยมนอยลง บันทึกขอมูลได 1,600- 6,400 ไบทตอนิ้ว นิยมใชกับคอมพิวเตอรขนาดกลางขึ้นไป ในระบบการสํารองสารสนเทศ (backup system) นั้นสามารถกระทําไดดังนี้ Full backup คือ การสํารองสารสนเทศทั้งหมดภายในระบบ Selective backup คือ การสํารองเฉพาะสารสนเทศที่มีความสําคัญตามความตองการของผูใช Modified files only backup คือ การสํารองเฉพาะสารสนเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นลาสุด หนวยเก็บความจําสํารองประเภทอื่นๆ เชน smart card คือ การดที่มีลักษณะคลายบัตรเครดิต แตหนา กวา เนื่องจากมี ไมโครโปรเซสเซอร (microprocessor) หรือ หนวยประมวลผลยอย และสามารถบันทึกและ เปลี่ยนแปลงขอมูลทุกอยางของผูถือบัตรไวได เก็บขอมูลโดยบันทึกไวที่แถบแมเหล็ก (magnetic stripe) ซึ่ง เหมาะสําหรับการเก็บขอมูลที่มีปริมาณมากและตองการเก็บเปนความลับ เชนเดียวกับที่ใชในบัตร ATM เนื่อง จากไมสามารถอานไดดวยตาเปลา อุปกรณนําเขาขอมูล (Input devices) แบงออกเปนประเภทตางๆไดดังนี้ 1. อุปกรณประเภทคียหรือกด (keyed device) เปนอุปกรณประเภทที่มีการใชงานมากที่สุดตั้งแตอดีตมา จนถึงปจจุบัน ซึ่ง ไดแก คีบอรด(keyboards) โดยสามารถแบงออกเปน 2 ประเภทตามการใชงาน ดังนี้ 1.1 Alphanumeric Keyboard นิยมใชกับเครื่อง PCs ทั่วไป มีแปนพิมพเปนตัวเลข ตัวอักษร และ ปุมที่เปนฟงกชั่นการทํางาน (function keys) Esc

ปุมตัวอักษร

~ `

! 1

Tab Caps Lock Shift

Ctrl

F1

F2

F3

@ 2

# 3

$ 4

Q

W A

E

S Z Alt

F4

R D

X

F5

% 5

^ 6

T F

C

Y G

V

F6

U H

B

F7

* 8

& 7

I J

N

F8

( 9

O K

M

F9

F10

) 0

: ;

L < ,

{

P

> .

[

] " '

? /

F12

Print Screen

Scroll Lock

Backspace

Insert

Home

Page Up

Delete

End

Page Down

F11

+ =

}

| \

Pause

Enter

Shift

Alt

Num Lock

Scroll Lock

/

*

7

8

9

4

5

6

1

2

3

Home

End

Ctrl

Caps Lock

Num Lock

0

Ins

PgUp

PgDn

.

