Cancer Care

  • Uploaded by: ib
  • 0
  • 0
  • May 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Cancer Care as PDF for free.

More details

  • Words: 5,538
  • Pages: 51
สารบัญ กิตติกรรมประกาศ คำนำ 1. บทนำ 2. เข้าใจมะเร็ง เหตุใดบางคนจึงเป็นมะเร็ง ขณะทีบ่ างคนไม่เป็น อะไรคือสาเหตุทท่ี ำให้เป็นมะเร็ง อาหาร สารอาหาร และมะเร็ง วิธตี อ่ สูก้ บั มะเร็ง ภาวะความเป็นกรด และภาวะความเป็นด่าง โภชนาการเพือ่ การบำบัด สุขภาพจิตทีด่ ี ทัศนคติเชิงบวก เซลล์มะเร็งไม่เจริญเติบโตในสภาพแวดล้อม ทีม่ อี อกซิเจน 3. ชี่ ไดนามิกส์และผลต่อการรักษามะเร็ง เริม่ ต้นรักษามะเร็งด้วยชี่ ไดนามิกส์ วิธกี ารหายใจแบบกลัน้ ลมหายใจ ปฏิบตั ติ อ่ ไป อย่าท้อแท้ สรุป : ความรูส้ กึ ทีอ่ าจเกิดขึน้ ได้ระหว่างการฝึกหายใจ ด้วยวิธกี ลัน้ ลมหายใจอย่างถูกวิธี 4. ลดความเครียดและล้างพิษ

3 4 5 7

14

23

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

1

5. การดูดพิษด้วยครอบแก้ว (Acu - Cupping) : การบรรเทาความเจ็บปวดโดยไม่ใช้ยา 6. คำถามทีม่ กั ถูกถามเสมอๆ 7. ภาคผนวก 1 ประสบการณ์จากผูท้ ฝ่ี กึ บริหารลมหายใจ และบริหารร่างกายแบบชี่ ภาคผนวก 2 ข้อสรุปทีผ่ ปู้ ว่ ย/ผูด้ แู ลผูป้ ว่ ยมะเร็งควรทราบ ภาคผนวก 3 Chi Dynamics Centers อ้างอิง

2

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

31 33 36

42 44 47

กิตติกรรมประกาศ ผมขอขอบคุณและซาบซึ้งใจเป็นอย่างยิ่งต่อผู้ท ี่ทำให้หนังสือเล่มนี้ กลายเป็นจริงขึน้ มาได้ ไม่วา่ จะเป็น แรงสนับสนุนจากลินดา ภรรยาของผม และลูกสาวทัง้ สอง เมย์ และหยิน ดร.สวี ลิบ ควีก สำหรับวิสัยทัศน์และงานบรรณาธิการอันยอดเยี่ยม ดร.อี.เอ็น.เกน, นิโคลัส เจีย่ , โรบิน ฮัดสัน และเอลเลน โลห์ สำหรับความช่วยเหลือ ด้านบรรณาธิการ และการวิจยั กิลล์ นันน์, เชน ฟรานซิล, เครก ฟรานซิล สำหรับผลงานภาพถ่าย (เล่มต้นฉบับ) ดร. หยิน วี สำหรับหน้าปกรูปภูเขาสีนำ้ เงินทีส่ วยงาม เค.โอ.หล่าย สำหรับการออกแบบรูปเล่มและศิลปกรรมทีส่ ร้างสรรค์ ทาน ซู คอง สำหรับการประสานงานและดูแลขัน้ ตอนการผลิต อลัน และ แลร์ร่ี ยง, ฮิว ชี ไว, จูด้ี โท, เค.เค. และเหมย ลาน ควน, คอง วูน ซิน, อง คาท์ ยง, โคล.เดวิท ลิม และฟรานซิส เฮง สำหรับแรงสนับสนุน ทีแ่ สนกระตือรือร้น และอาสาสมัครทั้งหลาย อาจารย์ชี่ ไดนามิกส์ สมาชิก และผู้ฝึกหัด ซึง่ ตลอดหลายปีทผ่ี า่ นมาได้ให้ความสนใจและร่วมกันซักถาม กระทัง่ ทำให้ผมมีความรู้ ความเข้าใจลึกซึง้ มากยิง่ ขึน้

ด้วยความนับถือ อาจารย์แอนโธนี่ วี กันยายน 2004

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

3

คำนำ มะเร็งกำลังกลายเป็นหนึ่งในปัญหาด้านสุขภาพที่สำคัญของโลกซึ่ง ทวีความรุนแรงมากยิง่ ขึน้ รายงานของ The World Cancer Report ระบุวา่ อัตราการเป็นมะเร็งของผูค้ นบนโลกจะเพิม่ สูงขึน้ ถึง 50 เปอร์เซ็นต์ เป็น 15 ล้านคน ในปี 2020 อย่างไรก็ดี 1 ใน 3 ของมะเร็งที่แพร่กระจายอยู่ในขณะนี้สามารถ ป้ อ งกั น ได้ ด้ ว ยการฝึ ก ใช้ ช ี ว ิ ต อย่ า งมี ค ุ ณ ภาพ กิ น อาหารที ่ ม ี ป ระโยชน์ ลดปริมาณการสูบบุหรี่ รวมทั้งตรวจหาโรคร้ายนี้แต่เนิ่นๆ ด้วยการตรวจมะเร็ง ในร่างกาย ผู ้ ท ี ่ ท ุ ก ข์ ท รมานจากมะเร็ ง มี แ นวโน้ ม หั น ไปพึ ่ ง พาการแพทย์ ทางเลือกอื่นๆ หรือการบำบัดแบบต่างๆ ร่วมกันกับวิธีการรักษาด้วยแพทย์ แผนปัจจุบนั ทัว่ ไป ด้วยเหตุน้ี จึงเป็นช่วงเวลาอันดีทอ่ี าจารย์แอนโธนี่ วี ผูเ้ ชีย่ วชาญ ด้านชี่ โดนามิกส์ ได้จดั ทำหนังสือ “Cancer Care with Chi Dynamics” เล่มนีข้ น้ึ มา เพื่อเป็นแหล่งความรู้ ให้แก่ผู้ที่ทุกข์ทรมานจากมะเร็ง แน่นอนว่ามันจะเป็น ประโยชน์อย่างมหาศาลแก่ผปู้ ว่ ย ทีพ่ ยายาม “เยียวยาตัวเอง” ท้ า ยที ่ ส ุ ด ผมขอแสดงความยิ น ดี ก ั บ อาจารย์ แ อนโธนี ่ วี มา ณ โอกาสนี้ที่ได้ทุ่มเทความพยายามเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยมะเร็ง อย่างไม่เห็นแก่ เหน็ดเหนื่อย กระทั่งทำให้หนังสือเล่มนี้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี ดร.กัน เอิง้ เหมิง ผูป้ ระสานงาน Qigong Cancer Support Unit University of Malaya Alumni Society

