Design1 Syllabus2550

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Design1 Syllabus2550 as PDF for free.

More details

  • Words: 651
  • Pages: 3
ประมวลรายวิชา 1. รหัสรายวิชา 2. จํานวนหนวยกิต 3. ชื่อวิชา 4. คณะ/ภาควิชา 5. ภาคการศึกษา 6. ปการศึกษา 7. ชื่อผูสอน 8. เงื่อนไขรายวิชา 9. สถานภาพของวิชา 10.ชื่อหลักสูตร 11.วิชาระดับ 12.จํานวนชั่วโมงที่สอน 13.เนื้อหารายวิชา

2502312 2 ทฤษฏีการออกแบบ 1 (Design 1) สถาปตยกรรมศาสตร/การออกแบบอุตสาหกรรม ตน 2549 รองศาสตราจารย นวลนอย บุญวงษ 20% ผูชวยศาสตราจารย ดร.เถกิง พัฒโนภาษ 20% อาจารย ดร.ไปรมา อิศรเสนาฯ 60% ไมมี บังคับ การออกแบบอุตสาหกรรมบัณฑิต ปริญญาตรี 2 ชั่วโมง/สัปดาห (วันอังคาร 9.00-11.00 น.) ศึกษาวิวัฒนาการและวัฒนธรรมดั้งเดิมของมนุษยตลอดมาถึงสมัยปจจุบัน ใหเห็นถึงการเปนอยูอยางสลับซับซอนที่มีมากขึ้นตามลําดับ ศึกษากาย วิภาคและหนาที่สวนตาง ๆ ที่ประกอบกันขึ้นเปนรางกายมนุษย อันทําให มนุษยเกิดความตองการซึ่งเปนที่มาของการออกแบบ ศึกษาถึงวิธีการและ ความนึกคิด การทํางานของนักออกแบบ เพิ่มพูนความสามารถในการ แสดงออกของความคิดและถายทอดความคิดออกมาเปนผลงานออกแบบ

14.ประมวลการเรียนรายวิชา 14.1 วัตถุประสงคของวิชา วัตถุประสงคทั่วไป 1. ศึกษาเกี่ยวกับความเปนมา ความสําคัญ ปจจัยที่มีผลตอการออกแบบ ตลอดจนอิทธิ พลของการออกแบบตอการดํารงชีวิต 1. ศึกษากระบวนการออกแบบอยางเปนขั้นตอน เพื่อใหสามารถประยุกตใชในงานออก แบบอุตสาหกรรม วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. สามารถอธิบายและวิจารณปจจัยที่มีผลตองานออกแบบ และลักษณะงานออกแบบที่ดี ไดอยางมีหลักเกณฑ 1. สามารถปฏิบัติการออกแบบไดอยางถูกตองตามลําดับขั้นตอน 14.2 เนื้อหารายวิชาตอสัปดาห ตามตารางที่แนบ 14.3 วิธีการจัดการเรียนการสอน การบรรยาย 40% การบรรยายเชิงอภิปราย 25% การระดมสมอง และการอภิปรายกรณีศึกษา วิเคราะหและแกปญหา 15% การสรุปประเด็นสําคัญหรือนําเสนอผลของการสืบคนหรืองานที่ไดรับมอบหมาย 20% 14.4 สื่อการสอน สื่อนําเสนอในรูปแบบ Power point media สื่ออิเล็กทรอนิกส/ เว็บไซต สื่ออื่นๆ ไดแก วิดีโอเทป ตัวอยางงานออกแบบ2 มิติ และ 3 มิติ 14.5 การมอบหมายงานผานระบบเครือขาย (Assignment through Network System) 14.5.1 ขอกําหนดวิธีการมอบหมายงาน และสงงาน –ไมมี14.5.2 ระบบจัดการการเรียนรูที่ใช E-learning System Moodle 14.5 การวัดผลการเรียน 14.6.1 การประเมินความรูทางวิชาการ (สอบปลายภาค) 20% 14.6.2 การประเมินการทํางานหรือกิจกรรมในชั้นเรียน (คําถามประจําสัปดาห) 15% 14.6.3 การประเมินผลงานที่ไดรับมอบหมาย (เรียงความและแบบฝกหัด 7 ครั้ง) 55%

