Learning Log ( Self Learning ) อาจารย์ อนิรุธ ชุมสวัสดิ ์ ส่ิงท่ีได้เรียนรู้จากการเรียนการสอน Building block of Language จากรูปสามเหล่ียม Units of Language ทำาให้เราได้ ทราบว่าควรเรียนรู้ส่วนต่างๆของภาษา โดยมีส่วนประกอบตัง้แต่ Phonology ซ่งึ ประกอบไปด้วย distinctive feature , phoneme หรือ การออกเสียง syllable และ morpheme คือหน่วยเสียง ซ่ ึงเราสามารถแยกได้อีกหลายแบบ เช่น free morpheme หน่วยเสียงท่ีสามารถอยู่ได้ดว้ ยตัวมันเอง ส่วน bound morpheme คือหน่วยเสียงท่ีไม่ สามรถอยู่ได้ตามลำาพัง ต้องไปเกาะเก่ียวกับคำาอ่ ืนๆ เช่นพวกคำา prefix , suffix ต่างๆ Morphology ก็จะประกอบไปด้วย word , phrase , clause , utterance และ text ซ่ ึง รวมไปถึงกลุ่มคำาท่ีเก่ียวกับ Syntax , Discourse , Stress , Rhythm intonation ซ่ ึงเราควรจะ เรียนรู้ให้เข้าใจ เพราะจะทำาให้เราสามารถนำาไปเขียนประโยค หรือเติมคำาลงในช่องว่างได้อย่างถูกต้องตาม หน้าท่ีต่างๆของมัน การเรียนรู้ท่ีเก่ียวกับ Keys main terms for language learning all language teacher should know เพราะคำาเหล่านีม ้ ีความสำาคัญท่ีจะทำาให้เราอ่านตำาราหรือบทความต่างๆท่ีเก่ียว กับตำาราเรียนหรือ Text ต่างๆท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษาได้เข้าใจมากย่ิงขึ้น เช่น Deductive learning คือ การเรียนรู้กฎต่างๆของภาษา แล้วยกตัวอย่างประกอบ แต่ Inductive learning คือ การเรียนรู้ท่ีจะให้ตัวอย่างก่อนแล้วนำามาสรุปเป็ นกฎทางภาษา และ คำาศัพท์ทางการศึกษา 2 คำานีม ้ ักจะเกิดความสับสนว่าแตกต่างกันอย่างไร ก็มีการแนะนำาวิธีการจดจำา ระหว่าง 2 คำานีค ้ ือ ถ้าเป็ น Inductive learning ให้คิดว่า I ( Inductive ) จะสัมพันธ์กับตัวอย่าง ( example ) คือ จะต้องยกตัวอย่างก่อนแล้วนำาไปสู่การสรุปเป็ นกฏเกณฑ์ต่างๆ Transmission คือ การส่ ือสารทางเดียวท่ีเราเรียกว่า การส่ ือสารทางเดียว ( one way communication ) ซ่ ึงเรามักจะคิดว่าการท่ีเราสอนแบบ pair work , group work เป็ นการ สอนแบบ two way เพราะการท่ีนักเรียนฝึ กเป็ นคู่และเป็ นกลุ่มคือการส่ ือสาร 2 ทาง แต่ความจริงคือ นักเรียนทราบคำาตอบท่ีจะต อ ้ งตอบแล้วว่าเป็ นอย่างไร Interactive คือ การส่ ือสาร 2 ทาง หรือ ( two way communication ) หรือ Information gap โดยอาจจะเป็ นการส่ ือสารระหว่าง นักเรียน กับ นักเรียน หรือ ระหว่างครูกับ นักเรียนก็ได้ โดยท่ีผู้รับสารไม่มีโอกาสรู้ว่าคำาถามและคำาตอบของอีกฝ่ ายจะเป็ นอะไร ซ่ ึงนักเรียน หรือครูจะ ต้องใช้ความคิด และมีความหมายและพูดโต้ตอบออกมาโดยฉับพลัน หรือท่ีเราอาจจะเรียนว่า Discourse ก็ได้ ครูควรจะทำาหน้าท่ีเป็ น Facilitator คือผูอ ้ ำานวยความสะดวกในการเรียนการสอนมากกว่าจะเป็ นผู้ สอนอย่างเดียว ESL = English as a Second Language การเรียนภาษาอังกฤษเป็ นภาษาท่ีสอง EFL = English as a Foreign Language การเรียนภาษาอังกฤษเป็ นภาษาต่างประเทศ
---- Vocabulary ---- Performance ---- Grammar Linguistic Competences ความสามารถทางด้านภาษา Sociolinguistic Competences แนวความคิดทางวัฒนธรรมแบบ Competence ตะวันตก ( Individualism ) Competences ความสามารถทางการส่ ือสาร ความสามารถในการ ตะวันออก ( Collectivism ) พูดแบบต่อเน่ ือง
Communicative Discourse แนวความคิดทางวัฒนธรรมแบบ
