Headguard Law In Vietnam

  • Uploaded by: Nattapol Kengkuntod
  • 0
  • 0
  • May 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Headguard Law In Vietnam as PDF for free.

More details

  • Words: 921
  • Pages: 8
1

กฎหมายบังคับสวมหมวกนิรภัยเมื่อขี่รถจักรยานยนตในเวียดนาม และผลกระทบของกฎหมายฉบับนี้ตอเด็ก ๆ โดย อารอน เพอรวิน, โจนาธาน พาสมอร, เมอรแจม ซีดิก, ไทเลอร แมคคินลีย, หงวน ธี ฮอง ทู และหงวน ฟวอง นัม Highlight

ประเทศเวียดนามมีอัตราการแบกรับภาระการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุบนทองถนนที่สูง ในป ค.ศ. 2007 มีผูเสียชีวิต 12, 800 ราย หรือ 15 รายตอประชากร 100, 000 คน ตามขอมูลสถิติของทางการ แหลงขอมูลอื่น ๆ แนะวาตัวเลขของทางการอาจต่ํากวาตัวเลขของผูเสียชีวิตและบาดเจ็บจริง ๆ นั่นก็ คือ ผูที่เสียชีวิตมีมากกวาตัวเลขทางการอีกราวรอยละ 30 และมีผูบาดเจ็บอีกราวรอยละ 90 บทนํา ประเทศเวียดนามมีอัตราการแบกรับภาระการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุบนทองถนนที่สูง ในป ค.ศ. 2007 มี ผูเสียชีวิต 12, 800 ราย หรือ 15 รายตอประชากร 100, 000 คน ตามขอมูลสถิติของทางการ แหลงขอมูลอื่น ๆ แนะวาตัวเลขของทางการอาจต่ํากวาตัวเลขของผูเสียชีวิตและบาดเจ็บจริง ๆ นั่นก็คือ ผูที่เสียชีวิตมีมากกวา ตัวเลขทางการอีกราวรอยละ 30 และมีผูบาดเจ็บอีกราวรอยละ 90 ขอมูลลาสุดของเดือนสิงหาคม ป 2008 มีจํานวนยานพาหนะที่ไดลงทะเบียนกับทางการเวียดนามกวา 26 ลาน คัน และรอยละ 95 คือรถมอเตอรไซคสองลอ มีรถมอเตอรไซคใหมขับขี่บนทองถนนเกือบ ๆ 9, 000 คันตอวัน ประมาณการวารอยละ 60 ของการเสียชีวิตบนทองถนนเกิดขึ้นกับผูขับขี่และผูโดยสาร หมวกกันน็อคสําหรับรถจักรยานยนตมีประสิทธิภาพสูงมากในการเขาแทรกแซงกับ (intervention) ความ ปลอดภัยบนทองถนน ซึ่งชวยลดความบอยและความรุนแรงในการบาดเจ็บที่ศีรษะ อันเปนผลมาจากการชนกัน บนทองถนน ตามการทบทวนของโคเครน (Cochrane review) เมื่อไมนานมานี้ การใชหมวกกันน็อคลดความ เสี่ยงการบาดเจ็บจากการใชมอเตอรไซคที่รอยละ 69 และการเสียชีวิตจากใชมอเตอรไซคที่รอยละ 42

