Expert Excel Tips

  • Uploaded by: PongthaP Reawruad
  • 0
  • 0
  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Expert Excel Tips as PDF for free.

More details

  • Words: 1,461
  • Pages: 12
Expert Excel Tips. เทคนิคการใชงาน Excel อยางมืออาชีพ. [Excel มีสูตรการใชงานมากมายจริงๆ มากจนใชไมหมด แตสูตรทีใ่ ชบอยๆ ก็มีไมเทาไร แลวคุณใชเปนจริงหรือไม? เอกสารนี้มีแคสูตรธรรมดาๆ แตจงนําไปใชใหมีคามากที่สุด.] Mr.Pongthap Reawruad [[email protected]] November 2008

Expert Excel Tips : เทคนิคการใชงาน Excel อยางมืออาชีพ. By Mr. Pongthap Reawruad ([email protected]) Mobile : 081‐636‐7625

5 สูตรพื้นฐานที่ขาดไมได ถาเอยถึง Excel แลวมีนอยคนนักที่จะไมรูจัก ยิ่งถาเปนพนักงานที่ตองทํางานประจําออฟฟศดวย แลว ยิ่งตองคุนเคยและไดสัมผัสกันแทบทุกวันก็วาได และแนนอนวายิ่งใชงานบอยยอมตองเจอ ปญหาบอยตามมาดวยเชนกัน เชน ทําไมคํานวณไมตรง? สูตรผิดตรงไหนหรือเปลานะ? ทําไม ทศนิยมไมตรงกับที่คิดไวเลย? และอีกหลากหลายปญหาที่บางคนก็เจอ บางคนก็ไมเจอ (เพราะใชงาน เปนอยูแคนน ั้ เอง บวก ลบ คูณ หาร) ¾ กอนอื่นมารูจักวิธีคิดคํานวณของ Excel กันกอน สิ่งซึ่งผูใช Excel หลงผิดไปใชกันโดยหารูไมวา สิ่งที่ตนเองทําลงไปนั้นเปนการทํารายตนเองก็คือ การเลือกใช Format เปลี่ยนแปลงรูปแบบการแสดงผล ไมวาจะเปนรูปแบบที่จัดใหคาในเซลลชิดซาย ชิดขวา หรือแสดงตรงกลางเซลล หรือจัดใหตัวเลขแสดงหลักทศนิยมตามที่ตนตองการก็ตาม การใช

คําสั่ง Format ไมไดสงผลใหคาในเซลลเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม มีแตรูปแบบที่แสดงออกมาเทานั้นที่ เปลี่ยนไป

ยกตัวอยางเชน เมื่อนําเซลล 2 เซลลซึ่งมีตัวเลข 0.33 เหมือนกันมาบวกกันใหแสดงผลลัพธใน เซลลอีกเซลลหนึ่งไดผลลัพธเปน 0.66 แลวเราเปลี่ยน Format ใหแสดงทศนิยมเพียงหลักเดียว เลข 0.33 จะแสดงเปน 0.3 เลข 0.66 จะแสดงเปน 0.7 เมื่อเปน 0.7 แลวจะทําใหผูใช Excel สงสัยกันทีเดียววา ไฉน 0.3 บวกกัน 2 ครั้งจึงไดผลลัพธ ออกมาเปน 0.7 ไปได ... นี่แหละตัวอยางงายๆ ซึ่งชวยใหเห็นความนากลัวของการใชคาํ สั่ง Format โดยไมรูตัววา เมือ ่ ใดควรจะใช Format จึงจะทําใหเห็นวา 0.3 บวกกัน 2 ครั้ง ยอมไดผลเปน 0.6 ถูกตองตามที่เห็น ดังนั้น ขอใหใชสูตรปรับคาที่ไดจากการคํานวณกอน เพื่อใหไดคามีผลลัพธเทากับที่ตองการอยางแทจริง จากนั้นจึงคอยใชคําสั่ง Format ตามทีหลัง เพราะ Excel ใชวิธีคํานวณตัวเลข โดยคิดแบบเลขฐาน 2 จากนั้นพอไดผลลัพธแลวจะแปลงกลับมาเปนเลข ฐาน 10 ซึ่งมีความละเอียดของตัวเลขสูงสุด (Excel Precision) 15 หลักเทานั้น เชน เมือ ่ พิมพเลข 12345678901234567890 ลงไปในเซลล จะพบวา Excel ปรับตัวเลขใหมเหลือเพียง 12345678901234500000 เทานั้น.

