สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
ระบบการเลือกตั้งและระบบรัฐสภาของประเทศเยอรมนี
เนื้ อหาโดยสังเขป
• อารัมภบท: สภาพทางภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ และ ประวัติศาสตร์ • ระบอบการปกครอง ้ • ระบบการเลือกตัง • กฎหมายเกี่ยวกับพรรคการเมือง พรรคการเมือง และผลการเลือกตัง ้ ทัว ่ ไปในปีค.ศ. 2005
สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
ข้อมูลเบื้องต้นเกีย ่ วกับประเทศเยอรมนี: สภาพทางภูมศ ิ าสตร์ เศรษฐกิจ และประวัตศ ิ าสตร์
ประเทศเยอรมนี • ประชาการ: 82 ล้านคน • เมืองหลวง: เบอร์ลิน • ภาษาประจำาชาติ: ภาษาเยอมัน • ประธานาธิบดี: นายโฮร์สต์ โคห์ เลอร์ • นายกรัฐมนตรี: แองเกลา มาร์เกล • จำานวนรัฐ: 16 รัฐ
Source: INTER-NATIONES: Übersichten: Die Bundesrepublik Deutschland und Ihre Laender
ภูมป ิ ระเทศและภูมอ ิ ากาศ
Source: INTER-NATIONES: Übersichten: Die Bundesrepublik Deutschland und Ihre Laender
• ประเทศเยอรมนี แบ่งตามสภาพ ภูมิประเทศได้เป็ น 6 ส่วน ได้แก่: - ที่ราบลุ่มทางตอนเหนื อ; - แนวเทือกเขาตอนกลาง; - เขตเนิ นเขาและทีร ่ าบสูงทางตะวัน ตกเฉี ยงใต้; - เนิ นเขาและแหลมคาบสม่ทรทาง ตอนใต้ที่ตุอเนื่ องจากเทือกเขา แอลป์ - ไหลุเทือกเขาบาวาเรียนแอลป์ ทาง ตอนใต้ • ลักษณะอากาศในแต่ละพื้นที่ขึ้นอยู่กับ เขตภูมิอากาศที่ภูมิประเทศเหล่านั้นตั้ง อยู่ แต่โดยรวมก็ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ของอุณหภูมิมากนัก ประเทศเยอรมนี มี ฝนตกตลอดทั้งปี ลักษณะอากาศแบบ ชายทะเลแถบพื้นที่เขตตะวันตกเฉียง เหนื อจะค่อยๆแปรเป็ นภูมอ ิ ากาศแบบ พื้นทวีปในเขตตะวันออกและตะวันออก เฉียงใต้ อุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปี อยู่ท่ี 9 องศา เซลเซียส
แม่น้ าและเมืองส้าคัญ แมุน้ าสายหลักๆในเยอรมนี ได้แกุ แมุน้ า ดานูบ แมุน้ าเอลเบ แมุน้ า โอเดอร์ แมุน้ า เวเซอร์ และแมุน้ าไรน์
เมื่องที่ใหญ่ท่ีสุด เบอร์ลิน 3,471,418 เมืองใหญ่อ่ ืนๆ
ที่มา: INTER-NATIONES: Übersichten: Die Bundesrepublik Deutschland und Ihre Laender
ฮัมบวร์ก,
1.770.291
มิวนิ ค,
1.294.680
โคโลญจน์
991.395
แฟรงเฟิ ร์ต 667.468 สตุตการ์ต ดอร์ตมุนด์, เอสเซน ดุสเซนดอล์ฟ เบรเมน ฮันโนเวอร์ Duisburg
