Neonate 46

  • December 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Neonate 46 as PDF for free.

More details

  • Words: 523
  • Pages: 5
1/22/2009

การพยาบาลทารกที่มภี าวะเสี่ ยง ทารกแรกเกิด หมายถึง ทารกอายุต้ังแต่ แรกเกิดจนถึง 28 วัน แบ่ งเป็ นทารกแรกเกิดระยะต้ น-7 วัน ทารกแรกเกิดระยะท้ าย 7-28 วัน ทารกนํา้ หนักตัวน้ อย หมายถึงทารกที่มีนํา้ หนักตัว น้ อยกว่ า 2500 กรัม

ประเภทของนํา้ หนักตัวน้ อย SGA(Small for gestation age) ทารกที่มีนํา้ หนักน้ อยกว่ า 10 percentile ของนํา้ หนักปกติที่อายุครรภ์ น้ันๆ LGA(Small for gestation age) ทารกที่มีนํา้ หนักมากกว่ า 10 percentile ของนาหนกปกตทอายุ ของนํา้ หนักปกติที่อายครรภ์ ครรภนนๆ น้ันๆ AGA(Appropriate for gestation age) ทารกที่มีนํา้ หนัก ตัวสมกับอายุครรภ์ น้ันๆ IUGR(Intrauerine Growth Retarddation) ทารกที่มีนํา้ หนัก น้ อยกว่ าอายุครรภ์ น้ันๆ

ทารกคลอดกอนกําหนด (Prematurity) หมายถึง ทารกที่คลอดกอนอายุครรภ 37 สัปดาห (นอย กวา 259 วัน ) ทารกคลอดกอนกําหนด (Prematurity) การวินิจฉัย โดยใชวิธี Dubowitz Nicolopoulos และ Ballard โดยดู จากลักษณะภายนอก 6 อยาง และการตรวจระบบประสาท 6 อยาง เมื่อรวมคะแนนแลวจึงนําไปเทียบกับตารางอายุครรภ ควรทําหลังจากคลอด 24 ชั่วโมงไปแลว

ภาวะแทรกซอนที่พบไดในทารกคลอดกอนกําหนด Birth Asphysia หมายถึง ภาวะขาดออกซิเจนหลังคลอด Apgar score ต่ํา กวา 6 หรือ 7 ที่ 1 นาที และ5 นาที มักตองชวยหายใจนาน เกิน 2-3 นาที อาการและอาการแสดง 1.การขาดออกซิเจนกระทันหัน ทําใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงในปอด ความดันในปอดสูงมากขึ้น ถา ความดันเลือดในรางกายต่ําดวย ก็จะมีผลทําใหเลือด ไปเลี้ยงปอดลดลง

การดูแลทารกคลอดกอนกําหนด 1.การควบคุมอุณหภูมิของรางกาย 2.การปองกันการติดเชื้อ 3. ปองกันภาวะเลือดออก 4.การสังเกตอาการอยางใกลชิด 5.การให ใ อ าหาร 6.การใหวิตามินและเหล็ก

2.การเปลี่ยนแปลงของระบบหมุนเวียนเลือด 3.การเปลี่ยนแปลงของระบบประสาท 4. การเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินอาหาร 5 การเปลี่ยนแปลงที่ไต เกด 5.การเปลยนแปลงทไต เกิด acute renal failure ได ได้

5.การเปลี่ยนแปลงที่ไต เกิด acute renal failure ได 6.การเปลี่ยนแปลงทาง metabolic

1

1/22/2009

ทารกที่มีภาวะหายใจลําบาก ( Idiopathic Distress Syndrome) IRDS หรือ HMD ( Hyaline Membrane Disease ) เปนกลุมอาการหายใจลําบากในทารก คลอดกอนกําหนด อาการและอาการแสดง ทารกจะปรากฎอาการ หายใจลําบากภายใน 8 ชม.หลังคลอด ในระยะที่เป็ น ใหม่ๆ ใน 48-72 ชม.แรก