2

ในป ค.ศ. 2001 การสวมหมวกกันน็อคไดกลายเปนคําสั่งในประเทศเวียดนามเพื่อบังคับใหผูขับขี่รถจักยานยนต ทุกคนรวมถึงผูโดยสารซอนทายเมื่อใชทางรถยนตในบางแหง รวมถึงทางหลวงและทางที่ประกาศบังคับอื่น ๆ แตโชคราย มีการบังคับใชกฎหมายนี้อยูในวงจํากัด ดวยเหตุดังนี้ประสิทธิผลก็เลยต่ํา ภายใตกฎหมายฉบับนี้ การสวมหมวกกันน็อคถูกประมาณการวามีผูใชเพียงรอยละ 30 โดยเฉลี่ย แตก็มีสัดสวนขึ้น ๆ ลง ๆ อยางสูง ซึ่ง ขึ้นอยูกับชวงเวลาของวันและชนิดของถนน นับแตกฎหมายสวมหมวกกันน็อคถูกบังคับใช ผูเกี่ยวของมากมายได พยายามสรางความตระหนัก และล็อบบี้ (lobby) ใหเกิดกฎหมายที่จะไดครอบคลุมผูขับขี่และผูโดยสารทุกคน และกับทุกชนิดของถนน วันที่ 27 มิถุนายน ค.ศ. 2007 รัฐบาลของประเทศเวียดนาม ไดออกมติคณะรัฐมนตรีฉบับที่ 32 ซึ่งเปนพระราช กฤษฎีกาอันสงผลใหเปนขอบังคับสําหรับผูขี่มอเตอรไซคและผูโดยสารในเวียดนามตองสวมหมวกกันน็อคเมื่อใช ถนนทุกประเภทตั้งแตที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 2007 เปนตนไป แมวากฎหมายสวมหมวกกันน็อคฉบับใหมนี้ไมมี ขอยกเวนเฉพาะเจาะจงสําหรับเด็กก็ตาม มันก็ไมไดมีเนื้อหาตอเนื่องกับกฎที่มีอยูอยางเต็มที่ เหตุเพราะภายใต มาตราของคํา สั่งเพื่อการแทรกแซงทางการบริหารจัดการของเวียดนาม (Vietnam’s Ordinance for Administrative Sanctions) เด็กอายุต่ํากวา 14 ปไมอาจจะถูกแทรกแซง รวมถึงบทลงโทษตาง ๆ สําหรับการที่ ไมสวมหมวกกันน็อค สําหรับเด็กอายุ 14 ป แตไมเกิน 16 ป สามารถถูกตักเตือน และสําหรับเยาวชนอายุ 16 ถึง 18 ป สามารถถูกปรับ ได แตจะถูกปรับเปนจํานวนเงินในอัตรากึ่งหนึ่งของผูใหญ กฎหมายในปจจุบันไมไดรับรองบทลงโทษเมื่อมีการ ละเมิดเกิดขึ้นกับผูใหญที่รับผิดชอบดูแลเด็ก ดังเชนมาตรการที่สามารถประยุกตใชในประเทศอื่น ๆ ได เชนใน ออสเตรเลีย กัมพูชา และมาเลเชีย ดวยขอจํากัดเหลานี้ การใชหมวกกันน็อคในเด็กและเยาวชนก็เลยไมถูกบังคับ ใชในทางปฏิบัติ บททาทายหลายตอหลายเรื่องในการใชหมวกกันน็อคจึงมีอยูไมเพียงแตในเรื่องของการออกกฎหมายเทานั้น ไม นานนักหลังจากกฎหมายการสวมหมวกกันน็อคไดรับการประกาศใช สื่อเริ่มเผยแพรรายงานตาง ๆ จากผูฏิบัติ งานดานการแพทยในทองถิ่นหลายคน โดยคนเหลานี้ตั้งคําถามกับการสวมหมวกกันน็อคในเด็ก และอางวาการ สวมหมวกกันน็อคสามารถกอใหเกิดการบาดเจ็บที่คอได ขณะที่ผูเชี่ยวชาญในเวียดนามลายคนโตกลับคํากลาว นี้วาขาดหลักฐานสนับสนุน และการที่พวกเขากลาวเชนนั้นก็เพราะวาพวกเขาอยูฝายตรงกันขามกับผลวิจัยที่ตีวง กวางในเรื่องประสิทธิผลของหมวกกันน็อค พอแมผูปกครองจึงเริ่มมีความกลัวที่จะบังคับบุตรหลานของตนสวม หมวกกันน็อค High quality helmets are manufactured and available in Viet Nam for both adults and children. This research, conducted by the Asia Injury Prevention Foundation on behalf of the Viet Nam Helmet Wearing Coalition, confirms that limited use of helmets among children is a problem in the country and explores its contributing factors. หมวกกันน็อคคุณภาพสูงที่ถูกผลิตและหาไดทั่วไปในเวียดนามมีสําหรับทั้งเด็กและผูใหญ ผลงานวิจัยชิ้นหนึ่ง ซึ่ง ทําการวิจัยโดย กองทุนการปองกันการบาดเจ็บแหงเอเชีย (Asia Injury Prevention Foundation) ซึ่งทําในนาม