+

ปุมฟงกชั่น ปุมตัวเลข

Enter

Del

รูปที่ 2.7 Keyboard

ระบบสารสนเทศ 19

1.2 Special- Function Keyboard เปนคีบอรดที่ออกแบบมาเพื่อใชงานเฉพาะดาน ประเภท เครื่องที่ใชตามรานอาหาร fast-food ตางๆ เชน KFC McDonald’s เปนตน 2. อุปกรณประเภทชี้และวาดรูป (pointing and drawing devices) 2.1 Mouse เมาส เปนอุปกรณที่ตอเชื่อมกับคอมพิวเตอรดวยสายเคเบิ้ล ใชชี้ตําแหนงและคลิก เพื่อสงขอมูลเขาสูระบบ โดยผูใชสามารถเลื่อนตําแหนงของ cursor (เคอรเซอร) ไปตามจุดตางๆบนหนาจอ ทั้งนี้ ยังสามารถใชวาดรูปไดดวย ดังรูปที่ 2.8 2.2 Joystick มักนิยมใชในการเลนเกมคอมพิวเตอรหรือการเคลื่อนที่ของหุนยนต ดังรูปที่ 2.9 2.3 Trackball เปนลูกกลมๆโดยผูใชจะหมุนลูกบอลไปตามทิศทางที่ตองการ มีขนาดใหญกวา ลูกบอลที่อยูขางใตเมาส มักใชกับคอมพิวเตอรแบบพกพา ดังรูปที่ 2.10 2.4 Trackpoint ปุมควบคุม เปนปุมยางเล็กๆติดอยูกับแปนพิมพของคอมพิวเตอรแบบพกพา ดังรูปที่ 2.11 2.5 Touchpad แผนสัมผัส เปนแผนสี่เหลี่ยมอยูกับคอมพิวเตอรแบบพกพา โดยใชนิ้วสัมผัส เพื่อเลื่อนตําแหนงและเคาะเบาๆเพื่อกําหนดตําแหนงที่ตองการ ดังรูปที่ 2.12 2.6 Digitizer tablet and pen เปนอุปกรณที่เหมาะสําหรับการทํางานดานกราฟฟค โดยใชปาก กา เรียกวา stylus เปนตัวตกแตงขอมูลวาดไปบน digitizer ได ดังรูปที่ 2.13 2.7 Touch Screens เปนการนําเขาขอมูลโดยใชนิ้วสัมผัสบนหนาจอคอมพิวเตอร มีขอบเขต จํากัดในการนําเขาขอมูล กลาวคือ ผูใชตองเลือกขอมูลที่กําหนดไวใหเทานั้น ดังรูปที่ 2.14

รูปที่ 2.8 Mouse

รูปที่ 2.11 Trackpoint

รูปที่ 2.9 Joystick

รูปที่ 2.12 Touchpad

รูปที่ 2.10 Trackball

รูปที่ 2.13 digitizing tablet

รูปที่ 2.14 Touch Screens

ระบบสารสนเทศ 20

3. อุปกรณนําเขาขอมูลอัตโนมัติ (Source Data Automation) เปนการนําขอมูลเขาสูระบบทันทีที่เกิด ขอมูลขึ้น เชน POS (Point-of-sale)Systems, optical bar-code scanners, หรือ อุปกรณ optical character recognition (OCR) อื่นๆ โดยมีขอดี คือ สามารถลดความผิดพลาดของขอมูลที่อาจเกิดขึ้นจากการ คีย ชี้ หรือวาด รูปขอมูลเขาสูระบบ

เทคโนโลยีหลักในการนําเขาขอมูลอัตโนมัติ มีดังนี้ Scanners สแกนเนอร เปนการเปลี่ยนรูปภาพ(images)หรือเอกสารตางๆใหอยูในลักษณะของขอมูลที่เปน digital ซึ่งสามารถนําไปประมวลผลและจัดเก็บดวยคอมพิวเตอรตอไปได สแกนเนอรมีอยูหลายแบบ เชน แบบที่อยูกับ แปนพิมพ แบบตั้งโตะและแบบมือถือ