การรักษา แบบประคับประคอง โดยใช เครื่องชวยหายใจชนิด CPAP (Continuous Positive airway Pressure)หรือ PEEP (Positive End Expiratory Pressure)ความดััน ไมเกิน 10 cmH2O ควบคุมระดับออกซิเจน ในเลือดใหไดเทากับ50-70 mmHg และ ระดับคารบอนไดออกไซดในเลือดอยู ระหวาง 35-45 mmHg จึงคอยๆลดออกซิเจน ลง

อาการ -หายใจเร็ว หนาอกบุม อัตราการหายใจ มากกวา 60 ครั้ง/นาที ในทารกแรกเกิด -Expiratory grunting -Cyanosis y -Systemic hypotention -Abnormal Breath sound เชนอาจพบ crepitation

การพยาบาล -รักษาอุณหภูมิของรางกาย -ใหการพยาบาลที่นุมนวลและรวดเร็ว -บันทึกสัญญาณชีพ -งดน้ําและอาหารทางปากในระยะทีห่ ายใจลําบาก -ใหอาหารทาง NG tube ํ ื่ ช -ดูแลการทางานของเครองชวยหายใจ ใ -clear air way ใหโลง สังเกตภาวะ cyaosis และอาการ หายใจลําบาก -ปองกันการติดเชื้อเพิ่ม ดูแลสิ่งแวดลอม และความ สะอาดของอุปกรณ -ดูแลความสะอาดรางกาย

สาเหตุ

การหยุดหายใจทารกแรกเกิด ( Apnea ) การหยุดหายใจนานเกิน 20 วินาที มี หัวใจเตนชา เขยวหรอซดรวมดวย หวใจเตนชา เขียวหรือซีดรวมดวย

-ทารกคลอดกอนกําหนด -มีปญหาที่ระบบประสาทสวน กลาง -ชัก -ซีด -REM sleep -sepsis -Hypothermia -PDA -Electrolyte Imbalance -drug effect

2

1/22/2009

การรักษา มีหลายวิธี -รักษาตามอาการและสาเหต -ดูแลใหออกซิเจน -หลีกเลี่ยงการกระตุน Reflex -รักษาทางยา ลดการกดหนาที่ศูนยหายใจ การพยาบาล -หลีกเลี่ยงสิง่ ที่จะกระตุนใหเกิดภาวะ Apn -สังเกตอาการอยางใกลชิดในทารกที่อยูในภาวะเสี่ยง -ดูแลทางเดินหายใจใหโลง -สังเกตสัญญาณชีพ -เตรียมอุปกรณใหพรอม เชน ออกซิเจน เครื่องชวยหายใจ -ดูแลใหไดรับออกซิเจนอยางเพียงพอ

อาการแสดง -ทารกหายใจเร็วมากกวาปกติ(60/นาที) -ปลายมือปลายเทาเขียว Cyanosis -Apnea ได -หนาอกโปงผิดปกติ -Abnormal Breath sound อาจเจอ crepitation -อาจพบ pneumothorax -ภาพถายรังสีจะพบ pleural effusion -มีไข เกิด pneumonia ได

ภาวะเลือดออกในปอด(Pulmonary Heamorrhage) พบไดบอยในทารกแรกเกิดน้ําหนักตัวนอย (ต่ํากวา 2500 กรัม) หรือพวก SGA สาเหตุ -อาจพบรวมกับภาวะพรองออกซิเจนกอน คลอด หรือระยะแรกคลอด ภาวะกรดเกิน sepsis โรคหัวใจแตกําเนิด หัวใจวายเลือดคั่ง ภาวะ เลือดออกผิดปกติ DIC (Disseminated intravascular clotting)

Aspiration Syndrome เปนกลุมอาการสําลักน้ําคร่ําหรือ สิ่งที่เจือปนเขาไปขณะคลอด เช สงทเจอปนเขาไปขณะคลอด เชนกลุ นกลม อาการสําลักขี้เทา (Meconium aspiration syndrome)