4

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

1 บทนำ หลายปีมาแล้ว มีผเู้ รียกร้องให้ผมจัดทำหนังสือเล่มนี้ ผมรูส้ กึ ยินดีอย่างยิง่ แต่มใิ ช่เพราะการตอบรับทีด่ แี ละต่อเนือ่ ง หากยังเนือ่ งมาจากประสบการณ์และชัยชนะ ต่อมะเร็งของคุณพ่อผมในครัง้ นัน้ ด้วย ในหนังสือเล่มนี้ ผมพยายามถ่ายทอดความรู้ ทีเ่ กิดขึน้ จากประสบการณ์ของตนเองและทีมงาน องค์ความรูท้ ง้ั หมด นัน้ ก็ได้กอ่ ร่าง กลายมาเป็นพืน้ ฐานสำคัญของชี่ ไดนามิกส์ซง่ึ ช่วยเสริมในการรักษาผูป้ ว่ ยมะเร็ง เมือ่ พูดถึงมะเร็ง คำถามทีพ่ วกเรามักถูกถามอยูเ่ สมอก็คอื z ฉันจะระงับความปวดทีแ่ สนสาหัสของมะเร็งได้อย่างไร z ฉันนอนไม่หลับ เพราะคอยแต่จะกังวลถึงสภาพของตัวเองซึง่ รังแต่ จะทำให้อะไรๆ แย่ลงไปกว่าเดิม ทำอย่างไรถึงจะสามารถนอนหลับ ได้ดขี น้ึ z เหตุใดฉันจึงรูส้ กึ อ่อนเพลียทุกๆ เช้า z ฉันเครียดและซึมเศร้าอยูเ่ สมอ ทำอย่างไรจึงจะรูส้ กึ ผ่อนคลายได้บา้ ง z ฉันจะเพิม่ ปริมาณเม็ดเลือดให้สงู ขึน้ ได้อย่างไร เพราะมันลดต่ำลง และฉันได้หยุดการเคมีบำบัดด้วยวิธคี โี ม z ฉันจะเสริมสร้างภูมคิ มุ้ กันให้แข็งแรงได้อย่างไร ในขณะทีย่ งั คงติดเชือ้ z ฉันควรจะทำอย่างไรเพือ่ ช่วยคืนสมดุลให้ชวี ติ ตนเอง z การบริหารร่างกายแบบชีว่ ธิ ใี ดดีทส่ี ดุ สำหรับผูป้ ว่ ย เช่นฉันทีก่ ำลังต่อสู้ กับมะเร็ง z ฉันจะเยียวยาตัวเองได้อย่างไร z ฉันทราบมาว่า อาหารบางชนิดเป็นต้นเหตุของการเป็นมะเร็ง อาหารประเภทใดทีฉ่ นั ควรกินและประเภทใดทีค่ วรหลีกเลีย่ ง

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

5

z

z z

คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า มลพิษทางเคมี และการปนเปือ้ นโลหะหนัก ก่อให้เกิดมะเร็งได้หรือไม่ สารก่อมะเร็งหลักๆ คืออะไรบ้าง เหตุใดฉันจึงมีอาการแย่ลง

ผมขอย้ำแต่เนิน่ ๆ ณ ตรงนีว้ า่ พวกเราไม่มคี ำตอบสำหรับคำถามทีก่ ล่าว มาข้างต้น อย่างไรก็ตาม ประสบการณ์ของพวกเราได้แสดงให้เห็นว่าชี่ ไดนามิกส์ ช่วยเสริมสร้างพลังให้แก่ผปู้ ว่ ยร่วมกับการรักษา ตามแนวทางหลักและการบำบัด แบบต่างๆ เราขอย้ำว่า “เสริม” เนื่องจากเราไม่เชื่อว่า จะมีเพียงคำตอบเดียว สำหรับโรคภัยทีซ่ บั ซ้อนนี้