3

ของสหภาพการสวมหมวกกัน น็อคแหงเวียดนาม (Viet Nam Helmet Wearing Coalition) ยืนยันวา การใช หมวกกันน็อคที่จํากัดในเด็ก ๆ เปนปญหาหนึ่งของเวียดนาม และเปนสิ่งที่นําไปสูปจจัยเกื้อหนุนอื่น ๆ วิธีวิจัย งานวิจัยนี้ไดทําการสํารวจทองถนนและประชากรแบบสุมในเมืองใหญสี่เมืองหลักของประเทศเวียดนาม ดวยทีม นักศึกษาที่ไดรับการฝกอบรม 10 คนแบงออกเปนสามทีม ทํางานวิจัยชิ้นนี้ในชวงสุดสัปดาหของเดือนเมษายน 2008 ทําการสํารวจ มีผูตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4, 189 รายในเมืองสี่เมือง (953 รายจาก ฮานอย, 904 รายจาก โฮจิมินห, 994 รายในคันโทห (Can Toh) และ 1, 338 ราย ในดานัง) ผูสํารวจพยายามสัมภาษณผูตอบ แบบสอบถามแบบสุมสํารวจ 1, 000 ราย โดยการกระจายอยางเทาเทียมระหวางเพศและกลุมอายุสามกลุม นั่น คือ 18-24 ป 25-40 ป และมากกวา 41 ปขึ้นไป แตการสํารวจก็ไดรับความรวมมือจากใครก็ตามที่อยากตอบ แบบสอบถาม คําถามหลายขอมีตั้งแตขอมูลในเรื่องสถิติจํานวนประชากร ความรูเกี่ยวกับการใชหมวกกันน็อคที่ถูกตอง และ ขอคิดเห็นในเรื่องการใชหมวกกันน็อคในเด็ก ราวรอยละ 44 ของผูตอบมีบุตร (อยูในชวงรอยละ 36-54) สําหรับ เปาหมายของการสํารวจ กลุมอายุไดรับการนิยามดังนี้ เด็กออนคือ เด็กอายุต่ํากวา 6 เดือน เด็กวัยหัดเดินคือเด็ก อายุมากกวา 6 เดือนขึ้นไป แตอายุต่ํากวา 2 ป และกลุมเด็ก ๆ คือ อายุมากกวา 2 ปแตนอยกวา 14 ป ในแตละเมือง สี่แยกในเมืองหนึ่งแยกและสี่แยกชนบทหนึ่งแยกถูกเลือกแบบสุมและไดรับการสังเกตโดยทีมผู สังเกตการณหกคนตั้งแตเวลา 08:30 ถึงเวลา 09:30 น. และระหวางเวลาตั้งแต 20:00 ถึง 21:00 น. ในวัน ธรรมดาหนึ่งวันและวันหยุดสุดสัปดาหอีกหนึ่งวัน โดยมีขอมูลเพิ่มเติมคือ สี่แยกที่สุมสํารวจภายในระยะ 100 หลาจากโรงเรียนแหงหนึ่งถูกสังเกตในวันธรรมดาระหวางเวลา 15: 30 ถึงเวลา 16:30 น. การเฝาวังเกตในชนบท ในเมืองคันโทห และดานังนั้นไดรับการบันทึกโดยระบบวิดีโอ และไดรับการวิเคราะหขอมูลในเวลาถัดมา มีการสังเกตการณขางถนนเปนจํานวนทั้งสิ้น 18, 734 ครั้ง ในชวงเวลาดังกลาวขางตน (5, 920 ครั้งในฮานอย, 5407 ครั้งในโฮจิมินห, 3644 ครั้งในคันโทหและ 3,763 ครั้งในดานัง) การทําตารางแบบขวางถูกจัดทําขึ้นเพื่อเปรียบเทียบผลตอบรับจากการสํารวจที่ไดมาจากพอแมผูปกครองและผู ที่ไมไดเปนพอแมผูปกครอง คา χ² ถูกคํานวณโดยการใช Stata 9.2 (Statacorp LP, College Station, TX, United States of America) ระดับนัยความสําคัญถูกตั้งไวที่ 0.05 ผลการวิจัย การเฝาสังเกตอยูขางถนน ผูใหญและเด็ก ผลที่ไดในเรื่องการใชหมวกกันน็อคแตกตางกันอยางชัดเจน โดยเฉลี่ย การใชหมวกกันน็อคใน ผูใหญที่มากที่สุด ที่เห็นก็คือ ที่ดานัง (รอยละ 99) ตามมาดวย คันโทห (รอยละ 98) โฮจิมินห (รอยละ 94) และ ฮานอย (รอยละ 90)