2

Expert Excel Tips : เทคนิคการใชงาน Excel อยางมืออาชีพ. By Mr. Pongthap Reawruad ([email protected]) Mobile : 081‐636‐7625

¾ Repeating Binary Numbers ตัวเลขซึ่งมักใชเปนตัวอยางใหเห็นปญหาของ Repeating Binary Numbers เชน เลข 0.1 ซึ่งเปน ผลจากการคํานวณจากสูตรใดๆ ก็ได เมื่อสรางสูตร =22.3-22.2 หรือ =2.3-2.2 จะพบวาในเซลลไดผลลัพธเปน 0.1 แตถาปรับ Format ใหแสดงทศนิยมใหเห็นหลายๆตําแหนง จะพบวา 0.1 ที่ไดนั้น ไมใช 0.1 จริงๆ สูตร =22.3-22.2 จะไดผลลัพธ 0.100000000000001 สูตร =2.3-2.2 จะไดผลลัพธ 0.0999999999999996 สาเหตุที่ครั้งแรกตัวเลขในเซลลแสดงผลลัพธ 0.1 เทานั้น เนื่องจาก Excel จะใช Format ตัวเลข ตามแบบตัวเลขที่เราพิมพลงไป ในเมื่อ 22.3 หรือ 22.2 หรือ 2.3 หรือ 2.2 ใชทศนิยมหลักเดียว จึง ทําใหผลลัพธแสดงดวยทศนิยมหนึง่ หลักตาม คา 0.1 ซึ่ง Excel คํานวณไดในเลขฐานสอง จะเปนเลข 000110011001100110011 ซ้ําไมรูจบ แตเมือ ่ แปลงกลับมาเปนเลขฐานสิบ ภายใต Precision ของตัวเลข 15 หลัก จึงตองถูกปดหรือตัดทิ้ง ใหเหลือเทาที่จะนําไปใชตอได สูตรคํานวณ 0.1 นี้เปนเพียงตัวอยางงายๆ ทีช ่ วยใหเห็นความนากลัวของ Excel ไดดี ซึ่งยังมี โอกาสอีกมากมายที่สูตรคํานวณอื่นๆ ทั้งที่เปนสูตรบวกลบคูณหารและสูตรที่เปน Function สําเร็จรูป สามารถคํานวณแลวใหผลลัพธถูกตองตามแบบของ Excel แตผิดเพี้ยนไมถูกตองตามความตองการ ของมนุษย ซึ่ง Format ไมไดชวยใหตัวเลขเกิดความแมนยําตางไปจากเดิมแตอยางใด เราตองใชสูตร

อื่นๆมาชวยปรับคาตัวเลขใหถูกตองตรงตามที่ตองการกอน จากนั้นจึงคอยใช Format ตามทีหลัง ------------------------------------------------------™ สูตร Round

สูตร Round นี้เชื่อวาผูใช Excel ทั่วไปรูจักกันดี แตไมเคยนํามาใชกันกับการคํานวณทุกเซลล เนื่องจากไมทราบเรื่อง Repeating Binary Numbers กันมากอน สูตร Round ทําหนาที่ปดตัวเลขทั้งเลขหลักทศนิยมหรือเลขหลักอื่น ใหเหลือคาเทาจํานวนหลักที่ ตองการ =Round( ตัวเลข, จํานวนหลัก) มาดูคําอธิบายพรอมตัวอยางกันครับ จํานวนหลักในสูตร ถาเปนเลขบวก เชน =Round(1234.567,2) จะปดหลักทศนิยมใหเปนแค 2 หลัก จึงไดคาเปน 1234.57 (เนื่องจากทศนิยมหลักที่ 3 เปนเลข 7 ซึ่งมากกวาหรือเทากับเลข 5 จึง ปดขึ้น)

3

Expert Excel Tips : เทคนิคการใชงาน Excel อยางมืออาชีพ. By Mr. Pongthap Reawruad ([email protected]) Mobile : 081‐636‐7625

จํานวนหลักในสูตร ถาเปนเลข 0 เชน =Round(1234.567,0) จะปดหลักทศนิยมใหเปนแค 0 หลัก จึงไดคาเปน 1235.00 (เนื่องจากทศนิยมหลักที่ 1 เปนเลข 5 ซึ่งมากกวาหรือเทากับเลข 5 จึงปดขึ้น)

