นาย พงศ์ บว ร ค วะ ชา ติ เลขประจำาตัว 5001612026 US Inventions and Economics Growth “The Sawing Machine” การกำาเนิดขึ้นของจักรเย็บผ้าในระหว่างศตวรรษที่ 19 ทำาให้อุตสาหกรรมการผลิต วัตถุดิบเพื่อใช้ในการตัดเย็บผ้าเพิ่มขึ้น อาทิเช่น การปลูกพืชจำาพวกฝ้าย (Cotton) การทำาปศุสัตว์เพื่อทำาขนหรือหนังมาทำาเครื่องแต่งกายในมลรัฐต่างๆ อย่างไรก็ดีสหรัฐ อมริกาในขณะนั้นใช้การนำาเข้าวัตถุดิบต่างๆ เหล่านี้มาในประเทศและทำาการแปรรูปเป็น สินค้าออกขายมากกว่า เพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่ากับตัวผลิตภัณฑ์ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบแล้ว คุ้มกว่าต้นทุนแรงงานจากการผลิตขึ้นเอง ไอ แซ ก เมอ ร์ ริต ต์ ซิงเ กอ ร์ (Isaac Merritt Singer) นักประดิษฐ์ นักแสดง และผู้ประกอบการชาวอเมริกัน ผู้ทำาการออกแบบปรับปรุงส่วนสำาคัญของจักรเย็บผ้าและ เป็นผู้ก่อตั้งบริษัทซิงเกอร์จักรเย็บผ้า เกิดที่เมืองพิตส์ทาวน์ ซิงเกอร์ไม่ได้เป็นผู้ประดิษฐ์ จักรเย็บผ้า และเขาก็ไม่เคยอ้างตนเป็นผู้ประดิษฐ์ เมื่อเขาเห็นจักรครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1850 นั้นก็เป็นการประดิษฐ์ คิดค้นครั้งที่ 4 แล้ว จักรเย็บผ้าตัวก่อนของวอลเตอร์ ฮันท์ใช้วิธีเย็บแบบลูกโซ่ซึ่งมีข้อเสียที่ด้ายมักยุ่งพันกัน จักรของ ฮันท์ใช้การเย็บวิธีจับยึดเช่นเดียวกับของลีโรว์และบลอดเจตต์ ทีซ่ ิงเกอร์ได้ทำาการปรับปรุงแก้ไขขึ้นมาใหม่ ในปี ค.ศ. 1856 ผู้ผลิตต่างๆ ต่างฟ้องร้องซึ่งกันและกันว่าเป็นผู้ละเมิดลิขสิทธิ์จักรเย็บผ้าได้มาพบกันที่นิวยอร์ก เพื่อติดตามคดี มีผู้เสนอว่าแทนที่จะฟ้องร้องกันทำาไมไม่เอาลิขสิทธิ์มารวมกัน ทำาให้เกิด "ลิขสิทธิ์กองรวม" (Patent pool) ขึ้นเป็นครั้งแรก เป็นกระบวนการซึ่งเอื้อให้มีการพัฒนาเครื่องจักรกลที่ซับซ้อนได้ โดยไม่ต้องห่วงกฎหมาย ลิขสิทธิ์ ทั้งหมดตกลงและจัดตั้งบริษทั สหการจักรเย็บผ้า บริษทั ไอ เอ็ม ซิงเกอร์ได้ผลิตจักรเย็บผ้าได้ 2,564 ตัวในปี เดียวกันและ 13,000 ตัวในปี พ.ศ. 1860 ทีโ่ รงงานใหม่ถนนมอตต์ นิวยอร์ก จักรเย็บผ้าที่ผลิตในช่วงแรกเป็นจักรประเภทอุสาหกรรมการตัดเย็บ จักรขนาดเล็กส่วนบุคคลสำาหรับใช้ในงานตลาด ยุโรป สร้างโรงงานในอังกฤษใกล้เมือง กลาสโกว์ นับเป็นเป็นการดำาเนินธุรกิจข้ามชาติเป็นครั้งแรกของอเมริกาโดยมี ตัวแทนจำาหน่ายในปารีสและริโอเดอจาไนโร การเจริญเติบโตในด้านอุตสาหกรรมเครื่องแต่งกายนี้ ทำาให้การพัฒนาการด้านการผลิตหลากหลายรูปแบบ นอกจากการผลิตนวัตกรรมจักรเย็บผ้าแล้ว การผลิตวัตถุดิบเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมดังกล่าวก็มีเพิ่มมากเช่นกัน ในมลลรัฐจอร์เจียมีการทำาไร่ฝ้ายขนาดใหญ่เพื่อป้อนวัตถุดิบให้กับโรงงานผลิตผ้าต่างๆ ก่อนที่จะถูกนำามาแปรรูป ใน ระดับอุตสาหกรรมขนาดเล็ก ช่วงปลายศตวรรษได้มีผู้ยึดอาชีพในการประดิษฐ์เสื้อผ้าเครื่องแต่งกายในรูปแบบที่ต่าง ไปจากเดิม ก่อนใช้เพียงปกปิดร่างกายและใช้สอยในโอกาสต่างๆ เท่านั้น ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ผลงานทางด้าน ศิลปะ ดีไซน์เนอร์ที่มีชื่อเสียงหลังจากนั้น เช่น หลุยส์ วิตตอง (Louis Vuitton), โคโค่ ชาแนล (Coco Channel) เป็นต้น และสิง่ ที่สำาคัญที่สุดจากการพัฒนาอุตสาหกรรมเย็บผ้า คือ การผลิตเสื้อผ้าสำาเร็จรูป (Ready-made clothes) ซึ่งได้รับการตอบรับจากผู้คนเป็นอย่างดี เนื่องจากสะดวกและประหยัดเวลา ไม่ต้องทำาการวัดตัวและรอการตัดเย็บด้วย มือเป็นเวลานาน อีกทั้งยังสามารถเลือกซื้อเสื้อผ้าในแบบเดียวกันได้เป็นจำานวนมาก ทำาให้ต้นทุนการผลิตและราคา จำาหน่ายลดลงอีกด้วย