6

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

2 เข้าใจมะเร็ง เหตุใดบางคนจึงเป็นมะเร็ง ขณะที่บางคนไม่เป็น เราทุกคนต่างมีเซลล์มะเร็งในร่างกาย เพียงแต่ว่ามันจะไม่แสดงให้เห็น จนกว่าเซลล์จะเพิ่มจำนวนมากเป็นทวีคูณ จนสามารถตรวจสอบได้สำหรับผู้ที่ แพทย์วนิ จิ ฉัยแล้วว่า ‘ไม่มเี ซลล์มะเร็งในร่างกายอีกต่อไป’ นัน้ ก็หมายความเพียงว่า จำนวนเซลล์มะเร็งในร่างกายผูน้ น้ั ยังมีปริมาณต่ำเกินกว่าจะสามารถตรวจสอบได้เท่านัน้ เมือ่ ระบบภูมคิ มุ้ กันของร่างกายแข็งแรง เซลล์มะเร็งจะถูกทำลายและนัน่ ก็เป็นการช่วยป้องกันไม่ให้เซลล์แบ่งตัวผิดปกติจนกลายเป็นเนือ้ งอก สภาพความเป็นด่างในร่างกายช่วยเสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกันให้ทำงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ภาวะทีเ่ ป็นกรดระบบภูมคิ มุ้ กันของร่างกายจะอ่อนแอลง อะไรคือสาเหตุทก่ี อ่ ให้เกิดมะเร็ง มะเร็งเกิดได้จากหลากหลายปัจจัยทัง้ ทีเ่ กิดขึน้ เองและร่วมกับสาเหตุอน่ื ๆ อาทิ 1. พันธุกรรม ก่อนเปลีย่ นเป็นเซลล์มะเร็ง สารพันธุกรรมภายในเซลล์จะเกิดการ กลายพันธุ์ จากสถิ ต ิ พ บว่ า เซลล์ ท ี ่ ก ลายพั น ธุ ์ เ หล่ า นี ้ ม ี แ นวโน้ ม ที ่ จ ะพั ฒ นากลายไปเป็ น เซลล์มะเร็งได้มาก 2. ปัจจัยด้านสิง่ แวดล้อม ควันบุหรี่ (แม้ผทู้ ไ่ี ม่สบู บุหรีก่ ส็ ามารถเป็ฯมะเร็งได้หากสูดควันบุหรีเ่ ข้าไป) แร่ใยหิน มลภาวะ น้ำ โลหะหนัก และสารเคมี 3. การได้รบั รังสี รังสีนิวเคลียร์ การได้รับรังสีอัลตราไวโอเลตมากเกินไป รังสีคอสมิก การได้รบั รังสีแกมม่ามากเกินไป ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

7

รังสีความถีต่ ำ่ (รังสีทไ่ี ม่แตกตัวเป็นไอออน) จากแหล่งกำเนิด เช่นกระแส ไฟฟ้า และสนามแม่เหล็กรอบๆ สายไฟฟ้า รังสีอนิ ฟราเรด คลืน่ วิทยุ คลืน่ ไมโครเวฟ โทรศัพท์เคลือ่ นที่ และเครือ่ งใช้ไฟฟ้าต่างๆ อาจส่งผลเสียต่อสุขภาพ แต่ความสัมพันธ์ ต่อการเกิดมะเร็งก็ยงั ต้องทำการศึกษาต่อไป 4. อาหาร ขาดสมดุลในโภชนาการ เช่น บริโภคสารอาหารบางอย่างมากหรือน้อย เกินไป 1) อาหารทีเ่ ลีย้ งเซลล์มะเร็ง z น้ำตาลเป็นอาหารที่หล่อเลี้ยงเซลล์มะเร็ง (เซลล์มะเร็งใช้น้ำตาล เป็นหลักในการสร้างพลังงาน) น้ำตาลเทียมก็เป็นอันตรายต่อสุขภาพด้วย เช่นกัน หากต้องการรสหวานควรทดแทนด้วยน้ำผึง้ ธรรมชาติทไ่ี ม่ผา่ นกรรมวิธี (ผลการวิจยั ล่ า สุ ด พบว่ า ในน้ ำ ผึ ้ ง มี ส ารแอนตี ้ อ อกซิ แ ดนต์ หรื อ กากน้ ำ ตาล แต่ ท ั ้ ง นี ้ ต ้ อ ง บริโภคในปริมาณต่ำ z นมทำให้รา่ งกายผลิตมิวคัส (mucus) โดยเฉพาะบริเวณทางเดินอาหาร ซึง่ เป็นอาหารของมะเร็ง (เซลล์เนือ้ งอกบางชนิดผลิตมิวซิน ซึง่ เป็นสารสำคัญในการ ก่อตัวของเนือ้ งอก และทำให้เนือ้ งอกดือ้ ยาและการฉายรังสี) 2) อาหารทีส่ มั พันธ์กบั มะเร็ง z น้ำมันและไขมันที่ผ่านความร้อนสูง และ/หรือนำกลับมาใช้ซ้ำ มีแนวโน้มทีจ่ ะกลายเป็นสารก่อมะเร็ง z อาหารรมควัน เนื้อที่ผ่านกรรมวิธี และอาหารที่ถนอมด้วยเกลือ เป็นปัจจัยเสีย่ งทีอ่ าจก่อให้เกิดมะเร็งในระบบย่อยอาหาร z อาหารที่ย่างแบบบาร์บีคิว จะพบสารโพลีไซคลิก อะโรมาติก ไฮโดรคาร์บอนส์ (PAHs) ซึง่ เกิดจากการเผาไหม้ไขมันส่วนเนือ้ ทีย่ า่ งจนไหม้เกรียมก็มี เฮเทอโรไซคลิก เอไมน์ (HCAs) ซึง่ สารเหล่านีล้ ว้ นแต่เป็นสารก่อมะเร็ง 5. ภูมคิ มุ้ กันบกพร่อง 6. ไวรัส ไวรัสบางชนิดทำให้สารพันธุกรรมในเซลล์เกิดการเปลีย่ นแปลง อันจะนำ ไปสูก่ ารกลายพันธุเ์ ป็นเซลล์มะเร็ง (เช่น ตับอักเสบบี ซีและมะเร็งตับ) 8