จํานวนหลักในสูตร ถาเปนเลขลบ เชน =Round(1234.567,-2) จะปดตัวเลขหลักหนวยและสิบให เปนหลักรอย จึงไดคาเปน 1200.00 (เนื่องจากเลขหลักที่ 2 เปนเลข 3 ซึ่งไมมากกวาหรือเทากับเลข 5 จึงตัดทิ้ง) ------------------------------------------------------™ สูตร Trunc สูตร Trunc ทําหนาที่ตัดตัวเลขทั้งเลขหลักทศนิยมหรือเลขหลักอื่น ใหเหลือคาเทาจํานวนหลักที่ ตองการ โดยไมตองดูวาหลักถัดไปเปนเลขใด สูตร Trunc ยอมาจากคําวา Truncate แปลวา ตัดทิ้ง

=Trunc( ตัวเลข, จํานวนหลัก) ไปดูคําอธิบายพรอมตัวอยางกันเลยครับ จํานวนหลักในสูตร ถาเปนเลขบวก เชน =Trunc(1234.567,2) จะตัดหลักทศนิยมใหเปนแค 2 หลัก จึงไดคาเปน 1234.56 จํานวนหลักในสูตร ถาเปนเลข 0 เชน =Trunc(1234.567,0) หรือ =Trunc(1234.567) จะตัดด หลักทศนิยมใหเปนแค 0 หลัก จึงไดคาเปน 1234.00 จํานวนหลักในสูตร ถาเปนเลขลบ เชน =Round(1234.567,-2) จะตัดตัวเลขหลักหนวยและสิบให เปนหลักรอย จึงไดคาเปน 1200.00 -------------------------------------------------------

4

Expert Excel Tips : เทคนิคการใชงาน Excel อยางมืออาชีพ. By Mr. Pongthap Reawruad ([email protected]) Mobile : 081‐636‐7625

™ สูตร Int สูตร Int ทําหนาที่ตัดตัวเลขหลักทศนิยม ใหเหลือเปนเลขจํานวนเต็มที่นอยกวาเลขเดิม Int มาจากคําวา Integer แปลวา จํานวนเต็ม =Int( ตัวเลข) ตัวอยางพรอมคําอธิบายครับ =Int(1234.567) จะไดผลลัพธ 1234 แตถาใชสูตรหาจํานวนเต็มของคาลบ =Int(-1234.567) จะไดผลลัพธ -1235 ------------------------------------------------------™ สูตร Mod สูตร Mod ยอมาจากคําวา Modulus แปลวา เศษที่เหลือจากการหาร ดังนั้นสูตร Mod จึงทําหนาที่ หาเศษที่เหลือจากการหารกัน

=Mod( เลขตัวตั้ง, เลขตัวหาร) ไปดูตัวอยางกันเลยดีกวา =Mod(7,3) ไดผลลัพธ 1 =Mod(7,4) ไดผลลัพธ 3 =Mod(7,5) ไดผลลัพธ 2 =Mod(1234.567,1) นาจะไดผลลัพธเฉพาะเศษ 0.567 แตกลับได 0.567000000000007 มี สวนทายเกินมา ซึ่งตองอาศัยสูตร Round หรือ Trunc ชวยแกไขอีกชั้นหนึ่ง

-------------------------------------------------------

5

Expert Excel Tips : เทคนิคการใชงาน Excel อยางมืออาชีพ. By Mr. Pongthap Reawruad ([email protected]) Mobile : 081‐636‐7625