รูปที่ 2.15 สแกนเนอรแบบตั้งโตะ รูปที่ 2.16 สแกนเนอรแบบตั้งโตะ รูปที่2.17 สแกนเนอรขนาดมือถือ 3.2 Optical Character Recognition(OCR)และ Bar code Reader เครื่องอานอักขระและรหัส โดยเฉพาะบารโคด(Bar code: รูปแบบที่ใชกับเทคโนโลยีOCR เพื่อแยกประเภทและราคาของสินคา) นิยมใชตาม รานคาและงานบริการ เพื่อความสะดวกในการคิดราคาหรือแยกประเภทของตางๆ เชน ซุปเปอรมารเก็ต หอง สมุด โรงพยาบาล การปฏิบัติงานทางทหาร หรือการขนสงสินคา เปนตน นอกจากนี้ ยังนําไปใชในการอาน เอกสารที่เปนลายมือหรือที่พิมพดวยคอมพิวเตอรก็ได โดยเครื่องจะแปลงอักขระนั้นๆใหเปนรหัสคอมพิวเตอร 3.3 Optical Mark Recognition (OMR) เครื่องอานเครื่องหมาย นิยมใชในงานตรวจขอสอบ หรือแบบสอบถามประเภทตัวเลือกบนกระดาษคอมพิวเตอร โดยสวนมากจะใชดินสอ 2B ในการกรอกแบบฟอรม เพื่อใหคอมพิวเตอรอานออก 3.4 Magnetic ink character recognition (MICR) นิยมใชในงานธนาคารโดยเฉพาะ เช็ค เนื่องจากสวนลางของเช็คแตละใบจะถูกบันทึกขอมูลดวยหมึกพิเศษ หรือ หมึกแมเหล็กที่ระบุ รหัสธนาคาร หมาย เลขบัญชี และหมายเลขเช็คเอาไว โดยที่เครื่อง MICR นี้จะทําการแปลอักขระบนเช็คเหลานั้นเพื่อนําไปประมวล ผลในรูปของขอมูล digital ตอไป สวนตางๆบนเช็คที่เขียนดวยหมึกธรรมดานั้น ตองอาศัยการคียขอมูลเขาตาม ปกติ 4. อุปกรณนําเขาขอมูลในรูปของเสียง (Voice Input device) เชน ไมโครโฟน เปนตัวบันทึกเสียงเขาสู ระบบคอมพิวเตอร โดยสามารถนํามาแกไขเปลี่ยนแปลงไดดวยโปรแกรมที่เกี่ยวของ นอกจากนี้ คอมพิวเตอรยัง สามารถจดจําเสียงและคําสั่งโดยการใชเสียงได(Speech Recognition) ซึ่งเทคโนโลยีทางดานนี้มีการพัฒนาอยาง รวดเร็ว เนื่องจากการพูดเปนพฤติกรรมตามธรรมชาติของมนุษยอยูแลว ทั้งนี้ตองมีการฝกใหคอมพิวเตอรเขาใจ ในคําพูดหรือจําเสียงพูดของผูใชไดเสียกอน โปรแกรมประเภทนี้ เชน Dragon Dictate เปนโปรแกรมที่สามารถ จําแนกคําไดมากกวา 30,000 คํา หรือโปรแกรมแปลภาษาตางๆ เปนตน