การรักษา -suction ให clear ในทารกที่มีภาวะเสี่ยง -ติดตามอาการแสดง -ใหออกซิเจน -ใหยา antibiotic การพยาบาล -สังเกตอาการอยางใกลชิด -clear airway -สังเกตสัญญาณชีพ -ดูแลใหไดรับออกซิเจนอยางเพียงพอ -Hygine Care

อาการแสดง มีภาวะหายใจลําบาก คลายๆกับ พวก IRDS ฟงเสียงปอดพบ crepitation อาจพบเลือดออกทางจมูก ปาก การรักษา แบบประคับประคอง ขึ้นอยูกับ สาเหตุ ใหออกซิเจน ใหเลือด

3

1/22/2009

การพยาบาล -ดูแล airway -สังั เกตอาการอยา งใกล ใ ชิด -ใหการพยาบาลดวยความนุมนวล -ถามีภาวะผิดปกติของระบบไหลเวียน

อาการ มีภาวะหายใจลําบาก grunting retraction หนาอกโปงผิดปกติขางใดขางหนึ่ง และการเคลื่อนไหวของหนาอกไมเทากัน การรักษา การรกษา -รักษาตามอาการขึ้นอยูกับความรุนแรงของโรค -ดูแลใหเครื่องชวยหายใจ -เจาะเอาลมออก -ใสสาย ICD

ภาวะแรงดันเลือดของปอดสูง (Pulmonary persistant Hypertention) หมายถึงแรงตานของหลอดเลือด pulmonary vascular resistance สูงภายหลังทารกเกิด สาเหตุุ -มีความผิดปกติของปอด -ไมมีความผิดปกติของปอด เชนBirth asphysia ซึ่งพบไดบอยที่สุด และภาวะสูดสําลักขี้เท -มีความผิดปกติของเลือด -มีความผิดปกติของหัวใจ

ภาวะลมในชองเยื่อหุมปอด ( Pneumothorax) สาเหตุ -การสูดสําลักขี้เทา -เกิดขึ้นเอง Spontaneous -ปอดเจริญนอยกวาปกติ ซึ่งอาจพบเปนที่ ป  ใ  ปอดขางใดขางหนง ึ่ -fetal distress -ภาวะแทรกซอนจากการใหเครื่องชวย หายใจ -ไสเลื่อนกระบังลม -ปอดอักเสบ

การพยาบาล -สังเกตอาการอยางใกลชิด -ดูแลใหไดรับออกซิเจนอยางเพียงพอ -สังเกตการทํางานของ ICD -เตรียมความพรอมของอุปกรณกูชีวิต -ใหการพยาบาลตามอาการ

อาการแสดง พบใน24 ชั่วโมงแรก -เขียว Cyanosis ถารองจะเขียวมากขึ้น -อาการ หายใจลําบากซึ่งไมรุนแรงมาก -เสียงหัวใจผิดปกติ อาจพบ murmur

การรักษา -วินิจฉัยแยกโรคระหวางโรคปอดกับหัวใจ โดยวิธี Hyperoxia Test

4

1/22/2009

การรักษา -รักษาตามสาเหตุ -ใหออกซิเจน 100% เพื่อรักษาระดับออกซิเจนใ เลือดใหมากกวา 60 mmHgg -รักษาแรงดันของเลือดใหอยูในระดับ systolic 60 80 mmHg -ใหยา control ความดัน

การพยาบาล -ดูแลทารก หลีกเลี่ยงการทําใหทารกเจ็บปวด -สังเกตการหายใจ และภาวะขาดออกซิเจน -ตรวจสอบสัญญาณชีพอยางใกลชิด Hygine care -Hygine -หลีกเลี่ยงการตรวจรางกายโดยไมจําเปน -ดูแลควบคุมอุณหภูมิของรางกาย

5

Related Documents

Neonate 46
December 2019 4
46
May 2020 21
46
November 2019 49
46
November 2019 41
46
July 2020 16
46
November 2019 56