¾ เมื่อใดที่ควรใชสูตรกอน Format เมื่อเห็นสูตรขางตน หลายคนอาจบอกวา ตนรูจักสูตรเหลานี้มานาน หรือใชเปนกันอยูแลว และเห็น วาเปนสูตรงายๆ แตที่นาคิดนาถามตัวเองก็คือ แลวตนเคยนําสูตร Round Trunc Int และ Mod มาใช กันบอยมากนอยแคไหน ในงานสําคัญซึ่งตองใชตัวเลขในการวางแผนตัดสินใจ เชน งานบัญชี งานการเงิน งานภาษีอากร ตลอดจนงานอื่นๆซึ่งมีขอจํากัดของตัวเลข ซึ่งเกิดจากขอกําหนดจากภายนอกที่เราควบคุมไมได เชน กฎเกณฑบัญชี กฎภาษีอากร หรือกฎทางการเงินที่ประกาศใหลูกคาและบุคคลภายนอกทราบ ในงาน เหลานี้จําเปนตองใชสูตรดังกลาวในทุกขั้นตอนของการคํานวณ หามละไวใชสูตรครั้งเดียวกับผลลัพธ สุดทาย เพราะจะทําใหตัวเลขที่อยูระหวางการคํานวณถูกตัดสินผิดพลาดจากกฎที่มีอยู สวนงานซึ่งใชตัวเลขเปนการภายใน สามารถคลาดเคลื่อนไดบาง และไมเกี่ยวของกับการตัดสินใจ เราไมตองใชสูตรเหลานี้เลยก็ได แตตองเปนที่ทราบกันทั่วไปวา ผลลัพธที่เห็นอาจไมตรงกับคาที่ แทจริงเสมอไป ------------------------------------------------------™ สูตร If สูตร If เปนสูตรซึ่งจะชวยในการตัดสินใจไดดีในระดับหนึ่ง และมีความสลับซับซอนอยูบาง พอสมควร จริงๆ แลวก็ไมไดยากเย็นอะไร เพียงแตการเขียนสูตรคอนขางที่จะยาว (ยิ่งหลายเงื่อนไขก็ ยิ่งยาว) เพราะตองมีการตัดสินใจเขามาเกี่ยวของดวย ทําใหเกิดความสับสนและทําใหผด ิ พลาดได งาย แตถาไดศึกษาทําความเขาใจและรูจักใชแลว สูตร If จะเปนตัวชวยที่ดีสําหรับการตัดสินใจเลย ทีเดียว โดยทั่วไปงานแทบทุกประเภท ยอมมีความเกีย ่ วของกับ การวางแผนและตัดสินใจบางไมมากก็ นอย ทําใหสูตร If เปนสูตรซึ่งถูกเรียกใชงานอยูเสมอ อีกทั้งยังชวยใหใชเซลลสูตรเพียงเซลลเดียว หาผลลัพธไดตามตองการ โดยไมจําเปนตองใชเซลลหลายเซลลสรางสูตรซ้ํา หรือใชชีทหนาตา เหมือนกันซ้ําหลายๆ ชีท หรือใชไฟลที่เหมือนกันอยางกับแกะ ซ้ําๆๆๆๆ กัน พฤติกรรมของหัวหนากับลูกนองเมื่อใชสูตร If ในการมอบหมายงาน หัวหนาตองกําหนดขอบเขตของงานใหชด ั เจน ระบุใหชัดวามีเรื่องใดบางซึ่ง อาจมีการเปลี่ยนแปลงแกไขตางไปจากวันนี้ เชน • • •

ขอบเขตระยะเวลาของการคํานวณควรแยกเปนรายเดือน รายวัน หรือรายป ชวงเวลาที่ใชอาจ เปลี่ยนจากเดิม 6 เดือน เปน 12 เดือน หรืออาจไมแนนอน ตัวแปรใดบางซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม และตัวแปรเรื่องใด ที่ตองการใหแยกออกมาให หัวหนาหรือบุคคลอื่นรวมกันใชงานได ตัวแปรเรือ ่ งใดตองการปกปดไมใหผูอื่นเห็น วิธีคํานวณมีเงื่อนไขอะไรบาง จะมีการเปลี่ยนแปลงสูตรคํานวณในอนาคตหรือไม อยางไร

6

Expert Excel Tips : เทคนิคการใชงาน Excel อยางมืออาชีพ. By Mr. Pongthap Reawruad ([email protected]) Mobile : 081‐636‐7625