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

วิธีต่อสู้กับมะเร็ง 1. สร้างภาวะทีไ่ ม่เอือ้ ต่อการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง 2. สร้างภาวะทีน่ ำไปสูก่ ารเยียวยารักษา 3. ปลุกระดม ‘จิตวิญญาณภายใน’ เพือ่ เกิดแรงผลักของการอยูร่ อด 4. หลีกเลีย่ งอาหารและสารอาหารทีเ่ ป็นอาหารของเซลล์มะเร็ง สภาพความเป็นกรดต่อสูก้ บั สภาพความเป็นด่าง แนวคิดของคนจีนโบราณเกี่ยวกับหยินและหยางยังคงเป็นแนวคิดที่มี ความสำคัญอย่างยิง่ ต่อโลกปัจจุบนั หยินคือสภาพความเป็นกรดและหยางคือสภาพ ความเป็นด่าง ร่างกายของเราต้องการความสมดุลของภาวะทั้งสอง สภาพความ เป็นกรดเป็นสิง่ จำเป็นต่อกระเพาะอาหาร ซึง่ มีหน้าทีย่ อ่ ยอาหาร แต่สำหรับองค์รวม ของระบบร่างกายสภาพความเป็นด่าง คือ ภาวะแห่งการเยียวยา อย่างไรก็ตาม น่าเสียดายที่โดยธรรมชาติร่างกายของเรามีแนวโน้มที่จะ มีสภาพความเป็นกรดมากกว่า ยามทีเ่ ราเคลือ่ นไหว ร่างกายจะผลิตกรดแลกติกขึน้ ใน กล้ามเนื้อ แต่เมื่อเราเกิดความเครียดร่างกายก็จะสร้างสภาพความเป็นกรดมากขึ้น กรดคาร์บอนิกถูกสร้างขึน้ ในเซลล์รา่ งกาย เราและถูกเปลีย่ นให้เป็นคาร์บอนไดออกไซด์ เมื ่ อ เราหายใจออก หรื อ อี ก นั ย หนึ ่ ง ก็ ค ื อ ยิ ่ ง คุ ณ หายใจออกนานขึ ้ น เท่ า ไหร่ ความเป็นด่าง ในร่างกายก็จะเพิม่ มากขึน้ เท่านัน้ และนีก่ ค็ อื หัวใจสำคัญขัน้ พืน้ ฐาน ของการฝึกชี่ ไดนามิกส์และการนำชี่ ไดนามิกส์ไปประยุกต์เพือ่ การรักษา กรดยูรกิ เป็นกรดทีร่ า่ งกายสร้างขึน้ เองโดยธรรมชาติ และเป็นทีท่ ราบกัน ดีวา่ หากร่างกายผลิตกรดยูรกิ ออกมามากเกินไปก็จะเป็นสาเหตุ ให้เกิดความเจ็บปวด เช่น อาการปวดตามข้อนิว้ เท้า ซึง่ เป็นอาการของโรคเกาต์ เซลล์มะเร็งชอบสภาพที่มีความเป็นกรด ตรงกันข้าม ความเป็นด่าง เป็นสภาพที่ไม่เอื้อต่อการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง ดังนั้น นี้จึงเป็นภาวะนำ ไปสูก่ ารรักษาและพิชติ เซลล์มะเร็ง ต่อไปนีค้ อื คำแนะนำในการสร้างสภาพความเป็นด่างให้แก่รา่ งกาย 1. บริโภคผักให้มากขึน้ โดยทัว่ ไป ยิง่ กินผักทีข่ มมากเท่าไหร่ ร่างกายก็จะ ยิง่ มีความเป็นด่างมากขึน้ เท่านัน้ ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

9

2. อาศัยปัจจัยภายนอกทำให้อารมณ์ดี อะไรก็ตามทีท่ ำให้คณ ุ มีความสุข เบิกบาน ผ่อนคลาย ปราศจากความกังวล สงบสุข เช่น การทำสมาธิ ฟังเพลงเบาๆ อารมณ์ขนั หรือความบันเทิงรูปแบบอืน่ ๆ ทีส่ ง่ ผลดีตอ่ สุขภาพ 3. การหายใจแบบชี่ จะช่วยสร้างสมดุลหยินหยาง และรักษาสมดุล pH ในร่างกายซึง่ เป็นกระบวนการทีล่ ะเอียดอ่อน 4. ประพฤติตนให้เป็นคนมองโลกในแง่ดอี ยูเ่ สมอ (PMA) ยิม้ และหัวเราะ เข้าไว้ให้มากๆ เพือ่ หลีกเลีย่ งสภาพความเป็นกรดของร่างกาย ควรลดสิง่ ต่างๆ เหล่านี้ 1. การบริ โ ภคอาหารทอดน้ ำ มั น ร้ อ นๆ เนื ้ อ แดง และเครื ่ อ งดื ่ ม แอลกอฮอล์ มากเกินไป อาหารเหล่านีล้ ว้ นแต่ทำให้เกิดความเป็นกรดในร่างกาย 2. ความสะเทือนใจและอารมณ์ในแง่ลบ เช่น ความโกรธ ความขมขื่น ความกลัว ความเหนือ่ ยหน่าย ความวิตกกังวล ความเครียด และซึมเศร้า 3. หายใจตื้นๆ เช่น หายใจแค่ช่องอกด้านบน (แทนที่จะหายใจลึกๆ เข้าไปถึงกะบังลม ซึง่ เป็นวิธกี ารหายใจทีเ่ ป็นกุญแจสำคัญของหลักการแห่งชี่ ไดนามิกส์) 4. ทัศนคติเชิงลบ หัดมองโลกในแง่ดี มองหาสิ่งดีๆ ที่แฝงอยู่ใน ความเลวร้าย เพือ่ ส่งเสริมภาวะแห่งการเยีย่ วยา ขณะเดียวกัน การมองโลกในแง่รา้ ย กลับทำให้สภาพจิตใจหดหูแ่ ละขัดขวางกระบวนการบำบัดรักษา โภชนาการเพือ่ การรักษา เป็นความจริงทีเดียวสำหรับคำกล่าวทีว่ า่ “เราเป็นอย่างทีเ่ รากิน” (หรือ “กินขยะ เราก็เป็นขยะ”)