4

การใชหมวกกันน็อคในเด็กอายุต่ํากวา 7 ป และ 8-14 ป อยูที่รอยละ 34 และรอยละ 23 ตามลําดับในฮานอย ใน โฮจิมินหซิตี้ ตัวเลขอยูที่รอยละ 28 และ รอยละ 52 ตามลําดับ ในคันโทห ตัวเลขอยูที่รอยละ 53 และรอยละ 54 ตามลําดับ สวนที่ดานัง การเฝาสังเกตไดกระทําเพียงแคกับเด็กที่ดูอายุต่ํากวา 14 ป (รอยละ 30)

แผนภาพที่ 1 สัดสวนจํานวนที่ไดรับการเฝาสังเกตของผูใหญเด็กที่สวมหมวกกันน็อคในเมืองใหญสี่เมืองใน ประเทศเวียดนาม ป 2008 การสํารวจผูใชรถใชถนน ผูตอบแบบสอบถามถูกถามเกี่ยวกับความรูของพวกเขาในเรื่องบทลงโทษที่ถูกปรับใชภายใตกฎการสวมหมวก กันน็อค โดยเฉลี่ยคือรอยละ 42 (อยูในขายรอยละ 35-54) บงชี้วาบทลงโทษไมไดปรับใชกับผูข่ีจักรยานยนตเมื่อ เด็ก ๆ ไมไดสวมหมวกกันน็อค ตัวเลขอยูที่รอยละ 32 (อยูในขายรอยละ 27-43) ไมรูในเรื่องบทลงโทษ

แผนภาพที่ 2 ผลการสํารวจในเรื่องความรูที่เกี่ยวกับการมีอยูของบทลงโทษ พอแมผูปกครองของเด็กอายุต่ํา กวา 14 ป ที่ไมไดสวมหมวกกันน็อค ในประเทศเวียดนาม ป 2008

5

ผูตอบแบบสอบถามยังถูกถามอีกวาพวกเขาเชื่อวาหมวกกันน็อคปลอดภัยสําหรับเด็ก ๆ ในวัยตาง ๆ หรือไม คําตอบยืนยันที่ไดมีจํานวนเพิ่มขึ้น กับอายุของเด็กและเขาขายรอยละที่ 21-40 สําหรับเด็กออน รอยละ 36-52 หรับเด็กวัยหักเดิน และสําหรับเด็ก ๆ อยูที่รอยละ 77-85 เมื่อผูตอบแบบถูกถามวาเด็ก ๆ ควรสวมหมวกกันน็อคหรือไม ผูตอบแบบสอบถามตอบในเชิงคลายกับคําถาม กอนหนา คือคําตอบยืนยันอยูในขายตั้งแตรอยละ 13-23 สําหรับเด็กออน สําหรับเด็กวัยหัดเดินตัวเลอยูที่รอยละ 16-29 และรอยละ 53-67 สําหรับเด็ก ๆ ความแตกตางที่มีนัยสําคัญมีอยูเมื่อเปรียบเทียบระหวางสถานที่ที่ทํา การสํารวจ คําถามที่ถูกถามโดยแยกเปน หมวกกันน็อคขนาดที่เด็กใส เด็ก ๆ ควรสวมหมวกกันน็อ กลุมอายุ ปลอดภัยไหม คไหม Questions asked by age group Are child-sized helmets safe? (%) Should children wear helmets? (%) < 6 months (อายุนอยกวา 6 เดือน) Hanoi