Strategic Competences Pragmatic Competences การใช้ภาษามือ / ภาษาใบ้
ถ้าเราต้องการศึกษางานวิจัยต่างๆท่ีเก่ียวกับการศึกษา อาจารย์ได้แนะนำาให้ใช้ Web site ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏ แล้วเข้าไปค้นข้อมูลได้ โดยเข้าไปคลิกท่ี Proquest ซ่ ึงจะมีขอ ้ มูลต่างๆมากมายไม่ว่าจะ เป็ นเทคนิควิธีสอน หรืองานวิจัยต่างๆ ซ่งึ เราสามารถนำาไปใช้ได้เลย เทคนิคการสอนท่ีเราน่าจะนำาไปพัฒนาต่อในชัน ้ เรียนคือทักษะการสอนคำาศัพท์แบบ Mnemonic คือการให้เทคนิคการจำาศัพท์ท่ีงา่ ยๆ เช่น desert ทะเลทราย กับ dessert ของหวาน หรือขนมหวาน มักจะเกิดความสับสน เราสามารถใช้เทคนิคแบบ Mnemonic ได้คือ ถ้าเป็ น desert ทะเลทราย มี s ตัวเดียว ซ่งึ อ่านว่า เด้ทเสริท โดยคิดว่า ถ้าเข้าไปในทะเลทรายมันอาจจะ เด้ท คือตายได้ ส่วนคำาว่า dessert ขนมหวาน มี ss 2 ตัว ซ่งึ อ่านว่า ดีเสริท ขนมหวานมันก็ดี ซ่ ึงทำาให้ เราไม่สับสน การสอนท่ีจะเกิดความสมบูรณ์ได้อีกวิธีการหน่ ึงจะต้องประกอบไปด ้วย คือ I + 1 = Comprehensible Input = input process output outcome โดยท่ี input ( I ) คือความรู้เดิม หรือ background knowledge ของนักเรียนว่ามีทุนเดิมอยู่เท่าไร หรือความรู้พ้ืนฐาน ซ่ ึงเรามักจะมีการสอบก่อนเรียน ( pre test ) เพ่ ือท่ีจะได้นำามาวิเคราะห์ว่าส่งิ ท่ีเราจะ เติมลงไปอีก 1 คือ อะไร เราไม่ควรจะอัดเน้อ ื หาหรือข้อมูลความรู้ลงไปมากเกินไปทัง้ๆท่ีนักเรียนไม่มีความ สามารถในการรับรู้หรือเรียนรู้ได้มากกว่าเดิมเป็ นการเสียเวลาโดยเปล่าประโยชน์ ซ่ ึงวิธีการนีท ้ ำาให้ครูได้หันหลับมาสำารวจตนเองว่าทำาไมส่ิงท่ีเราสอนไปนักเรียนจึงไม่เข้าใจหรือ ไม่รู้เร่ ือง สาเหตุก็น่าจะมาจากความรู้เดิมของนักเรียนมีน้อยเกินไปแต่เรากลับเพ่ิมเข้าไปมากกว่า 1 ขัน ้ ทักษะการเรียนของนักเรียนมี 3 ระดับ คือ 1. Surface Learning คือ การเรียนรู้แบบซ่ ึงหน้า 2. Deep Learning คือ การเรียนรู้ท่ีลึกลงไป 3. Achieving Learning คือ การเรียนรู้ขัน ้ สูงสุด หรือท่ีเราเรียกว่า พหุปัญญา
การทำา Learning Log เป็ นวิธีการบันทึกการเรียนรู้ส่ิงต่างๆท่ีเราได้เรียนไปว่าได้เรียนรู้อะไรมาบ้างแล้วบันทึกพร้อม ทัง้มีแนวคิดเก่ียวกับส่ิงท่ีได้เรียนไปว่าเราสามารถนำามาวิเคราะห์หรือนำาไปพัฒนาต่ออย่างไรซ่ ึงการทำาบันทึก การเรียนรู้นีค ้ ิดว่าจะนำาไปใช้กับนักเรียนในปี การศึกษาหน้าเพ่ ือท่ีจะสร้างวินัยแห่งการเรียนรู้ให้นักเรียนและ ส่งเสริมให้นักเรียนปรับกระบวนการเรียนของตนเองให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น นักเรียนท่ีรู้วิธีการทำา Learning Log ยังสามารถนำาไปใช้ได้กับทุกรายวิชา อีทัง้ยังเป็ นการทบทวนเน้อ ื ความรู้ท่ีได้เรียนมาไปใน ตัวและหากยังมีขอ ้ สงสัยก็จะได้ไปศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติมหรือถามผู้รู้ได้อีครัง้หน่งึ และคิดว่าจะนำาไปพัฒนา เป็ นรูปแบบดังต่อไปนี้ No Date Word Part of Phonetic Meaning Where speech 1 2/02/07 linguist n someone who magazine studies foreign languages or can speak them very well, or someone who teaches or studies linguistics นักภาษาศาสตร์ ซ่ ึงคิดว่าการทำาเช่นนีเ้ป็ นประจำาจะทำาให้เราได้เรียนรู้คำาศัพท์หรืออ่ ืนๆได้มากขึ้น และยังเพ่ิมความสนุกกับการ สังเกตและหาคำาใหม่ๆจากส่ิงท่ีเราพบเห็นตามสถานท่ีต่างๆ และเราสามารถปรับเป็ นธนาคารศัพท์ของตนเอง ได้อก ี ด้วย นอกจากนีย ้ ังเป็ นการปลูกฝั งให้นักเรียนได้เรียนรู้ตลอดเวลา ซ่งึ การมี Self Learning หรือ Learning Log ครูสามารถนำามาเป็ นปั จจัยหน่ ึงในการแยกแยะเด็กเก่งกับเด็กอ่อนได้ โดยเด็กท่ีไม่เก่งจะ พ่ ึงพาการเรียนรู้จากครู หนังสือ และผูอ ้ ่ ืนอย่างเดียว ( In class learning ) แต่เด็กท่ีทำาบันทึกแบบนี้ ได้ก็จะเป็ นบุคคลแห่งการเรียนหรือการเรียนรู้ตลอดชีวิต Cluster หรือ Collocation เป็ นเทคนิคการเรียนหรือการสอนท่ีจะทำาให้เราจำาคำาศัพท์ได้อีกวิธี หน่ ึง คือ กลุ่มคำาศัพท์ท่ีมักจะไปด้วยกัน เช่น a guess
a comment a move a decision a start
Make
a mistake
an arrangement หรือ
Who Where
What Reading for Skim
Why
When
How
ครูสามารถนำาเทคนิคนีไ้ปช่วยให้นักเรียนจัดทำา Self Learning เพ่ ือทบทวนความรู้และจัดหมวด หมู่ของส่ิงท่ีเรียนไปเพ่ ือง่ายแก่การทำาความเข้าใจหรือจดจำา อีกวิธีหน่ ึงท่ีจะช่วยพัฒนาทักษะการฟั งและการพูดของนักเรียนคือครูพยายามพูดภาษาอังกฤษใน ห้องเรียนให้มากขึ้นหรือบ่อยๆโดยครูสามารถฝึ กฝนตนเองและนักเรียนโดยใช้ Sheet Language for Teachers และ Suggested Language for Students การท่ีครูกับนักเรียนพูดภาษาอังกฤษในชัน ้ เรียนเป็ นการฝึ กฝนสนทนาโต้ตอบจนเกิดความเคยชินและ สามารถนำาไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้ การพัฒนาทักษะการเขียนของนักเรียนก็เช่นเดียวกัน คือครูใช้เทคนิคการแก้คำาผิดของน ัก เรียนโดยใช้ตัวย่อแทนการท่ีครูจะแก้ไขด้วยปากกาแดงดังเช่นท่ีทำาอยู่ เป็ นการใช้คำาย่อเพ่ ือให้นักเรียนได้คิด ด้วยตนเองว่าผิดพลาดท่ีใด วิธีการนีค ้ ือ Correcting Mistakes วิธีการแก้ไขข้อผิดพลาดมี 3 แบบ คือ 1. Self correcting 2. Peer correcting 3. Teacher correcting ตัวย่อท่ีจะใช้ในการแก้ไขการเขียน เช่น WO = word order V.T. = Verb Tense P.S. = Part of speech S.V. = Subject Verb Agreement etc. สรุปการเรียนรู้ที่ได้จากอาจารย์อนิรุธ ชุมสวัสดิ ์ 1. ได้เรียนรู้คำาศัพท์ทางการศึกษามากมายและสมารถนำาไปใช้ในการอ่าน Text ต่างๆ ทางการศึกษา มากขึ้น 2. การทำา Learning Log หรือ Self Learning เป็ นการจุดประกายฝึ กการเรียนรู้ด้วยตนเอง ท่ีทำาให้เราได้รู้ว่าเรียนอะไรไปบ้างแล้ว และได้อะไรจากการเรียนรู้พร้อมวิธีการท่ีจะนำาไปพัฒนาต่ออย่างไร และมีข้อพกพร่องหรือส่ิงท่ีจะต้องศึกษาเพ่ิมเติมคืออะไร และเก็บรวบรวมไว้ในสมุดหรือ ธนาคารการ เรียนรู้ของเราเองและสามารถนำากลับมาใช้ประโยชน์ได้เม่ ือต้องการ 3. ฝึ กการวิเคราะห์โครงสร้าง คำา วลี ประโยคต่างๆ 4. ฝึ กการทำา Brochure เพ่ ือประชาสัมพันธ์หรือเผยแพร่ข้อมูลต่างๆ 5. ประทับใจอาจารย์ผู้สอนท่ีมีความรู้ความสามารถทัง้ด้านภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้อย่าง คล่องแคล่วพร้อมเป็ นแรงบันดาลใจและแบบอย่าง ให้กับผู้เรียนได้มีความมานะบากบัน ่ หมัน ่ ฝึ กฝนตนเอง อย่างสม่ำาเสมออย่าหยุดน่ิงเพราะการเรียนรู้ไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะในชัน ้ เรียนแต่สามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลาอีก ทัง้ยังเป็ นแบบอย่างท่ีดีในการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนของได้ดีอีกด้วย