10

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

สุขภาพจิตทีด่ ี แม้ว่าการบริหารลมหายใจจะช่วยยกระดับจิตวิญญาณ รักษาสมดุล ทางอารมณ์ และนำไปสู่จิตสำนึกแห่งการมีชีวิตที่ดี กระนั้นก็ตาม คุณยังต้องการ ทางเลือกอืน่ ๆ ด้วย จากประสบการณ์ที่ได้ทำงานกับผู้ป่วยมะเร็ง เราแนะนำให้คุณมองหา และพบปะกับบุคคลที่สามารถเป็นกำลังใจและช่วยเหลือคุณได้ หรืออาจจะเข้ากลุ่ม บำบัดร่วมกับผู้ที่หายจากมะเร็ง ซึ่งสามารถให้คำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญ และเข้ารับ การบำบัดกับผูท้ เ่ี สนอให้ความช่วยเหลือในทุกๆ ด้าน ซึง่ เขาเหล่านัน้ จะให้ คำแนะนำ ทีม่ ปี ระโยชร์ตอ่ การเปลีย่ นวิถชี วี ติ ของคุณเอง รายงานการวิจยั ระบุวา่ ผูป้ ว่ ยมีโอกาสทีด่ กี ว่า 30 เปอร์เซ็นต์ทจ่ี ะหายจาก มะเร็ง หากได้รบั กำลังใจและความช่วยเหลือจากผูอ้ น่ื ครูฝกึ ทีศ่ นู ย์สนับสนุนการรักษามะเร็ง (Cancer Care Support) ของเรา นอกจากจะสอนวิธกี ารหายใจแบบชี่ ไดนามิกส์แล้ว พวกเขายังเป็นแหล่งสนับสนุนทีด่ ี ในการเสริมสร้างกำลังใจให้แก่ผปู้ ว่ ยเพือ่ พิชติ มะเร็งอีกด้วย “เสียงหัวเราะคือยาขนานเอก” คือคำพูดยอดฮิตทีเ่ ราคุน้ เคยกันดีเพราะการ หัวเราะ จะไปกระตุน้ ‘ตัน เถียน’ ‘หัวเราะจนท้องแข็ง’ ซึง่ เป็นสิง่ ทีค่ วรกระทำ ทัศนคติเชิงบวก มะเร็งไม่ใช่แค่โรคที่เกิดขึ้นกับร่างกาย หากเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กับจิต และจิตวิญญาณ แม้ว่านี่เป็นช่วงเวลาที่ทุกข์ระทมที่สุดในชีวิต แต่มันก็ช่วยให้คุณมองเห็น ทางเลือก คุณสามารถเลือกทีจ่ ะคิดในแง่ลบ ซึมเศร้า และยอมแพ้ ต่อความหวาดกลัว ของตัวเอง หรือคุณเลือกทีจ่ ะคิดในแง่บวก อย่างหลังนีแ่ ม้อาจต้องใช้ความพยายาม มากสักหน่อย แต่คณ ุ จะมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี น้ึ อย่างแน่นอน และโอกาสทีเ่ ป็นผูช้ นะ ก็มมี ากขึน้ ด้วย การทีจ่ ะคิดในแง่บวกได้ คุณต้องหัดใช้ชวี ติ ให้มคี วามสุข มองโลกในแง่ดี และรู้จักยินดีต่อความโชคดีของตัวเอง (แน่นอนว่าคงต้องมีอยู่บ้าง) อย่าจมอยู่กับ ความสงสารตัวเอง ยังมีคนอีกเป็นจำนวนมากทีต่ อ่ สูแ้ ละเอาชนะ ‘ศัตรู’ ตัวเดียวกับที่ ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

11

คุณเผชิญอยู่ ดังนั้นไม่ว่าจะเผชิญกับความน่าสะพรึงกลัวเพียงไร คุณก็สามารถ เอาชนะมันได้ จงจดจ่ออยู่กับสิ่งที่ก่อให้เกิดแรงกระตุ้น แรงบันดาลใจและอารมณ์ขัน รวมทัง้ สือ่ โปรแกรมต่างๆ ทัง้ ภาพและเสียง หันไปมองคนอืน่ ๆ และดูวา่ เขาจัดการ และเอาชนะความหวาดกลัว ความซึมเศร้า ความวิตกกังวล นำประสบการเหล่านัน้ มาปรับใช้กบั ตัวเอง อย่ายอมแพ้หรือเลิกล้มความตัง้ ใจ อย่างเด็ดขาด ข้อควรจำ : มะเร็งไม่ใช่เป็นโทษประหารชีว ิต หากแต่เป็นเพียง อุปสรรคและความท้าท้ายที่เราต้องเอาชนะให้ได้ จงร่วมเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม คนที ่ ก ล้ า เผชิ ญ และต่ อ สู ้ ก ั บ โรคมะเร็ ง อย่ า งเด็ ด เดี ่ ย ว แน่ ว แน่ ไม่ ย อมแพ้ . .. และท้ายทีส่ ดุ กลายเป็นผูช้ นะ “ความศรัทธาสามารถเคลื่อนภูเขาทั้งลูกได้” หากคุณเชื่อมั่นศรัทธา ในสิง่ หนึง่ สิง่ ใด สิง่ นัน้ จะเกือ้ หนุนให้คณ ุ ฟืน้ จากความเจ็บป่วยได้ หากคุณมีความศรัทธา และเชือ่ มัน่ จงยึดมัน่ ไว้ แล้วสิง่ นัน้ จะเกือ้ หนุนให้คณ ุ ยืนหยัดอยูไ่ ด้ตลอดไป เซลล์มะเร็งไม่เจริญเติบโตในสภาพแวดล้อมทีม่ อี อกซิเจน การฝึกบริหารลมหายใจแบบชี่ ไดนามิกส์ การบริหารร่างกาย และการทำ สมาธิเป็นประจำทุกวันจะช่วยอัดฉีดออกซิเจนปริมาณมากเข้าสู่เซลล์ การบำบัด ด้ ว ยออกซิ เ จนเป็ น อี ก วิ ธ ี ห นึ ่ ง ที ่ ใ ช้ ท ำลายเซลล์ ม ะเร็ ง อย่ า งได้ ผ ล จงศึ ก ษา และปฏิบตั ติ ามวิธกี ารของชี่ ไดนามิกส์ ใช้มนั บำบัดตนเอง ได้บอ่ ยเท่าทีต่ อ้ งการ โดยไม่ตอ้ งเสียเงินแม้แต่สตางค์เดียว ชี่ ไดนามิกส์ชว่ ยให้รา่ งกายอยูใ่ นสภาพความเป็นด่างมากขึน้ ทัง้ ยังช่วย เสริมสร้างให้ระบบภูมคิ มุ้ กันแข็งแกร่งยิง่ ขึน้ ในทุกๆ ครัง้ ทีป่ ฏิบตั ิ มีปจั จัยหลายอย่างในชีวติ ทีเ่ ราสามารถควบคุมและเปลีย่ นแปลง เพือ่ สร้าง ผลลัพธ์ที่แตกต่างออกไป วิธีการนี้ก็เป็นวิธีที่เปลี่ยนแปลงอันสำคัญอย่างหนึ่ง ทีเ่ ราสามารถทำได้ และต้องทำ