รายละเอียดขางตนเปนขอมูลอยางนอยที่สุด สําหรับหัวหนาซึ่งใช Excel ไมคอยเปน ควรระบุให ชัดเจนในการมอบหมายงาน สวนหัวหนาซึ่งใช Excel เกงมากๆ อาจสรางงานใหดูเปนตัวอยาง และ มอบหมายใหลูกนองปรับปรุงแกไขไฟลนั้นตอไป หัวหนาควรใหเวลาสําหรับลูกนอง ในการใชคิดวางแผนการสรางงาน ใหสามารถใชเวลาได มากกวาปกติ แตเมื่อสรางงานเสร็จแลว พอมีการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขตัวแปร หรือแมแตแกไขสูตร จะตองใชเวลานอยมาก ไมจําเปนตองทํางาน OT อาจเรียกไดวา เมื่อหัวหนาสั่งแกไข ลูกนองก็ สามารถสงงานไดทันทีเกือบจะในพริบตา ถาลูกนองเกงมากๆ สามารถสรางงานไดดี มีความยืดหยุน  สามารถใช Excel สรางงานซึง่ สนองตอบตอความตองการที่ตางไปจากเดิมไดสารพัด จะทําใหหัวหนาที่ใช Excel ไมคอยเปน แทบ ไมตองกวนลูกนองใหปรับตัวเลข หรือสั่งใหแกไขอะไรใหมใหอก ี เลย หัวหนานัน ่ แหละ จะใชไฟล ตอไปไดเอง หัวหนาจะรูสึกสนุกกับการที่ตนสามารถใช Excel เปลี่ยนแปลงตัวแปรและเงื่อนไขที่ เกี่ยวของ แลวพิจารณาทางเลือกทางธุรกิจจากผลการคํานวณไดดวยตนเอง

โครงสรางสูตร If =If(เงื่อนไข, ผลกรณีถูกเงื่อนไข, ผลกรณีผิดเงื่อนไข) สูตร If เปนสูตรแรกที่ควรคิดถึง ถาเงื่อนไขที่เกี่ยวของมีความสลับซับซอนไมมาก เพราะสูตรทุก สูตรมีขอจํากัดวา ภายในวงเล็บหนึ่ง จะมีสูตรอยูภายในวงเล็บไดไมเกิน 7 สูตร ดังนั้นสูตร If จึง สามารถสรางสูตร If ซอนกันไดไมเกิน 7 ชั้น รวมสูตร If นอกวงเล็บดวยจึงนับ If ได 8 If =If(A1=1,"A",If(A1=2,"B",If(A1=3,"C",If(A1=4,"D", If(A1=5,"E", If(A1=6,"F",If(A1=7,"G",If(A1=8,"H","I" )))))))) ใหคลิกในชอง Formula Bar หนาตําแหนงที่ตองการใหปรับขึ้นบรรทัดใหม เชน หนา If แลวกด Alt+Enter จะไดสูตรที่อานไดงายกวาเดิม =If(A1=1,"A", If(A1=2,"B", If(A1=3,"C", If(A1=4,"D", If(A1=5,"E", If(A1=6,"F", If(A1=7,"G", If(A1=8,"H","I")))))))) หากพยายามนําสูตรซอนเขาไปอีก จะพบคําเตือนวา The formula you typed contains error โดย Excel จะไมบอกหรอกวา สาเหตุเปนเพราะซอนสูตรหลายชั้นเกินกวาที่จะรับได ผูที่สรางสูตรตอง เขาใจเองวาเปนเพราะมีสูตรเกินกวา 7 สูตรในวงเล็บ

7

Expert Excel Tips : เทคนิคการใชงาน Excel อยางมืออาชีพ. By Mr. Pongthap Reawruad ([email protected]) Mobile : 081‐636‐7625

ประเด็นที่ตองคํานึงเวลาซอนสูตร If ก็คือ ตองกําหนดเงือ ่ นไขในสูตร If ที่เปดโอกาสให เงื่อนไขทั้งหมดมีโอกาสไดใชงาน เชน ถาเงื่อนไขของ If ตัวแรก ใชตรวจสอบตัวเลขที่มากกวา หรือเทากับ 5 เงื่อนไขของ If ตัวถัดไป ใชตรวจสอบตัวเลขที่มากกวาหรือเทากับ 4, 3, 2, 1 ได ตามลําดับ แตถากําหนดเงื่อนไขแรกใหตรวจสอบตัวเลขที่มากกวาหรือเทากับ 1 เสียแลว จะปดโอกาสกัน ไมใหเงื่อนไขใน If ที่ซอนตัวถัดไปไดใชงาน

วิธีซอน If ใหเกินกวา 7 ชั้น ใหนําสูตร If ที่ซอนกันจนเต็มแลวแตละชุด นํามาตอกัน โดยใชเครือ ่ งหมาย & หรือนํามาบวกกัน หากผลลัพธของสูตรเปนตัวอักษร ใหนํา If ที่ซอน If กันจนเต็มแลวแตละชุด มาตอกันโดยใช เครื่องหมาย & เปนตัวเชื่อม โดยตองกําหนดใหเงื่อนไขตัวสุดทาย ในกรณีที่ผิดเงื่อนไขนั้น กลายเปน ชองวาง โดยใชเครื่องหมาย "" (Null Text) เชน ตามตัวอยาง If ซอนกันขางตนนัน ้ หากตองการ ตรวจสอบวา ถา A1 มีคาเปนเลข 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12, หรือ 13 แลวใหสูตร If คืน คาเปนตัวอักษร A, B, C, D, E, F, G, H, I, J, K, L, หรือ M ตามลําดับ ตองใชสูตร If ตอกัน ดังนี้ =IF(A1=1,"A",IF(A1=2,"B",IF(A1=3,"C",IF(A1=4,"D", IF(A1=5,"E", IF(A1=6,"F",IF(A1=7,"G",IF(A1=8,"H","" )))))))) & IF(A1=9,"I",IF(A1=10,"J",IF(A1=11,"K",IF(A1=12, L", IF(A1=13,"M",""))))) หากผลลัพธของสูตรเปนตัวเลข ใหนํา If ที่ซอน If กันจนเต็มแลวแตละชุด มาบวกกัน โดย ตองกําหนดใหเงื่อนไขตัวสุดทาย ในกรณีที่ผิดเงื่อนไขนั้น กลายเปนเลข 0 เชน หากตองการ ตรวจสอบวา ถา A1 มีคาเปนตัวอักษร A, B, C, D, E, F, G, H, I, J, K, L, หรือ M แลวใหสูตร If คืน คาเปนตัวเลข 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12, หรือ 13 ตามลําดับ ตองใชสูตร If ตอกัน ดังนี้ =IF(A1="A",1,IF(A1="B",2,IF(A1="C",3,IF(A1="D",4, IF(A1="E",5,IF(A1="F",6,IF(A1="G",7,IF(A1="H",8,0)))))))) + IF(A1="I",9,IF(A1="J",10,IF(A1="K",11,IF(A1="L",12, IF(A1="M",13,0)))))

If ที่ไมตองใชสูตร If เงื่อนไขหนึ่งซึ่งใชกันบอยครั้ง ไดแก การควบคุมคาที่คํานวณไดไมใหต่ํากวาคาที่กําหนด หรือ หามเกินกวาคาสูงสุดที่กําหนดไว อาจกําหนดเปนชวงในเงื่อนไขของอัตราภาษี หรือใชในการคํานวณ ตนทุนขาย หรือใชกันแบบงายๆ เชน หามต่ํากวา 0 หรือ หามเกินกวา 0 เปนตน ถาคิดจะใชสูตร If ตองเขียนสูตรดังนี้

8

Expert Excel Tips : เทคนิคการใชงาน Excel อยางมืออาชีพ. By Mr. Pongthap Reawruad ([email protected]) Mobile : 081‐636‐7625

กรณีหามนําคาที่ต่ํากวา 0 ในเซลล A1 ไปใช =If( A1<=0, 0, A1) กรณีหามนําคาที่เกินกวา 100 ในเซลล A1 ไปใช =If( A1>=100, 100, A1) แทนที่จะใชสูตร If ซึ่งตองเสียเวลากําหนดทั้งเงื่อนไขและผลลัพธที่ตองการซ้ําลงไปในสูตร If ใหเปลี่ยนมาใชสูตร Max หรือ Min แทน โดยใหยึดหลักวา ถาตองการควบคุมคา ไมใหตา ่ํ กวา ใหใชสูตร Max ถาตองการควบคุมคา ไมใหสูงกวา ใหใชสูตร Min จํางายๆวา ใหใชสูตรที่ตรงกันขามกับทิศทางของการควบคุม ทิศต่ํากลับใช Max สวนทิศสูงกลับ ใชสูตร Min กรณีหามนําคาที่ต่ํากวา 0 ในเซลล A1 ไปใช =Max(0, A1) กรณีหามนําคาที่เกินกวา 100 ในเซลล A1 ไปใช =Min(100, A1)