ระบบสารสนเทศ 21

5. Digital camera กลองดิจิตอล มีคุณสมบัติเหมือนกลองถายรูปทั่วไป ตางกันตรงที่กลองดิจิตอลไม ตองใชฟลมถายรูป แตจะจัดเก็บภาพเปนขอมูลดิจิตอลไวในแผนดิสกหรือหนวยความจําของคอมพิวเตอร มีทั้ง ประเภทที่พกพาไดสะดวก(field camera) และประเภทที่ติดกับเครื่องคอมพิวเตอร (studio camera) 6. Digital Video camera กลองวีดีโอดิจิตอล ทํางานเหมือนกับกลองดิจิตอล เพียงแตสามารถบันทึก ภาพตอเนื่องหรือภาพเคลื่อนไหวได ปจจุบันนี้ กลองวีดีโอดิจิตอลสามารถบันทึกภาพนิ่งไดเชนเดียวกัน อุปกรณแสดงผลลัพธ (Output Devices) ผลลัพธสามารถแบงออกไดเปน 2 ลักษณะ คือ ผลลัพธแบบชั่วคราว (Soft Copy)จะแสดงผลบนหนาจอ คอมพิวเตอร และผลลัพธแบบถาวร(Hard Copy) จะอยูในลักษณะเอกสารที่พิมพออกมา อุปกรณแสดงผล สามารถจําแนกได ดังนี้ 1. Monitors จอภาพคอมพิวเตอร เปน cathode ray tube terminals (CRT) หรือบางครั้ง เรียกวา video display terminals (VDTs) ใชผลิตผลลัพธที่เรียกวา soft copy โดยจอภาพจะประกอบดวยคุณสมบัติ ดังนี้ - ขนาด (size) มีตั้งแต 14, 15, 17 นิ้ว หรือใหญกวา โดยวัดตามเสนทแยงมุมของจอภาพ - สี (color) แบงออกเปน จอภาพสีเดียว (monochrome monitor) แสดงผลลัพธเพียง สีเดียวบนพื้นดํา และจอภาพสี (color monitor) ซึ่งเปนที่นิยมใชกันอยูในปจจุบัน สามารถแสดงผลลัพธที่เปนขอความและกราฟฟคได - ความละเอียด (resolution) คือจํานวนของจุดที่แสดงความคมชัดหรือความละเอียดของภาพ 2. Flat Panel displays จอภาพชนิดแบน นิยมใชกับเครื่องคอมพิวเตอรแบบพกพา แตปจจุบันมีการนํา มาใชในลักษณะเหมือนจอภาพตั้งโตะทั่วไป มีลักษณะแบนเรียบและบางโดยใชเทคโนโลยีที่เรียกวา Liquid Crystal display monitors (LCD) ทําใหไมเกิดแสงรบกวนตอสายตา มักมีราคาแพงกวา 3. Printers เครื่องพิมพ เปนตัวผลิตผลลัพธที่เรียกวา hard copy แบงออกไดเปน 3 ประเภทยอย คือ 3.1 Dot-matrix printers เครื่องพิมพแบบจุด ทํางานโดยใชหัวเข็มตอกลงไปบนวัสดุที่ใช พิมพ นิยมใชในงานราชการหรืองานพิมพที่ไมตองการความสวยงาม มักเปนการพิมพบนกระดาษที่มีสําเนาหรือ กระดาษตอเนื่อง เชน ใบเสร็จคาไฟฟา คาโทรศัพท ใบกํากับภาษีตางๆ ใบสั่งของ หรือ ตั๋วเดินทางประเภทตางๆ เปนตน เครื่องพิมพประเภทนี้มีราคาถูก แตมีเสียงคอนขางดัง 3.2 Ink-jet printers เครื่องพิมพแบบพนหมึก เปนที่นิยมใชที่สุดในปจจุบันโดยเฉพาะกับ เครื่อง PCs ที่ใชตามบานหรือสํานักงานทั่วไป เนื่องจากมีราคาไมสูงนัก ไมมีเสียงดังรบกวนเหมือนประเภทแรก และสามารถผลิตไดทั้งงานสีและขาวดําที่มีประสิทธิภาพในระดับหนึ่ง ทํางานโดยใชหัวพนหรือหัวฉีด พนน้ํา หมึกดวยความเร็วสูงลงบนกระดาษ 3.3 Laser printers เครื่องพิมพเลเซอร เปนการใชแสงเลเซอร ซึ่งเปนเทคโนโลยีเดียวกันกับ เครื่องถายเอกสาร ในการผลิต hard copy ผลลัพธที่ไดจึงมีคุณภาพสูงกวาเครื่องพิมพทั้ง 2 แบบที่กลาวมาขางตน รวมทั้งสามารถผลิตงานไดมากในเวลาสั้นๆ เมื่อคุณภาพสูง ราคาก็สูงตามเชนกัน สวนมากที่นิยมใช laser printers จะเปนแบบขาวดําเทานั้น เพราะถาเปนแบบสีดวย ราคาจะอยูที่ประมาณ 100, 000 บาทขึ้นไป