12

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

ลองถามตัวเองว่า ฉันจะมีชวี ติ อยูไ่ ด้นานแค่ไหนหากปราศจากอาหาร ฉันจะมีชวี ติ อยูไ่ ด้นานแค่ไหนหากปราศจากน้ำ ฉันจะมีชวี ติ อยูไ่ ด้นานแค่ไหนหากปราศจากอากาศ เราเปลีย่ นแปลงสิง่ ทีเ่ รากินและดืม่ อยูเ่ สมอๆ ลองทำเช่นนัน้ บ้าง กับอากาศ ทีเ่ ราหายใจเข้าไป โดยการหายใจด้วยวิธที เ่ี หมาะสม เพราะว่ามันจะช่วยสร้างพลังชีวติ ทีแ่ ตกต่างและมีความสำคัญอย่างยิง่ ยวดต่อสุขภาพ และคุณสามารถได้รบั ประโยชน์ จากมันอย่างไม่มวี นั สิน้ สุด จงหายใจเอาอากาศที่มีคุณภาพดีที่สุดและมากที่สุดทุกๆ ครั้งที่ คุณหายใจ เพราะนีค่ อื ทัง้ หมดทีเ่ กีย่ วข้องกับชี่ ไดนามิกส์

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

13

3 ชี่ ไดนามิกส์ และผลต่อการรักษามะเร็ง ชี่ ไดนามิกส์ คือ ‘ศิลปะ’ อย่างหนึง่ ทีก่ อ่ ให้เกิดพลังแห่งคุณประโยชน์ และพลังแห่งการบำบัด โดยอาศัยการผสมผสานของทั้งความผ่อนคลาย และ ความเป็นหนึง่ เดียวกันของจิตใจ (ยิ) และร่างกาย วัตถุประสงค์และกระบวนการซึง่ เป็นหัวใจสำคัญของชี่ ไดนามิกส์คอื การก่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดจากการนำออกซิเจน เข้าสูร่ า่ งกายเพือ่ สร้างเสริมสุขภาพทีด่ แี ละการรักษาเยียวยาตนเอง ทำไมต้องเน้นย้ำว่าเป็นออกซิเจน และออกซิเจนเกีย่ วข้องอย่างไรกับการ ป้องกันและการบำบัดมะเร็ง แม้จะมีเสียงวิพากษ์วิจารณ์ว่าเรื่องดังกล่าวไม่เป็นความจริง แต่ผลวิจัย ทางการแพทย์และข้อคิดเห็นจำนวนมากได้ให้ความเห็นว่า เซลล์ที่แทบจะไม่ได้รับ ออกซิเจนมีแน้วโนมทีจ่ ะกลายพันธุเ์ ป็นเซลล์ผดิ ปกติ ในขณะทีเ่ ซลล์ทไ่ี ด้รบั ออกซิเจน อย่างเต็มทีก่ ลับไม่เป็นเช่นนัน้ (เช่น ก่อให้เกิดเป็นมะเร็ง) นอกจากนี้ เซลล์ทไ่ี ด้รบั ออกซิ เ จนจำนวนมาก เช่ น จากการหายใจเอาออกซิ เ จน ปริ ม าณเพี ย งพอ และมีประสิทธิภาพจะทำให้รา่ งกายสดชืน่ กระปรีก้ ระเปร่า และนำไปสูส่ ขุ ภาพทีด่ ขี น้ึ ในการบำบัดและรักษาผูป้ ว่ ยมะเร็ง การหายใจด้วยวิธกี ลัน้ ลมหายใจ (Block of Breathing) แบบชี่ ไดนามิกส์นับว่าเป็นวิธีการหนึ่งที่มีประโยชน์อย่างยิ่ง เนือ่ งจากช่วยให้ 1. บรรเทาความเจ็บปวด 2. เพิม่ พลังงาน 3. กระตุน้ ต่อมน้ำเหลืองทำงานอย่างมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ 4. ดูดซึมสารอาหารได้ดขี น้ึ และช่วยในการย่อยอาหาร 5. เพิม่ ประสิทธิภาพการกำจัดของเสียออกจากร่างกาย 6. เสริมสร้างระบบภูมคิ มุ้ กันของร่างกาย 7. เพิม่ ระบบการไหลเวียนโลหิตและกระจายความร้อน 8. เพิม่ ปริมาณการหลัง่ เคมีทางสมอง โดยเฉพาะสารเอนโดฟินส์ ซึง่ ช่วยบรรเทาความเจ็บปวด 14

