Language Skill Listening ( การฟัง) ในหน่วยนี้จะเป็นการกล่าวถึงการฟังในระดับมัธยมศึกษาที่สอนเป็นภาษาที่สองหรือ ภาษาต่างประเทศ โดยการสอนจะต้องดูทั้งทฤษฎีว่าด้วยการใช้มรรควิธีและการพัฒนาเทคนิคและ สื่อการสอนสำาหรับสอนในห้องเรียน Morley ได้กล่าวไว้ว่าสิ่งสำาคัญสำาหรับทักษะการฟัง คือ การพัฒนากิจกรรมและสื่อการ สอน รวมถึง การพัฒนาตนเอง ( self-access) การพัฒนาการเรียนรู้การฟังด้วยตนเอง( self-study listening program) แต่ในส่วนของ Peterson กล่าวไว้วา่ ทักษะการฟังขึ้นอยู่กับแบบฝึกหัดและ กิจกรรมว่าจะแสดงออกอย่างไร เพื่อให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ โดยอาจจะพัฒนาแบบ bottom-up หรือ พัฒนาแบบ top-down ก็ได้ ต่อมาในช่วงประมาณ 30 ปีที่ผา่ นมา การเรียนรู้และการสอนทางด้านภาษาได้ เปลี่ยนแปลงไปในหลายทิศทาง โดยจะมีส่วนสำาคัญ 4 ส่วน คือ 1. การเรียนรู้ด้วยตนเอง 2. การฟังและการอ่านที่ไม่มีผู้มาตอบสนอง 3. การฟังอย่างเข้าใจแล้วจดจำา 4. ภาษาจริงๆที่ใช้ในการสื่อสารจริง ด้วยสิ่งต่างๆเหล่านี้ ต่อมาในช่วงประมาณปี 1970 ก็เริ่มให้ความสำาคัญกับทักษะการฟังและทักษะ อื่นๆมากขึ้นเพื่อว่าจะได้มีความเข้าใจในการเรียนภาษาที่สองได้มากขึ้นนั่นเอง ( Aural comprehension in S/FL acquisition became an important area of study ) และ นอกจากนี้มันก็จะไปสัมพันธ์ต่อการเรียนรูค้ ำาศัพท์ โครงสร้าง และการสื่อสารอื่นๆด้วย ในช่วงก่อนหน้านี้ การฟังมักจะเป็นการฟังแบบฟังฝ่ายเดียว เช่นการฟังการออกเสียง ฟังคำาศัพท์ ซึ่งเราเรียกการฟังแบบนี้ว่าการฟังแบบ ( Passive) โดยจะเน้นการฟังช้าๆ และสมำ่าเสมอ ซึ่งแตกต่างจากปัจจุบัน เพราะปัจจุบันจะเน้นการฟังอย่างเข้าใจ โดยสามารถแยกออกได้เป็น 4 แบบ ดังนี้ 1. การฟังแล้วพูดตาม ( Listening and Repeating ) 2. การฟังแล้วตอบคำาถาม( Listening and Answering Comprehension Questions) 3. การฟังเรื่องหรือข้อมูล ( Task Listening ) 4. การฟังแล้วคิดวิเคราะห์ตามและโต้ตอบกลับได้ ( Interactive Listening) ต่อมา Anderson และ Lynch ได้ให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับการฟังให้เกิดประสิทธิภาพไว้ว่า ถ้า จะให้ประสบผลสำาเร็จในการฟังจะต้องเป็นการฟังที่ต้องให้ผู้ฟัง ฟังแล้วสามารถตอบโต้ออกไป ได้ดว้ ย ซึ่งเราเรียกว่า active receptive skill ซึ่งจะเกิดประสิทธิภาพในการสื่อสารมากกว่าการฟัง ฝ่ายเดียวโดยไม่สามารถตอบโต้หรือมีปฏิกิริยาใดๆออกไปได้ ( การฟังแบบ Passive act)
ลักษณะการฟังสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ส่วนใหญ่ๆ คือ 1. Bidirectional Listening คือ การฟังเพื่อการสื่อสารสองทางโดยจะมีผู้พูดและผู้ฟังสื่อสารกัน โดยตรง เช่น เผชิญหน้ากันหรือพูดคุยโทรศัพท์กัน 2. Unidirectional Listening คือ การฟังเพื่อการสื่อสารทางเดียว คือมีเฉพาะนำาข้อมูลป้อนให้ผู้ ฟังอย่างเดียว เช่น การฟังเพลง ฟังข่าว ดูทวี ี ดูหนัง หรือการฝากข้อความกับโทรศัพท์ระบบ อัตโนมัติ ( ผูฟ้ ังไม่สามารถตอบโต้กลับได้) 