597.158 587.137 582.764 578.326 548.477 518.154 495.668
พื้ นที่ในเยอรมนี
53 ,5% พื้ นที่เกษตรกรรม
1,8 %
12,3% อาคารสิ่ง ก่อสร้าง
ถนน
ทะเลสาป แม่น้ า
และพื้ นที่สี
2
5% , 9 ป่ าไม้
ทรัพยากรธรรมชาติ & พื้ นที่อุตสาหกรรม
ถ่านหิน ถ่านหิน เกลือ เขต อุตสาหกรรม ขนาดใหญ่ • นำ้ามัน • • • •
Source: INTER-NATIONES: Übersichten: Die Bundesrepublik Deutschland und Ihre Laender
เศรษฐกิจ • • • •
•
เยอรมนี ถือหนึ่งในประเทศทีม ่ ีระบบเศรษฐกิจก้าวหน้าจาก เทคโนโลยีมากที่ส่ดแหุงหนึ่งของโลก รองจากสหรัฐอเมริกาและ ญี่ปุ่น. มีการกระจายการพัฒนาทีส ่ มด่ลทัว ่ ทัง ้ ภูมิภาค การกระจายรายได้ทัว ่ ทัง ้ สังคมเป็นไปอยุางสมด่ล กฎเกณฑ์ของ ตลาดแรงงานและระบบสังคมที่มีคุาใช้จุายสูงลดทอนความ สามารถในการแขุงขันโดยรวมของประเทศเยอรมนี การรวมประเทศกับเยอรมันตะวันออกและการยกระดับเยอรมัน ตะวันออกยังคงเป็นปั ญหาระยะยาวที่ส้ินเปลืองคุาใช้จุายมาก (ใน แต่ละปี เงินที่เยอรมันตะวันตกต้องโอนไปให้ทางตะวันออกคิดเป็ นมูลค่า ประมาณพันล้านยูโร) การรวมกันทางด้านการเมืองและเศรษฐกิจภายในทวีปย่โรปเป็น ความท้าทายและสร้างโอกาสให้แกุเศรษฐกิของเยอรมนี เช่น เมื่อ รับเอาสกุลเงินยูโรของสหภาพยุโรปมาใช้ เยอรมนี ก็ไม่มีสกุลเงินเป็ นของ ตัวเองอีกต่อไป ส่งผลให้มีอำานาจในการควบคุมเศรษฐกิจลดลง เห็นได้จาก การที่รัฐสภาเยอรมันไม่สามารถควบคุมอัตราดอกเบี้ยอีกต่อไป
GDP แบุงตามอ่ตสาหกรรมในปี 2007 1%
เกษตรกรรม,ปุาไม้,และ
22% 26%
การประกอบกิจการ (ไม
การกุอสร้าง
การค้า, การทุองเทียว, ่
4%
การเงิน, การจัดหาให้เช ด้านบริษท ั
29% 18%
ประวัตศ ิ าสตร์ ค.ศ. 1945-1961
สงคราม สิ้นสุด ค.ศ.1945
เยอรมันตะวัน ตก
-(เขตสหรัฐฯและ อังกฤษปกครอง)
สร้างกำาแพง เบอร์ลิน
พื้นที่ประกอบ อาชีพ ที่มา:
เยอรมันตะวัน ออก -(เขตโซเวียต ปกครอง)
INTER-NATIONES: Übersichten: Die Bundesrepublik Deutschland und Ihre Laender
ก้าแพงเบอร์ลน ิ ค.ศ. 1961-1989 • 1961 - ก่อสร้างกำาแพงเบอร์ลิน • 1969 - พรรคสังคมนิ ยม ประชาธิปไตย (Social Democrat -SPD) นายวิล ลี บรันท์เป็ นนายกรัฐมนตรี - พัฒนาความสัมพันธ์กบ ั โซเวียต และเยอรมันตะวันออก • 1989 - การอพยพครั้งใหญ่ของชาว เยอรมันตะวันออก - กำาแพงเบอร์ลินพังทลาย