29.5*

17.8*

Ho Chi Minh City

21.2*

13.3*

Da Nang

40.4

23.4

Can Tho

34.5*

13.8*

51

25.8

Ho Chi Minh City

35.5*

19.5*

Da Nang

51.8

28.9

Can Tho

45.4*

15.5*

Hanoi

85.1

65.1

Ho Chi Minh City

77.3*

52.6*

Da Nang

82.5

60.1*

Can Tho

82.1

66.6

6 months to 2 years (อายุ 6 เดือนถึง 2 ป) Hanoi

2–14 years (อายุ 2 ปถึง 14 ป)

ตารางที่ 1 คําตอบยืนยันตอคําถามในเรื่องการใชหมวกกันน็อคในเด็ก โดยผูตอบที่มีบุตรหลานกลุมอายุ แตกตางกันในเมืองใหญ 4 เมือง ในประเทศเวียดนาม ป 2008

6

ผูตอบแบบสอบถามที่ยืนยันวาบุตรหลานของพวกเขาไมควรสวมหมวกกันน็อคถูกถามตอเพื่อใหอธิบายเหตุผล หลักในเรื่องความคิดเห็นของพวกเขา สวนใหญตอบวา หมวกกันน็อคเพิ่มความเสี่ยงในการบาดเจ็บที่คอในเด็ก กลุมอายุตาง ๆ แบบตอบที่ใหเหตุผลปฏิเสธการใชหมวกกันน็อคในเด็กเกิดขึ้นบอยครั้งในเด็กออน (รอยละ 67) และตัวเลขก็ลดหลั่นกันไปตามกลุมอายุ

แผนภาพที่ 3 ผลการสํารวจในเรื่องเหตุผลของพอแมผูปกครองที่ไมบังคับใหบุตรหลานของตนสวมหมวก กันน็อค ในประเทศเวียดนาม ป 2008 การรับรูของพอแมผูปกครองถูกนํามาเปรียบเทียบกับผูที่ไมไดเปนพอแมดวยในเรื่องของการใชหมวกกันน็อคใน เด็ก ๆ พอแมผูปกครองแสดงความคิดเห็นที่แสดงใหเห็นถึงความรูในเรื่องนี้นอยกวาความคิดเห็นของผูที่ไมได เปนพอแมในการเชื่อมโยงกับการใชหมวกกันน็อคในเด็กอายุต่ํากวา 14 ปอยางตอเนื่อง ในโฮจิมินหซิตี้ พอแมผูปกครองเชื่อวาเด็กๆ ควรจะสวมหมวกกันน็อคนอยกวาบุคคลที่ไมไดเปนพอแมราวรอยละ 10 ขอมูลที่มีอยูชี้ใหหลักฐานในการรับรูในเรื่องการใชหมวกกันน็อคในเด็กวัยหัดเดิน ในฮานอย พอแมเชื่อวา เด็กๆวัยหัดเดินควรสวมหมวกกันน็อค นอยกวาบุคคลที่ไมไดเปนพอแมราวรอยละ 12 ในขณะที่พอแมผูปกครอง และผูที่ไมไดเปนพอแมในเมืองคันโทห มีการรับรูในทํานองเดียวกันในเรื่องการใชหมวกกันน็อคในเด็กวัยหัดเดิน บทอภิปรายถกเถียง การออกกฎหมายหมวกกันน็อคฉบับใหมในเวียดนามนี้ สงผลในเรื่องการเพิ่มอยางมีหลักฐานชี้ชัดในเรื่องการใช หมวกกันน็อค แตก็เพียงในกลุมของผูใหญ การสวมหมวกกันน็อคในเด็กยังคงอยูในระดับต่ํา ความแตกตางที่มี หลักฐานแสดง ระหวางผูใหญและเด็ก ในเรื่องการสวมหมวกกันน็อคไดรับการเฝาสังเกตในการศึกษาครั้งนี้