15.รายชื่อหนังสืออานประกอบ 15.1 ●เถกิง พัฒโนภาษ. เอกสารประกอบการสอนวิชาทฤษฏีการออกแบบ 1 (ไมไดตีพิมพ) ●เถกิง พัฒโนภาษ (รวบรวม). รวมสําเนาบทความประกอบการเรียนวิชาทฤษฏีการออกแบบ 1 (ไมไดตีพิมพ) ●นวลนอย บุญวงษ. หลักการออกแบบ.กรุงเทพ : สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2543. ●นวลนอย บุญวงษ.เอกสารประกอบการสอนวิชาทฤษฏีการออกแบบ 1 (ไมไดตีพิมพ) ●ไปรมา อิศรเสนาฯ. เอกสารประกอบการสอนวิชาทฤษฏีการออกแบบ1 (ไมไดตีพิมพ) 15.2 ●ชัชรินทร ไชยวัฒน, สงครามอารมาเกดโดน, กรุงเทพ: แพรวสํานักพิมพ, 2549. ●ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย, เชิงอรรถวัฒนธรรม, กรุงเทพ: มติชน, 2544. ●ธีรยุทธ บุญมี, โลก Modern & Post Modern. กรุงเทพ: สายธาร, 2546. ●มุกหอม วงษเทศ, พรมแดนทดลอง, กรุงเทพ: มติชน, 2547. ●มุกหอม วงษเทศ, เลนแรแปรธาตุ, กรุงเทพ: มติชน, 2549. ●อธิโชค พิมพืวิริยะกุล (บรรณาธิการ), สอน-ไมได-ในโรงเรียนออกแบบ, กรุงเทพ: ชองเปด, 2548. ●Capra, Fritjof, พระประชา ปสนนธมโม...(และคนอื่น ๆ) แปล จุดเปลี่ยนแหงศตวรรษ The Turning Point. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2539. (แบงเปน 3 เลม) ●Barthes, Roland, วรรณวิมล อังคศิริสรรพ แปล, มายาคติ (สรรนิพนธจาก Mythologies ของ Roland Barthes, กรุงเทพฯ: คบไฟ, 2544. ●Beyer, Hugh and Holtzblatt, Karen. Contextual Design. London:Morgan Kaufmann pubishers, 1998. ●De Bono, E. New Thinking for the New Millennium. Carlifornia, NewMillinium Press, 2000. ●Garret, Jesses J. The Elements of User Experience. New York: American Institute of Graphic Arts, 2003. ●Hubka, Vladimir and Eder W.Ernst. Design Science. London: springer - Verlag London Limited,1996.

●Jencks, Charles. What is Post-modernism? London : Academy Editions, 1996. ●Jones, John C. Design Methods. New York: Van Nostrand Reinhold, 1992. ●Jordan, Patrick W. An Introduction to Usability. UK : Taylor & Francis Ltd, 1998. ●Phillbin, Tom, 100 Greatest Invention of All Time (100 สิ่งประดิษฐเปลี่ยนโลก),

ญาณิณี พจน

วิบูลยศิริ และคนอื่นๆ แปล, กรุงเทพฯ: มูลนิธิเด็ก, 2549.

●Sparke, Penny. An Introduction to Design and Culture of the Twentieth Century.London:

Routhledge, 2000.

●Tofler, Alvin, Future Shock, London: Pan Books, 1970. 15.3 บทความวิจัย/บทความวิชาการ ●Owen, Charles. "What Is Design? Some Questions and Answers."

Institute of Design White

Paper (Chicago, 2004).

●Owen, Charles ."Responsible Design: Achieving Living Excellence: Implications, Warnings and a Call to Action." Proceedings of eDesign2004: International Conference on Environmental Design for Living Excellence, Selangor, Malaysia, 2004.

●Kumar, Vijay and Patrick Whitney "Faster, Cheaper, Deeper User Research." Design

Management Journal (Spring 2003): 50-57.

15.4 สื่ออิเล็กทรอนิกส หรือ เว็บไซดที่เกี่ยวของ เว็ปไซต มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน http://www.geocities.com/midnightuniv/ www.ideo.com www.doblin.com www.vle.arch.chula.ac.th/moodle/

http://designjung.blogspot.com/ http://designcompetition.blogspot.com/

16. การประเมินผลการสอน 16.1 ใชแบบประเมินการสอนแบบบรรยาย 16.2 การปรับปรุงเนื้อหา โดยเพิ่มการวิเคราะหกรณีศึกษา ประกอบการเรียนเรื่องกระบวนการออกแบบ 16.3 มีการอภิปรายและการวิเคราะห เพื่อสรางเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงคของบัณฑิต จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย 4 ดานดังตอไปนี้ ดานสติปญญาและวิชาการ อภิปรายและวิเคราะหบริบทของงานออกแบบและกรณีศึกษาตางๆ ดานทักษะและวิชาชีพ อภิปรายและวิเคราะหเปรียบเทียบวิธีการทํางานออกแบบตางๆ ดานคุณธรรม ฝกสรางงานของตนเองโดยไมลอกเลียนแบบของผูอื่น และสงงานตรงตอเวลา สังคม อภิปรายและวิเคราะหปญหา ความตองการ และความเปลี่ยนแปลงในสังคม