นอกจากนี้ยงั สามารถใชสูตรคูณมาบวกกันธรรมดา คํานวณไดคําตอบแบบเดียวกันไดอีก กรณีหามนําคาที่ต่ํากวา 0 ในเซลล A1 ไปใช =(A1<=0)*0 + (A1>0)*A1 กรณีหามนําคาที่เกินกวา 100 ในเซลล A1 ไปใช =(A1>100)*0 +(A1<=100)*100 สูตรคํานวณแบบนีใ้ ชหลักวา เมือ ่ นําคามาตรวจสอบเงื่อนไขใสไวในวงเล็บ (โดยไมจําเปนตอง อาศัยสูตร If) ถาเงื่อนไขเปนจริง เมื่อนําไปคํานวณตอ Excel จะถือวามีคาเทากับ 1 แตถาเงือ ่ นไขเปน เท็จ เมื่อนําไปคํานวณตอ Excel จะถือวามีคาเทากับ 0

9

Expert Excel Tips : เทคนิคการใชงาน Excel อยางมืออาชีพ. By Mr. Pongthap Reawruad ([email protected]) Mobile : 081‐636‐7625

แบบสูตรจะดูวายาวกวาสูตร If Max หรือ Min ก็ตาม แตถามีเงื่อนไขซับซอนมากขึ้น จะกลายเปน สูตรที่สั้นกวา เชน หากตองการตรวจสอบวา ถา A1 มีคาเปนตัวอักษร A, B, C, D, E, F, G, H, I, J, K, L, หรือ M แลวใหสูตร If คืนคาเปนตัวเลข 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12, หรือ 13 ตามลําดับ ตองใชสูตร If ตอกัน ดังนี้ =IF(A1="A",1,IF(A1="B",2,IF(A1="C",3,IF(A1="D",4, IF(A1="E",5,IF(A1="F",6,IF(A1="G",7,IF(A1="H",8,0)))))))) + IF(A1="I",9,IF(A1="J",10,IF(A1="K",11,IF(A1="L",12, IF(A1="M",13,0))))) เมื่อปรับใหมกลายเปนสูตรสั้นลง และมีโครงสรางซึ่งสามารถปรับแกไขไดงายขึ้น =(A1="A")*1+(A1="B")*2+(A1="C")*3+(A1="D")*4 +(A1="E")*5+(A1="F")*6+(A1="G")*7+(A1="H")*8 +(A1="I")*9+(A1="J")*10+(A1="K")*11+(A1="L")*12 +(A1="M")*13

------------------------------------------------------¾ แถมทายดวยกับดัก Error ในทันทีที่เซลลแสดง Error ซึ่งนําหนาดวยเครื่องหมาย # ขึ้นมา เชน #DIV/0! #N/A #NAME? #NULL! #NUM! #REF! #VALUE! งานที่ใช Excel ตั้งใจสรางขึ้นอยางดี อาจกลายเปนไรคา เพราะดู แลวเกิดสงสัยวา สูตรคํานวณถูกตองอยางที่ตองการหรือไม ทั้งๆที่ Error ที่แสดงขึ้นมาเหลานี้ ไมได หมายความวา สูตรที่สรางขึ้นนั้นผิดพลาดเสมอไปก็ตาม แตผูใช Excel ซึ่งไมรูจักคําเตือน Error ดี เมื่อเห็น Error แสดงขึ้น ก็มก ั ตกอกตกใจ และพาลหาเรื่องกับผูที่สรางงานขึ้นมาทีเดียววา งานที่คุณ สรางขึ้นมานั้นผิด Error ไมไดแสดงขึ้นเพื่อเตือนวามีสิ่งผิดพลาดเสมอไป แตอาจแสดงขึ้นตามปกติ เมื่อสูตรที่สราง ขึ้นไมสามารถคํานวณ หรือคํานวณแลวพบสิ่งที่นาสังเกต ตองเตือนใหผูใชทราบไวกอน #DIV/0! เตือนเมื่อสูตรไมสามารถใชเลข 0 มาเปนตัวหาร เชน =5/0 #N/A เตือนเมื่อสูตร Lookup คนหาคาที่ตองการไมพบ เชน =Match(MyData, MyRange, 0) แตไมมี MyData #NAME? เตือนเมื่อสูตรใชชอ ื่ เซลล แตไมพบชื่อที่ตั้งไว เชน =One+Two แตไมมี Range Name ชื่อ One กับ Two #NULL! เตือนเมื่อสูตรอางถึงตําแหนงเซลลที่ไมมีตัวตน เชน =(F:F H:H) เมื่อ Column F ไมไดตัดกับ Column H