การรวมประเทศเยอรมนี 1990 • การรวมประเทศ ้ ทัว ่ ประเทศเยอรมันครัง ้ แรก • การเลือกตัง (การเลือกตัง ้ ทัว ่ ไปครัง ้ ที่ 12) ี ู/เอฟดีพี • รัฐบาลผสมพรรคซีดย (การเข้ารับต้าแหนุงครัง ้ ที่ 3 ของนายโคห์ล) ้ นครเบอร์ลินเป็นเมืองหลวง • รัฐสภาปี 1991 ตัง แหุงใหมุ 1994 ้ ทัว ่ ไป • การเลือกตัง (การเลือกตัง ้ ทัว ่ ไปครัง ้ ที่ 13) ู ู/ เอฟดีพี • รัฐบาลผสมพรรคซีดย (การเข้ารับต้าแหนุงครัง ้ ที่ 4 ของนายโคห์ล) 1998 ้ ทัว ่ ไป • การเลือกตัง (การเลือกตัง ้ ทัว ่ ไปครัง ้ ที่ 14) ี ละพรรคกรีน • รัฐบาลผสมพรรคเอสดีพแ 2002 ้ ทัว ่ ไปครัง ้ ที่ 14 • การเลือกตัง
สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
ระบบการเมืองการปกครอง
ศัพทานุกรมศัพท์ที่เกีย ่ วข้องกับสถาบันด้านการปกครองใน เยอรมนี ค้าเรียกในภาษาไทย/อังกฤษ: • Federal Assembly (“สภาล่าง”) • Federal Council (“สภาสูง”) • คณะรัฐมนตรี • ประธานาธิบดี • สภาผู้แทนราษฎร • ศาลรัฐธรรมนูญ
ค้าเรียกในภาษาเยอรมัน : Bundestag Bundesrat Bundeskabinett Bundespraesident Bundesversammlung Bundesverfassungsgericht
ระบบการเมืองการปกครอง • ระบอบการเมืองการปกครองของประเทศเยอรมนี จัดว่าเป็ นระบบรัฐบาลผสมแบบ สัดสุวน (mixed-member proportional representation system) • ระบอบนี้ พัฒนาขึ้นเพื่อแก้ไขจุดบกพร่องของระบบการปกครองก่อนหน้าซึ่งเป็ นระบบที่ พิสูจน์แล้วว่าขาดเสถียรภาพ: – ระบอบเสียงข้างมากเบ็ดเสร็จ (The absolute majority system) ที่ใช้ช่วงที่ เยอรมนี ยังคงปกครองเป็ นจักรวรรดิ (German Empire) จัดว่าเป็ นระบอบที่ขาด การมีส่วนร่วมทางการเมือง อำานาจอยู่ในมือของเสียงส่วนใหญ่ของพวก “อภิสิทธิ ์ ชน” (ไม่ใช่ผู้แทนปวงชน๗ (The pure proportional – ระบอบสภาผู้แทนแบบสัดสุวนสมบูรณ์ representation system) ที่ใช้ช่วงที่เยอรมนี เป็ นสหพันธรัฐไวมาร์ (Weimar Republic:1919-1933) ทำาให้อำานาจของรัฐอ่อนแอลง เปิ ดทางให้เกิดการเพิกถอน รัฐธรรมนูญในปี ค.ศ. 1933 โดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ั ซ้อนเพื่อป้ องกัน • มีระบบการตรวจสอบและถ่วงดุล (checks and balances) ที่ซบ ความเป็ นเผด็จการ สืทธิทางการเมือง สถาบันด้านประชาธิปไตยต่างๆ และระบบ สหพันธรัฐได้รับความค้ม ุ ครองพิเศษจากรัฐธรรมนูญเยอรมนี (กฎหมายบททัว ่ ไป)