ระบบสารสนเทศ 22

รูปที่ 2.18 Dot-matrix printer

รูปที่ 2.19 Ink-jet printers

รูปที่ 2.20 Laser printers

4. Plotters เครื่องพล็อตเตอร เปนอุปกรณที่เหมาะกับงานดานกราฟฟคตางๆ ที่มีขนาดใหญ ใช multicolored pens ในการสรางผลงาน ทํางานชากวาเครื่องพิมพมาก แตสามารถรองรับงานที่เครื่องพิมพทั่วไปทําไมได เชน แผนที่ ผังอาคาร แผงวงจรไฟฟา แผนภูมิที่มีความละเอียดสูงตางๆ เปนตน รูปที่ 2.21 Plotter 5. Presentation Graphics อุปกรณในการนําเสนอ ใชในการแสดงผลลัพธประกอบการบรรยายในดาน ตางๆ เพื่อใหผูฟงเกิดความเขาใจที่ดีขึ้น ที่นิยมอยูในปจจุบัน แบงออกเปน 2 ชนิด คือ LCD panel ใชตอเขากับ เครื่องฉายขามศีรษะ (overhead projector) หรือเครื่องฉายสไลด และ LCD projector มีเลนสและเครื่องฉายในตัว สามารถฉายภาพบนจอไดทันที เทอรมินอล (Terminals) คือ ฮารดแวรใดๆในระบบคอมพิวเตอรที่เปนสวนหนึ่งของเครือขายใชในการนําเขาขอ มูลและแสดงผลลัพธ แบงออกเปน 3 ประเภทใหญๆไดดังนี้ 1. Dumb terminals เปนเทอรมินอลที่มีความสามารถในการประมวลผลนอยมาก ตอเชื่อมกับ คอมพิวเตอรแมขาย เชน เมนเฟรมคอมพิวเตอร เพื่อแสดงขอมูล/สารสนเทศใหผูใชบริการทราบ เชน เครื่องที่ตั้ง ไวตามโรงพยาบาล หางสรรพสินคา หรือสนามบินเพื่อเปนแหลงขอมูลของสถานที่นั้นๆ 2. Smart X terminals มีประสิทธิภาพในการประมวลผลสูง มีหนวยความจําหลักที่มีความจุสูง สามารถแสดงผลกราฟฟคที่มีคุณภาพ ออกแบบมาเพื่อใหใชงานกับคอมพิวเตอรในเครือขาย เชน workstations สามารถทํางานหลายงานในเวลาเดียวกัน โดยมี input และ output devices ประกอบอยูดวย 3. Telephone terminals เปนการนําเทคโนโลยีโทรศัพทมาใชในการสื่อสารขอมูล/สารสนเทศที่ มีประสิทธิภาพและสะดวก โดยมี PC เปนตัวประมวลผลขอมูลเสียงที่สงมาทางโทรศัพท จึงทําใหโทรศัพทกลาย เปน เทอรมินอลขึ้นมา เชน การสั่งซื้อสินคาทางโทรศัพท การลงทะเบียนเรียน การสอบถามยอดเงินหรือรายงาน ผลตางๆทางโทรศัพท เปนตน นอกจากนี้ยังมีเทอรมินอลที่พัฒนาขึ้นมาเฉพาะดาน ที่รูจักกันแพรหลาย เชน 1. ATM terminal (Automatic Teller Machine) เปนเทอรมินอลเครือขายของเมนเฟรมของธนาคาร เพื่อเพิ่มความสะดวกสบายใหแกลูกคาในการเบิก-ถอนเงิน หรือสอบถามยอดเงิน โดยใชบัตร ATM ที่มีแถบแมเหล็กเปนตัวเก็บขอมูลสวนบุคคลเอาไว 2. POS terminal (Point-of –sale terminals) ใชในรานอาหาร fast-food หรือหางสรรพสินคา เชน Big C, Lotus, etc. หรือรานขายของทั่วไป โดยในระบบนี้จะมีการใช special-function keyboards ในการคิดราคาสินคา ซึ่งผานการประมวลผลโดยคอมพิวเตอร และจากนั้นก็ผลิตผลลัพธเปนใบ เสร็จใหลูกคา เปนตน

ระบบสารสนเทศ 23

Related Documents

Computer System
May 2020 13
Computer System
November 2019 27
Computer System
May 2020 11
Computer System
May 2020 16

More Documents from "Rizma"

Expert Excel Tips
November 2019 36
November 2019 18
Networkinternet_forprint
November 2019 10
Tvss
November 2019 18
Networkinternet
November 2019 14
Computer System
November 2019 27