10

Expert Excel Tips : เทคนิคการใชงาน Excel อยางมืออาชีพ. By Mr. Pongthap Reawruad ([email protected]) Mobile : 081‐636‐7625

#NUM! เมื่อสูตรใชตัวเลขที่เปนไปไมไดในการคํานวณ เชน =Sqrt(-1) #REF! เมือ ่ ตําแหนงเซลลที่อางในสูตร เซลลที่อางถูกลบทิ้ง #VALUE! เมื่อสูตรไมสามารถคํานวณหาคาเปนตัวเลขได เชน =5/"Test" หากเซลลใดเซลลหนึ่งที่ใชในสูตร เกิด Error ขึ้นมา ถาผูกสูตรตอกันไปทั้งตาราง จะสงผลให เซลลอื่นซึ่งนําคาจากเซลล Error ไปคํานวณตอ เกิด Error ตามไปดวย ดังนัน ้ แทนที่จะปลอยใหการ เกิด Error ของเซลลใดเซลลหนึ่ง แลวสงผลเสียตองานทั้งหมด จึงควรหาทางปองกันไมใหเกิด Error ขึ้นตั้งแตตน ซึ่งเรียกวา วิธีสรางกับดัก Error (Error Trapping) โดยใชสูตร IF ตรวจสอบเงื่อนไขซึ่ง อาจทําใหเกิด Error กอน เชน เดิมสรางสูตรหาร =A1/A2 แตถา A2=0 จะทําใหสูตรหารนี้แสดง Error #DIV/0! ซึ่งตองปองกัน ไมใหแสดง Error โดยใชสูตรตอไปนี้แทนสูตร =A1/A2 =IF(A2=0, 0, A1/A2) ถา A2=0 จะทําใหสูตร If คืนคาเปน 0 แทนไปกอน แตถา A2 ไมเทากับ 0 จะคํานวณไดผลลัพธ ตามสูตรเดิม =A1/A2 ไมควรใชสต ู ร =IF(A2=0, "", A1/A2) เพราะเครื่องหมาย Null Text "" นั้นถือวาเปน Text ไม สามารถนําคาไปคํานวณตอ แตเนือ ่ งจากสูตรหารนัน ้ อาจเกิด Error ขึ้นอีกไดเสมอเมือ ่ ตัวหารเปนตัวอักษร จึงแนะนําใหแกไข สูตร If โดยใชสูตร IsError ชวย ดังนี้ =If( IsError(A1/A2), 0, A1/A2) ถาสูตร A1/A2 ทําใหเกิด Error จะทําใหสูตร If คืนคาเปน 0 แทนไปกอน แตถาสูตร A1/A2 ไม เกิด Error จะคํานวณไดผลลัพธตามสูตรเดิม =A1/A2

(แตกอนที่จะนําสูตร A1/A2 มาใช จะตองตรวจสอบสูตรกอนวาคํานวณไดถูกตอง เพราะเมื่อนําสูตร IsError มาชวยปองกัน จะทําใหจากนี้ไปจะไมมีทางพบ Error แสดงขึ้นมาใหเห็นอีกเลย)

11

Expert Excel Tips : เทคนิคการใชงาน Excel อยางมืออาชีพ. By Mr. Pongthap Reawruad ([email protected]) Mobile : 081‐636‐7625

สูตรกลุม IS ซึ่งสามารถนํามาใชกับสูตร If ในการปองกัน Error เชน =IsError(สูตร) ตรวจสอบ Error ทุกประเภท =IsErr(สูตร) ตรวจสอบ Error เกือบทุกประเภท เวน #N/A =IsNA(สูตร) ตรวจสอบ Error #N/A เทานั้น =IsText(เซลล) ตรวจสอบวาเซลลมีคาเปน Text หรือไม =IsNumber(เซลล) ตรวจสอบวาเซลลมีคาเปน Number =IsBlank(เซลล) ตรวจสอบวาเซลลเปนเซลลวางหรือไม -------------------------------------------------------

12

Related Documents

Expert Excel Tips
November 2019 36
Excel Tips
November 2019 20
Excel Tips
November 2019 23
Excel Tips
November 2019 19
Excel Tips
November 2019 22
Excel Tips
June 2020 7

More Documents from ""

Expert Excel Tips
November 2019 36
November 2019 18
Networkinternet_forprint
November 2019 10
Tvss
November 2019 18
Networkinternet
November 2019 14
Computer System
November 2019 27