ข้อกฎหมายพื้นฐาน (รัฐธรรมนูญเยอรมนี) มาตรา 1: สิทธิขัน ้ พื้นฐาน (มีความเทุาเทียมกันตามกฎหมาย; มี สิทธิสุวนบ่คคล, มีสิทธิใน ทรัพย์สินและสิทธิในการ ศึกษา, มีเสรีภาพในการพูด การ เข้าถึงข้อมูล การแสดงออก และการเคลื่อนไหวช่มน่ม เป็นต้น) มาตรา 2: โครงสร้างและอ้านาจของรัฐและมลรัฐ มาตรา 3: สถาบันตุางๆของรัฐ มาตรา 4: การออกกฎหมายระดับรัฐและการบังคับใช้กฎหมาย มาตรา 5: การจัดการด้านต่ลาการ มาตรา 6: การจัดการด้านการเงินสาธารณะและระบบภาษี
การแบุงอ้านาจ (German Federalism) • การแบุงอ้านาจ – อ้านาจอธิปไตย: อำานาจบริหาร อำานาจนิ ติบัญญัติ และอำานาจ ตุลาการ – การแบุงอ้านาจจากบนลงลุาง: ระดับชาติ ระดับมลรัฐ และ ระดับท้องถิ่น • การแบุงอ้านาจจากบนลงลุางแบุงตามขอบเขตความรับผิด ชอบที่ตุางกันไป เช่น การศึกษาเป็ นความรับผิดชอบของรัฐบาลระดับมลรัฐ ส่วน นโยบายด้านต่างประเทศจะเป็ นความรับผิดชอบของรัฐบาลระดับ ชาติ • การจัดการเลือกตัง ้ ก็จะแบุงเป็นสามระดับตามระดับการแบุง อ้านาจจากบนลงลุางสามขัน ้ .
โครงสร้า งรัฐ
ประธานาธิบดี
นายกรัฐมนตรี
คณะรัฐมนตรี รัฐมนตรีระดับรัฐ
Federal Council (“สภาสูง”)
สภาผ้แ ู ทนราษฎร
Federal Assembly (“สภาล่าง”)
รัฐบาลระดับมลรัฐ
รัฐบาลท้อง ถิ่น
บาเดน-เวือร์ทเทมแบร์ก เซน
เฮสเซน
เสรีรัฐไบเอิร์น ซัคเซน-อันฮัลท์
นี เดอร์ซัคเซน
เบอร์ลิน โฮลชไตน์
เมคเคลนบวร์ก-ฟอร์พอมเมิร์น
บรันเดนบวร์ก
เสรีรัฐซัค
ชเลสวิก-
นอร์ดไรน์ เวสท์ฟาเลน เธือริงเงน
เบรเมน
ไรน์ลันด์-ฟั ลส์
ฮัมบวร์ก
ซาร์ลันด์
ประชาชน
สถาบันของรัฐ
ประธานาธิบดี
นายกรัฐมนตรี
สภาผ้แ ู ทนราษฎร
BUNDESTAG
BUNDESRAT รัฐบาลระดับมลรัฐ ประชาชน
Source: INTER-NATIONES: Übersichten: Die Bundesrepublik Deutschland und Ihre Laender
แผนผังการบริหาร ประมุขของรัฐ
ประธานาธิบดี (Horst Koehler)
มอบหมาย
ประธานรัฐบาล
นายกรัฐมนตรี (Angelika Merkel)
เลือก
คณะรัฐมนตรี
(Bundeskabinett)
เลือก วาระ 5 ปี
รัฐสภา
เลือก วาระ 4 ปี
สภาผู้แทนราษฎร
งานด้านนิ ติบญ ั ญัติ สภาคู่ (Bicameral Parliament) สภาผู้แทนราษฎร (Federal Assembly)
สภาผู้แทนจากมลรัฐ (Federal Council)
“สภาล่าง”
“สภาสูง”
ผู้ได้รับการเลือกตั้ง (เลือกโดยตรงและแบบสัดส่วน)