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

9. นอนหลับและผ่อนคลายมากขึน้ 10. กระตุน้ จิตสำนึกของการมีชวี ติ อย่างมีคณ ุ ภาพ เพือ่ ช่วยบรรเทาอาการ ซึมเศร้า ความวิตกกังวลและความเครียด 11. ปรับสมดุลของหยินหยางให้กลับสูป่ กติและคงสภาพสมดุลนัน้ ไว้ ซึง่ มีความจำเป็นยิง่ ต่อการดำรงของสุขภาพทีด่ ที ง้ั กายและใจ การบำบัดมะเร็งด้วย ชี่ ไดนามิกส์ 1. ขอย้ ำ อี ก ครั ้ ง ว่ า ชี ่ ไดนามิ ก ส์ ไ ม่ ใ ช่ เ ป็ น อี ก ทางเลื อ กของการ รักษามะเร็ง หากแต่เป็นการบำบัดเพื่อ ‘เสริมและเกื้อหนุน’ เพื่อใช้ร่วมกับ การรักษาทางแพทย์แบบแผนให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ 2. การหายใจด้ ว ยวิ ธ ี ก ารกลั ้ น หายใจ เป็ น วิ ธ ี ก ารบริ ห ารลมหายใจ ในสภาวะผ่ อ นคลาย ที ่ ไ ม่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด ความเสี ย หายต่ อ ร่ า งกายซึ ่ ง ต่ า งไปจาก การออกกำลั ง กายโดยทั ่ ว ไป ที ่ ท ำให้ เ กิ ด ภาวะตึ ง เครี ย ดและความเหนื ่ อ ยล้ า (ในทางตรงกันข้ามก็คือส่งเสริมให้ร่างกายเกิดความผ่อนคลายและสุขภาพที่ดี) คุณสามารถบริหารลมหายใจด้วยวิธีนี้ 5-7 ครั้งต่อวัน ครั้งละครึ่งถึงหนึ่งชั่วโมง หรือมากกว่านัน้ ในระยะเริ่มต้น การฝึกแต่ละครั้งควรกินเวลานานเท่าที่คุณจะทำได้ จนกระทั่งคุณได้รับ ‘สัญญาณ’ ที่บ่งบอกว่า ‘ชี่’ (การไหลของพลัง) ได้ไหลเวียน ไปทัว่ ร่างกาย z คลื่นความร้อนไหลเวียน เริ่มจากความร้อนแบบอ่อนๆ เปลี่ยนเป็น ความร้อนระดับปานกลางวิง่ แล่นไปทัว่ ร่างกายโดยเฉพาะทีบ่ ริเวณใบหน้า กระดูกสันหลัง มือและนิว้ z ให้ความรู้สึกซ่าๆ (แต่เป็นความรูสึกอภิรมย์ ไม่ใช่รู้สึกเหมือนถูก เข็มทิม่ แทง) z มีความรู้สึกปุดๆ แต่สบายๆ เหมือนมีเลือดไหลเวียนอยู่ใต้ผิวหนัง บางครั้งอาจรู้สึกลึกๆ รอบๆ บริเวณใบหน้าและศีรษะ และบางครั้งก็แล่นขึ้น ไปทีบ่ ริเวณไรผมและหนังศีรษะ z สั่นสะท้อนไปทั่วร่าง คุณอาจจะยังไม่รู้สึกในช่วงแรก แต่หลังจากนั้น ร่างกายจะรูส้ กึ มากขึน้ (โดยเฉพาะกับผูท้ ฝ่ี กึ ฝนเป็นประจำ) อย่าต่อต้านความรูส้ กึ นัน้ ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

15

ปล่อยให้มันเกิดขึ้น อาการเช่นนี้จะเป็นที่สังเกตได้มากขึ้น และรู้สึกได้ถึงการเต้น ของชีพจรทีแ่ ล่นไปทัว่ ร่าง 3. หากมีอาการปวด ความเจ็บปวดจะหายไป ไม่ว่าความเจ็บปวดนั้น จะรุนแรงขนาดไหน ด้วยการปฏิบัติอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอ ความเจ็บปวด เหล่านัน้ จะหายไป จนคุณรูส้ กึ ได้ z ชาและอุน่ เล็กน้อยบริเวณทีป่ วด z ความเจ็บปวดค่อยๆ หายไปและหมดสิน้ ไปในทีส่ ดุ z มีความรู้สึก ‘เบาตัว’ ตามมาซึ่งเป็นสัญญาณแสดงว่ามีการหลั่งของ เอนโดฟินส์ ซึ่งเป็นสารเคมีที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติในสมองที่ทำให้เกิดความสุข และมีประโยชน์ นี่คือขั้นตอนแรกของการนำไปสู่การบำบัด และบ่งชี้ว่าคุณบริหาร ลมหายใจได้ถกู ต้องแล้ว z หายใจเป็นจังหวะมากขึ้นโดยไม่ต้องบังคับลมหายใจ และสามารถ หายใจได้อย่างต่อเนือ่ ง มีนำ้ หนักจังหวะจะโคน นีค่ อื สัญญาณบ่งชีว้ า่ คุณปฏิบตั ถิ กู วิธี บริหารการหายใจด้วยวิธี ‘กลัน้ ลมหายใจ’ ให้มากขึน้ เพือ่ ขจัดความปวด หรือหากสังเกตได้วา่ วัฏจักรของความปวดจะหวนกลับมาอีกครัง้ ก็ให้บริหารลมหายใจ ด้ ว ยวิ ธ ี น ี ้ เ พื ่ อ สกั ด กั ้ น ก่ อ นความเจ็ บ ปวดจะเวี ย นกลั บ มา ถ้ า เป็ น ไปได้ อ ย่ า รอ จนกระทัง่ เกิดอาการปวดรุนแรงแล้วจึงบริหารลมหายใจ เพราะในสถานการณ์ เช่นนัน้ ความปวดจะทำให้คณ ุ รวบรวมสมาธิได้ยาก ทำให้การบริหารลมหายใจ ยากลำบาก 4. ไม่เป็นอันตรายหากฝึกมากเกินไป การบริหารลมหายใจ ด้วยวิธกี ารนี้ ไม่สง่ ผลข้างเคียงใดๆ แม้จะปฏิบตั มิ ากกว่าทีแ่ นะนำ 5. อารมณ์ ค วามรู ้ ส ึ ก มี ส ่ ว นควบคุ ม การหายใจของคุ ณ ดั ง นั ้ น การ เปลี่ยนแปลงวิธีการหายใจจึงสามารถเปลี่ยนแปลงอารมณ์ความรู้สึกได้ เช่นกัน เพือ่ ให้เห็นภาพการเปลีย่ นแปลงนีอ้ ย่างชัดเจนยิง่ ขึน้ ให้คดิ ถึงช่วงเวลาในชีวติ ทีค่ ณ ุ เศร้า กลัว โกรธ หรือวิตกกังวล แล้วคิดย้อนกลับไปว่า ณ ช่วงเวลาทีเ่ กิดความรูส้ กึ เหล่านัน้ การหายใจของคุณเป็นอย่างไร หากยังจำได้คณ ุ จะทราบว่า คุณหายใจตืน้ ๆ เร็ว หรือ/ และผิดปกติ และไม่เป็นจังหวะ นี่คือลักษณะการหายใจของผู้ที่อยู่ในสภาวะ อารมณ์ไม่ปกติ ในทางตรงกันข้าม หากเราหายใจได้ลึกและเป็นจังหวะ (หายใจด้วย 16