7

การใชห มวกกัน น็ อ คในเด็ กตามที่ไ ดสัง เกตไมไ ดฉายภาพทั ศ นคติ แ ละความคิ ด เห็ น ที่ แ สดงออกโดยพ อ แม ผูปกครองมีความสําคัญอยางยิ่ง ในระหวางการสัมภาษณ โดยเฉลี่ยรอยละ 82 ของผูปกครองที่ไดถูกสํารวจ เห็น ดวยวาหมวกกันน็อคปลอดภัยสําหรับเด็กอายุตั้งแต 2 ถึง 14 ป และตัวเลขรอยละ 61 เห็นดวยวาเด็กในชวงอายุ วัยนี้ควรสวมหมวกกันน็อคเมื่อเดินทางโดยรถจักยานยนต ขอเท็จจริงที่วา พอแมผูปกครองสวนใหญ ไมรูวาพวกเขาอยูในขายรับโทษหรือเชื่อวาพวกเขาอยูในขายที่ตองรับ โทษ หากวาบุตรหลานของพวกเขาไมสวมหมวกกันน็อค โดยแนะวา ความเชื่อของพวกเขาในเรื่องความเสี่ยงที่จะ ทําใหเกิดการบาดเจ็บที่คอมีมากเกินกวาความกลัวตอบทลงโทษและการบังคับใชกฎหมาย นี่ก็เปนขอชวยเสริม ในอัตราการใชหมวกกันน็อคในเด็กที่ต่ํา สิ่งนี้แสดงใหเดนชัดเจนในเรื่องความสําคัญของความพยายามอยาง ตอเนื่อง เพื่อปดเปามายาภาพในเรื่องการบาดเจ็บที่คอในการรณรงคการสวมหมวกกันน็อคในอนาคต ผลที่ไดใน เรื่ อ งมายาคติ ใ นการใช ห มวกกั น น็ อ คในเด็ ก นี้ ถู ก สนั บ สนุ น ต อ เมื่ อ พ อ แม แ ละผู ที่ ไ ม ไ ด เ ป น พ อ แม ถู ก นํ า มา เปรียบเทียบ พอแมคอนขางเชื่อวาเด็กและเด็กวัยหัดเดินไมควรสวมหมวกกันน็อคมากกวาบุคคลที่ไมไดเปนพอ แม องคกรระหวางประเทศหลายหนวยงาน รวมทั้งกองทุนปองกันการบาดเจ็บแหงเอเชีย (Asia Injury Prevention Foundation) องคการยูนิเซฟ (United Nations Children’s Fund (UNICEF) และองคการอนามัยโลก (World Health Organization-WHO) ปจจุบันนี้กําลังใหการสนับสนุนรัฐบาลเวียดนามในความพยายามโปรโมตการใช หมวกกันน็อคในเด็กผานกลไกอันหลากหลาย รวมไปถึงการสนับสนุนเชิงสาธารณะ (Advocacy) การตลาดเพื่อ สังคม และการสนับสนุนการสรางสมรรถนะเพื่อเพิ่มพูนความปลอดภัยบนทองถนน ในฐานะที่เปนสวนหนึ่งในแนวการทํางานเชิงรวมมือกัน คณะทํางานดานกฎหมายไดถูกจัดตั้งขึ้นจากตัวแทน หนวยงานรัฐบาลเวียดนามหลายหนวยงาน ดวยการสนับสนุนขององคการอนามัยโลก เปาหมายเฉพาะของ คณะทํ า งานนี้ ก็ คื อ การประกาศใช ก ลไกทางกฎหมายที่ จ ะอํ า นวยให บ ทลงโทษถู ก นํ า ไปปรั บ ใช กั บ พ อ แม ผูปกครองคนใดหรือผูใหญคนใดก็ตามที่พาเด็กโดยสารไปกับตนเมื่อใชมอเตอรไซคแตไมสวมหมวกกันน็อคให เด็ก การกระจายขอมูลในวงกวางในเรื่องมายาคติที่วาการสวมหมวกกันน็อคเปนสาเหตุของการเสี่ยงในการบาดเจ็บ ที่คอ และการยอมรับมายาคติเชนนี้โดยพอแมผูปกครองชี้ใหเห็นขอเท็จจริงที่วา ผูเกี่ยวของไมสามารถที่จะ จัดการกับเรื่องโจษจันเหลานี้ไ ดอยางมีประสิท ธิผล ดวยเหตุนี้ องคการอนามัยโลก กองทุนการปองกันการ บาดเจ็บแหงเอเชีย และองคการยูนิเซฟ ไดเพิ่มการสนับสนุนเชิงสาธารณะเพื่อการใชหมวกกันน็อคในเด็ก ผาน สื่อและผานทางการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการสําหรับเจาหนาที่อาวุโส และนักกฎหมายระดับชาติ การรณรงคลาสุด ของสหภาพการสมหมวกกันน็อคแหงเวียดนาม (Viet Nam Helmet Wearing Coalition) ไดพุงเปาไปที่ ความสําคัญที่ตองสวมหมวกกันน็อคใหเด็ก งานศึกษาชิ้นปจจุบันยังจํากัดในเรื่องขอมูลจากทางโรงพยาบาลที่เกี่ยวกับการตายและการบาดเจ็บที่ศีรษะใน เด็ก ขอมูลจากทางโรงพยาบาลซึ่งถูกแยกตามอายุ พึ่งจะไดมีใชเมื่อเดือนพฤษภาคม ป 2008 ดังนั้นผลกระทบที่ เกิดขึ้นกอนหนานั้นในเรื่องกฎหมายการใชหมวกกันน็อคในเด็กจึงยังไมสามารถประเมินได เมื่อใดขอมูลจาก