ตัวแทนจากรัฐบาลระดับมลรัฐ
“เป็ นตัวแทนโดยตรง”
“เป็ นตัวแทนโดยอ้อม”
The Bundestag (เดอะบุนเดสทาค) (สภาผู้แทนราษฎร) • สภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้แทนโดยตรงของ ประชาชนแหุงสหพันธรัฐเยอรมนี • สภาผู้แทนราษฎรมีอ้านาจในการก้าหนด กฎหมาย ด้วยเหต่นัน ้ จึงถือวุาเป็นองค์ ประกอบทีส ่ ้าคัญที่ส่ดของรัฐ • ตัวบทกฎหมายบางประเภทต้องผ่าน สภาผู้ แทนราษฎร(ผู้แทนของรัฐตุางๆ) • หน้าทีก ่ ารท้างาน โครงสร้าง และ กระบวนการ ของสภาผู้แทนราษฎรได้รับ การพัฒนามาเป็ นเวลาหลายปี จาก ประสบการณ์การทำางานจริง เพื่อให้เกิดการ แบ่งงานในสมาชิกสภาอย่างมีประสิทธิภาพ และคุ้มค่าที่สุด
บทบาทของสภาผู้แทนราษฎร • บทบาทของสภาผ้แ ู ทนราษฎรตามที่ บัญญัติไว้ในกฎหมายมีดังนี้ : แตุงตัง ้ รัฐบาลทีม ่ าจากเสียง ข้างมาก เลือกนายกรัฐมนตรี ตรวจสอบการท้างานของฝุาย บริหาร ผุานกฎหมาย อน่มัตง ิ บประมาณ to act as a unifying force in society
องค์ประกอบของสภาผู้แทนราษฎร • สมาชิกของสภาผู้แทนราษฎรมาจากพรรคการเมือง ที่แตกต่างหลากหลาย ทั้งหมดได้รับเลือกมาจาก ระบบการเลือกผู้แทนที่จัดเป็ นแบบสัดส่วนผสม ผสานจากการเลือกตั้งสองแบบ • สภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิกอย่างน้อย 598 คน ซึ่งมาจาก ั เลือกตัง ้ โดยตรงจาก – 229 คนได้รบ ประชาชนในเขตเลือกตัง ้ ตุางๆ ้ ) ได้รับเลือกเข้ามา – 229 คน(หรือกวุานัน จากรายชื่อผู้สมัครของแตุละพรรคที่ พรรคการเมืองในแตุละรัฐเลือกเข้ามา ู มัครจะได้รับการเสนอชื่อมาจาก • ปรกติแล้วผ้ส พรรคการเมือง แต่ผู้สมัครอิสระก็สามารถลงเลือก ตั้งได้
กลุ่มในสภาผู้แทนราษฎร • กลุ่มในสภาผู้แทนราษฎรได้รับอนุญาตให้ ยื่นญัตติไม่ไว้วางใจ ยื่นญัตติให้มีการทบทวน หรือเลื่อนพิจารณาร่างกฎหมาย ตั้งคณะ ทำางานเพื่อศึกษาประเด็น หรือตั้งกระทู้ถาม ต่ออำานาจเด็ดขาดขององค์ประชุม. • สมาชิกของกลุ่มในสภาผู้แทนราษฎรจะ ต้องมาจากพรรคการเมืองเดียวกัน หรือ มาจากพรรคที่มีวัตถ่ประสงค์เดียวกัน และไมุได้เป็นคุูแขุงกันเองในรัฐหนึ่งรัฐ ใดใน 16 รัฐ เชุน นับตัง ้ แตุปี ค.ศ. 1949 เป็นต้นมา พรรคซีดย ี ูและซีเอสยู รุวมมือกันจัดตัง ้ รัฐบาลผสม • มีเพียงพรรคที่ได้คะแนนเสียงมากพอเท่านั้น ที่จะได้รับอนุญาตให้ต้ังกลุ่มในรัฐสภา.