3. Autodirectional Listening คือ การสื่อสารที่มีทั้งผู้พูดผู้ฟังและปฏิกิริยาตอบโต้ของกันและ กันครบถ้วน ผูท้ ี่เรียนภาษาที่สองหรือภาษาต่างประเทศจะต้องเรียนรู้การฟังทั้งหมดเพื่อการพัฒนาที่มี ประสิทธิภาพ หน้าที่ของการฟัง มี 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ 1. Transactional Listening คือ การใช้การฟังเพื่อการสื่อสารที่ถูกต้อง ทั้งโครงสร้าง ไวยากรณ์ และอื่นๆ โดยเน้นเพื่อการให้ข้อมูลต่างๆ เช่น การอธิบาย การบรรยาย การบอกเส้นทาง การ ขอร้อง การสั่ง เป็นต้น ซึ่งเราเรียกว่า business type/message oriented 2. Interactional Listening คือ การใช้การฟังเพื่อการสื่อสารที่เน้นตัวบุคคลมากกว่าการให้ ข้อมูล โดยมักจะเกี่ยวข้องกับเรื่องของอารมณ์ความรู้สึกและปฏิกิริยาต่างๆเข้าไปด้วย ซึ่งเรา เรียกว่า social type/person oriented กระบวนการที่ครูจะสอนการฟังสามารถดูได้จากชาร์ดนี้
Interactional Bottom-up
Top-down 2 1 4 3 Transactional
สรุปการพัฒนาทักษะการฟัง สามารถแยกออกได้ดงั นี้ 1. แบ่งตามข้อมูล - การสื่อสารข้อมูลสองทาง( bidirectional) - การสื่อสารทางเดียว ( unidirectional) - การสื่อสารหลายทาง ( autodirectional) 2. แบ่งตามหลักภาษาศาสตร์ - การใช้การฟังที่เน้นเพื่อการให้ข้อมูล ( Transactional) - การใช้การฟังที่เน้นตัวบุคคล( Interactional) 3. แบ่งตามกระบวนการ - Top-down - Bottom-up สิ่งที่สำาคัญในการฟัง ได้แก่ 1. Relevance คือ สิ่งที่บทเรียนการฟังนั้นต้องการสื่อ นัน ่ ก็คือ ข้อมูล ซึ่งสื่อสารแล้วจะต้อง ได้ผลลัพธ์ ( outcome) ที่สามารถนำาไปใช้ได้ 2. Transferability/applicability คือ การนำาเอาข้อมูลหรือผลลัพธ์ที่ได้จากการฟังมาใช้ซึ่ง ต้องใช้ได้ทั้งใน และนอกชั้นเรียนซึ่งเราเรียกว่า การนำามาประยุกต์ใช้นั่นเอง 3. Task Orientation คือ การนำาเอาข้อมูลไปใช้ในการทำากิจกรรม เช่นการฟังแล้วตอบ คำาถามจากข้อมูลนั้น หรือกิจกรรมอื่นๆเช่น เล่นเกม บทกลอน เรื่องขำาขันหรือเรื่องต่างๆที่ นักเรียนสนใจ บทสรุป ตั้งแต่ปี 1960 การให้ความสำาคัญกับความเข้าใจในการฟังของการเรียนและการสอนภาษา จะค่อนข้างมีน้อยมาก แต่ต่อมาภายหลังเริ่มให้ความสำาคัญต่อการฟังมากขึน้ โดยเริ่มมีการใช้ สื่อการสอนและวิธีการมากขึ้น จนกระทั่งในปัจจุบันจะให้ความสำาคัญต่อการฟังอย่างมากโดย ได้มีการเขียนหลักสูตรการสอนออกมาโดยมีทั้ง สื่อการสอนที่ดีขึ้นไม่ว่าจะเป็นหนังสือแบบ เรียน เทป และอื่นๆ โดยผู้เขียนได้กล่าวไว้ว่าการฟังนั้นจะประสบผลสำาเร็จได้ไม่ใช่ว่าจะฝึกได้ ภายในครึ่งชั่วโมงหรือ 3 ครั้งต่อสัปดาห์แล้วจะเข้าใจ แต่ต้องอาศัยการฝึกฝนอย่างต่อเนื่อง ทุกๆวันเพราะปัจจุบัน การฟังนัน้ ต้องมีเป้าหมาย ไม่ว่าจะเป็นเพื่อการเรียนในโรงเรียน การ สื่อสาร และการใช้ภาษาที่ถูกต้อง โดยจะต้องฟังทั้งแบบทางเดียว สองทาง หรือหลายทาง หรือ ฟังแล้วจัดกิจกรรมและการฝึกรูปแบบต่างๆได้ โดยต้องคำานึงถึงว่าต้องคลอบคลุมผลลัพธ์ หน้าที่ทางภาษา กระบวนการและการถ่ายทอดความคิดจากการฟังนั้นด้วย