8

การศึกษามีใหใชได ขอมูลก็จะชวยนํามาซึ่งเครื่องมือเพื่อการสนับสนุนเชิงสาธารณะที่เต็มเปยมไปดวยพลัง เพื่อ สนับสนุนการเปลี่ยนแปลงดานกฎหมายในเรื่องการใชหมวกกันน็อคในเด็ก ขอมูลดังกลาวถูกคาดหวังอยางมาก ที่จะปดเปามายาคติที่ยังไมไดคนพบขอเท็จจริงแหงความเสี่ยงในการบาดเจ็บที่คอในเด็กเมื่อสวมหมวกกันน็อค บทสรุป ทั้งที่ยังมีความทาทายบางอยางคงอยู การลงมือสูภาคปฏิบัติในเรื่องกฎหมายหมวกกันน็อคไดกลายเปนหลัก ไมลประวัติศาสตรของเวียตนามในเรื่องนโยบายความปลอดภัยบนทองถนน บทเรียนมากมายสามารถเรียนรูได จากประสบการณที่มีอยูจนถึงปจจุบัน ไมเพียงแคเพื่อการเติมชองโหวทางกฎหมายที่ยังมีอยูในปจจุบัน แตยัง เพื่อประเทศรายไดนอยและปานกลางในภูมิภาคที่มอเตอรไซคเปนตัวแทนแบบแผนความนิยมในการคมนาคม ขนสงของทั้งผูใหญและเด็ก การลงสูภ าคปฏิบั ติข องกฎหมายหมวกกัน น็อคในเวียดนามควรที่จะไดรับการประเมินตอเปนระยะ ๆ และ ประสิทธิผลของกฎหมาย, โดยเฉพาะอยางยิ่งเพื่อเด็ก ๆ, ควรถูกประเมินเปนชวง ๆ เพื่อใหชองโหวที่มีอยูจะไดถูก ถมปดทีละเล็กทีละนอย แหลงที่มา http://www.who.int/bulletin/volumes/87/5/08-057109/en/index.html

Related Documents

Vietnam In Foreigners Eyes
November 2019 13
Truck In Vietnam
May 2020 13
Tvxq In Vietnam
November 2019 13
American Crimes In Vietnam
November 2019 18

More Documents from "lawrence"