การสร้างกลุม ่ ในรัฐสภา- กฎเกณฑ์เรื่องการมี สมาชิกร้อยละ 5 ้ 39 พรรค • เมื่อตั้งประเทศเป็ นสาธารณรัฐ มีพรรคการเมืองต่างๆเกิดขึน ซึ่งทำาให้เกิดความคิดเห็นที่วุ่นวายจัดการได้ยาก กฎหมายด้านการเลือกตั้งจึงมีวรรคที่กำาหนดเงื่อนไขเพื่อ • ด้วยเหตุน้ี จำากัดขนาดกลุ่มทางการเมืองไว้ • การจะสร้างกลุ่มในรัฐสภาได้ พรรคจะต้องมีสมาชิกอย่างน้อยร้อยละ 5 ของสมาชิกทั้งหมดของสภาผ้แ ู ทนราษฎร หรือมีสมาชิกสภาผู้แทน ราษฎรอย่างน้อยสามคนที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรง
ประธานสภาผู้แทนราษฎร (President of the Bundestag) ่ ล้วยุูในอันดัยสองรองจากประม่ข • ประธานสภาผู้แทนราษฎร โดยหน้าทีแ ของรัฐ (ประธานาธิบดี). • เป็ นตัวแทนสาธารณะของสมาชิกสภาผู้แทน ประธานสภาผู้แทนราษฎร รับผิดชอบจัดการกิจการภายในของสภาและต้องตอบท่กข้อซักถามหรือ ร้องเรียนใดๆ ทีม ่ ต ี ุอสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนหนึ่งคนใด ่ ระธาน • หน้าที่ท่ีสำาคัญที่สุดของประธานสภาผู้แทนราษฎร คือการท้าหน้าทีป ในการประช่มสภา รักษากฎระเบียบและดูแลการประช่มให้เป็ นไปตาม ขัน ้ ตอนตัวบทกฎหมาย และรองประธานสภาผู้แทนราษฎร จะได้รับ • ประธานสภาผู้แทนราษฎร การเลือกมากจากสมาชิกในสภาผู้แทนราษฎรหลังจากการเลือกตัง ้ เสร็จ สิ้น และมีวาระปฏิบัติหน้าทีเ่ ทุากับหนึ่ งรอบการเลือกตัง ้ โดยธรรมเนี ยม แล้ว กลุ่มเสียงข้างมากในสภาฯจะเป็ นผู้เสนอชื่อประธานสภาผู้แทน ราษฎร และรองประธานสภาผู้แทนราษฎรก็มก ั จะเลือกมาจากสมาชิก ในกลุ่มทางการเมืองตุางๆ ี ิทธิถอดถอนประธานหรือรองประธานสภาผู้แทนราษฎร • สภาผู้แทนราษฎรไม่มส
นอร์แบร์ต ลัม เมิร์ท (Norbert Lammert) ประธานสภาผู้ แทนราษฎร จาก การเลือกตั้งครั้งที่ 16 เป็ นสมาชิก พรรคซีดียู
สภาผู้แทนจากมลรัฐ (Federal Council) •
•
•
สภาผู้แทนจากมลรัฐมีหน้าที่เสนอ ประเด็นที่เป็นผลประโยชน์ของ มลรัฐตุางๆ สุูระดับรัฐ (เป็นผู้แทน ทางอ้อมของประชาชน)). มีหน้าที่ดา ้ นการก้าหนดกฎหมาย และบริหารจัดการ อันหมายรวมถึง สิทธิในการริเริม ่ น้ าเสนอข้อ กฎหมาย มีอ้านาจเด็ดขาดในการยับยัง ้ : – การแก้ไขข้อกำาหนดหรือแก้ รัฐธรรมนูญ – ข้อกำาหนดหรือกฎหมายที่มีผลกระ ทบต่อการเงินของรัฐ รวมไปถึงข้อ กำาหนดเกี่ยวกับภาษีต่างๆ. – ข้อกำาหนดหรือกฎหมายที่มีผลกระ ทบต่อ อำานาจสูงสุดของรัฐ
องค์ประกอบของสภาผ้แ ู ทนจาก มลรัฐ • ตัวแทนที่ได้รับการแตุงตัง ้ จากรัฐบาลของรัฐแตุละรัฐ • ไมุมก ี ารเลือกตัง ้ • องค์ประกอบของสภาผู้แทน จากมลรัฐ จะจัดสรรจากองค์ ประกอบของรัฐบาลระดับ มลรัฐ และต้องมีการ เปลี่ยนแปลงเมื่อรัฐทั้ง 16 รัฐ มีการเลือกตั้ง .