รายละเอียดการเรียนการสอน Design I 2007 สัปดาห วัน เดือน ป รายละเอียดหัวขอ เนื้อหา และกิจกรรมการสอน ที่ 1 4 มิ.ย.50 อธิบายแผนการสอน อธิบายแหลงขอมูลสําหรับการเรียนดานการออกแบบ นิยามและความหมายของคําวา “DESIGN” ความเปนมาของการออกแบบ พัฒนาการของการออกแบบ 2 11 มิ.ย.50 การปฏิวัติอุตสาหกรรม กับ การออกแบบ "สมัยใหม" 3 18 มิ.ย.50 กระบวนทัศน "หลังสมัยใหม" กับการออกแบบ 4 25 มิ.ย.50 ปจจัยที่มีผลตองานออกแบบ : ปจจัยภายใน 5 2 ก.ค.50 ปจจัยที่มีผลตองานออกแบบ : ปจจัยภายนอก 6 9 ก.ค.50 งานออกแบบที่ดี 7 16 ก.ค.50 กระบวนการออกแบบ, การคนควาขอมูลเพื่อการออกแบบ I แบบฝกหัดที่ 1 การกําหนดหัวขอการคนควาหาขอมูล 8 23 ก.ค.50 การคนควาขอมูลเพื่อการออกแบบ II แบบฝกหัดที่ 2 การคนควาขอมูลเพื่อการออกแบบ 9 30 ก.ค.50 หยุดชดเชยวันอาสาฬหบูชา 10 6 ส.ค.50 การวิเคราะหขอมูลและ การตั้งเปาหมายทางการออกแบบ แบบฝกหัดที่ 3 การวิเคราะหขอมูลเพื่อวางเปาหมายการออก แบบ 11 13 ส.ค.50 หยุดชดเชยวันเฉลิมพระชนมพรรษา 12 20 ส.ค.50 การสังเคราะห I การคิดสรางสรรค แบบฝกหัดที่ 4 การคิดสรางสรรคแบบอเนกนัย 13 27 ส.ค.50 การสังเคราะห II การพัฒนาแนวความคิดการออกแบบ

บรรยายโดย รศ.นวลนอย ผศ.ดร.เถกิง ผศ.ดร.เถกิง ผศ.ดร.เถกิง รศ.นวลนอย รศ.นวลนอย รศ.นวลนอย อ.ดร.ไปรมา อ.ดร.ไปรมา

อ.ดร.ไปรมา อ.ดร.ไปรมา อ.ดร.ไปรมา อ.ดร.ไปรมา

แบบฝกหัด 5 การใช scenario design และ design language สื่อสารแนวคิดในการออกแบบ 14

3 ก.ย.50

15

10 ก.ย.50

16

17 ก.ย.50

17

24 ก.ย.50

หมายเหตุ

1. 2.

การสังเคราะห III การพัฒนางานออกแบบ แบบฝกหัดที่ 6 การพัฒนางานออกแบบโดยใชการ sketch และ mock-up model การประเมินผลงานการออกแบบ แบบฝกหัดที่ 6 การประเมินผล การวางแนวทางพัฒนางานออกแบบ เสนอผลงานออกแบบและการประเมินผล ฝกวางแนวทางการพัฒนางานออกแบบ สอบปลายภาค

อ.ดร.ไปรมา

อ.ดร.ไปรมา อ.ดร.ไปรมา อ.ดร.ไปรมา

นิสิตมาสาย (หลังเช็คชื่อ) 2 ครั้ง นับเปนขาดเรียน 1 ครั้ง นิสิตขาดเรียนเกิน 20% ของเวลาเรียนจะตองถอนหรือไดสัญลักษณ F นิสิตตองสงแบบฝกหัดทุกชิ้นภายในเวลา 16.00 น. ของวันศุกรในอาทิตยที่ใหงาน มิฉะนั้นจะได F

Related Documents

Design1 Syllabus2550
November 2019 7
Design1.docx
June 2020 4
Form Design1
November 2019 5
01 Design1 Originofdesign
November 2019 4