กระบวนการนิ ตบ ิ ัญญัติ ่ ี • บัญญัติกฎหมายใหม่จะได้รับการเสนอมาจากแผนกงานทีม ความเชีย ่ วชาญในเรื่องๆนัน ้ จากกระทรวงต่างๆ. ู ทนจากมลรัฐเพื่อพิจารณาเบื้องต้น. • ส่งร่างกฎหมายให้แก่สภาผ้แ ้ แรกในสภาผ้แ ู ทนราษฎร– แจ้งแก่ส่ ือและ • การพิจารณาครัง ประชาชนทราบว่า ร่างกฎหมายอยู่ในขั้นตอนการพิจารณา ่ ระช่มฟั งความเห็น – ตรวจสอบตัวบทกฎหมายอย่าง • ทีป ละเอียดโดยกลุ่มในรัฐสภาและปรึกษากับผ้เู ชี่ยวชาญต่างๆ ้ ที่ 2-3ในสภาผ้แ ู ทนราษฎร– กลุ่มใน • การพิจารณาครัง รัฐสภาตั้งกระทู้ซักถาม ทั้งในเชิงเห็นด้วยและไม่เห็นด้วยกับตัว บทกฎหมายใหม่ • การประชาสัมพันธ์ทางสื่อ ด้วยการเผยแพร่ให้ประชาชน ทราบ เพื่อให้มีการถกเถียง ทั้งในเชิงเห็นด้วยและไม่เห็นด้วยต่อ ร่างกฎหมายที่อยู่ในกระบวนการพิจารณา
กระบวนการนิ ตบ ิ ัญญัติ ร่าง กฎหมาย ใหม่
การพิจารณา ครั้งที่ 1 ในสภาผู้แทน ราษฎร
การพิจารณาครั้ง ที่ 2 ในสภาผู้แทน ราษฎร
การพิจารณาครั้ง แรกในสภาผู้แทน ราษฎร ประชาสัม พันธ์ทาง สื่อ
ประชาสัม พันธ์ทาง สื่อ
ที่ประชุมฟั ง ความเห็น กลุ่มในรัฐสภา
การพิจารณา ครั้งที่ 3 ในสภาผู้แทน ราษฎร
ความเห็น จากผู้ เชี่ยวชาญ ร่าง กฎหมาย ตกไป ผ่าน กฎหมาย
กระบวนการนิ ติบัญญัติ Consent Bills
• For legislation proposing changes to the constitution or federal structure, the consent of the Bundesrat is required. • กรณีท่ีสภาผู้แทนราษฎรและสภาผู้แทนจากมลรัฐไม่สามารถหาข้อ ตกลงในกรณีขัดแย้งระหว่างรัฐบาลกับมลรัฐ ก็อาจมีการตั้งคณะ กรรมการไกลุเกลีย ่ ข้อขัดแย้ง (Mediation Committee) ขึ้น เพื่อให้ม่ันใจว่า ความขัดแย้งอันเป็ นเรื่องปรกติในโครงสร้าง การบริหารงานระดับรัฐ จะได้รับการแก้ไขด้วยความประนี ประนอม และตัวบทกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับทุกมลรัฐจะสามารถผ่านการ รับรองของสภาได้