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

กะบังลม) เราจะมีสติ มัน่ ใจ มีสมาธิ และแข็งแรงขึน้ และนัน่ ก็เป็นภาวะทีเ่ ราพึงต้องการ ให้เกิดขึน้ และอยูน่ านๆ อันทีจ่ ริงแล้วมีคำกล่าวของ ชี่ กง ทีก่ ล่าวว่า “อารมณ์ควบคุม การหายใจของท่าน การหายใจแบบชีก่ ค็ วบคุมอารมณ์ทา่ น” 6. ดังที่ได้กล่าวไปแล้วว่า ทัศนคติเชิงบวกคือสิ่งสำคัญที่ช่วยสนับสนุน และนำมาซึง่ สุขภาพทีด่ ี รอยยิม้ คือยาขนานเอก ดังนัน้ ขณะทีบ่ ริหารลมหายใจด้วยวิธี ‘กลัน้ ลมหายใจ’ นัน้ คุณควรจะยิม้ ให้มากๆ และบ่อยเท่าทีจ่ ะเป็นไปได้ การยิม้ ช่วย ผ่อนคลายกล้ามเนื้อบนใบหน้า และกระตุ้นให้ร่างกายหลั่งเอนโดฟินส์ ซึ่งจำเป็น อย่างยิง่ ต่อกระบวนการบำบัดความเจ็บปวดตามธรรมชาติ ในทางกลับกัน การทำหน้า นิว่ คิว้ ขมวดจะก่อ ให้เกิดความตึงเครียดและไปขัดขวางการหลัง่ ของเอนโดฟินส์ 7. การหายใจด้ ว ยกะบั ง ลม (หรื อ ที ่ เ รี ย กว่ า การหายใจด้ ว ยท้ อ ง) ไม่ได้หมายถึงการหายใจเอาอากาศเข้าไปในกระเพาะอาหาร หากแต่หมายถึง การหายใจเข้าลึกๆ ให้เต็มปอดแทนทีจ่ ะหายใจเข้าไปแค่ชอ่ งอก การหายใจโดยวิธนี ้ี เป็นการหายใจตามธรรมชาติซึ่งพบได้ในเด็กทารก ให้สังเกตว่า เมื่อเราหายใจเข้า ช่องท้องของเราจะขยายออกมากกว่าช่องอก ดังนั้นการหายใจด้วยวิธีนี้จึงเป็น การหายใจทีเ่ หมาะสมตามกลไกตามธรรมชาติซง่ึ ดีตอ่ สุขภาพ ต่อไปนี้คือกลไกการหายใจที่เหมาะสม 1. ขณะที่หายใจเข้า ให้สูดอากาศเข้าไปลึกๆ จนถึงบริเวณช่องท้อง วิธีนี้จะทำให้ปอดได้รับอากาศมากขึ้น และไม่ทำให้ร่างกายตึงเครียดเหมือนกับ ‘การหายใจด้วยช่องอก’ 2. เวลาทีห่ ายใจออก ควรแขม่วท้องจนรูส้ กึ เหมือนท้องแบนราบ ติดกระดูก สันหลัง การหายใจด้วยวิธนี จ้ี ะทำให้ กะบังลมถูกยกขึ้นและไล่อากาศเสีย ทีอ่ ยูด่ า้ นล่างของปอด การทีจ่ ะหายใจ เอาอากาศเข้าปอดให้มากทีส่ ดุ ได้นน้ั คุณจะต้องไล่อากาศเสีย ภายในปอด ออกมาให้มากทีส่ ดุ ด้วย เช่นกัน ซึง่ นัน้ ก็หมายความว่าคุณจะต้องแขม่วท้อง ให้มากทีส่ ดุ ขณะทีห่ ายใจออกนัน่ เอง ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

17

ข้อควรจำก่อนการปฏิบตั ิ 1. หายใจเข้า ควรหายใจแค่พอให้กะบังลมเคลื่อนไหว ได้สะดวก ในกรณี น ี ้ ก ารหายใจแต่ น ้ อ ยให้ ผ ลที ่ ด ี ก ว่ า จุ ด ประสงค์ ข องการหายใจแบบนี ้ เพือ่ ให้เกิดความสบาย และผ่อนคลายแม้วา่ อากาศทีห่ ายใจเข้าไปจะมีปริมาณน้อย แต่นน่ั ก็มปี ระสิทธิภาพมากพอทีจ่ ะทำให้ ‘ชี’่ ไหลเวียน 2. หายใจออกให้หมด เพราะเป้าหมายคือกำจัดอากาศเสียทั้งหมด ออกไปจากปอดทุกครัง้ ทีห่ ายใจออก เพือ่ เติมอากาศใหม่เข้าไปแทนที่ วิธกี ารหายใจแบบกลัน้ ลมหายใจ (The Block of Breathing) หมายเหตุ ใช้วธิ กี ารหายใจด้วยกะบังลมตลอดการปฏิบตั ิ ขัน้ ที่ 1 เตรียมตัวและจัดท่าทางของร่างกาย z นอนหงาย หากยังรู้สึกไม่สบายก็ให้พยายามปรับเปลี่ยนท่าทาง จนกระทัง่ รูส้ กึ สบาย (สิง่ สำคัญคือต้องรูส้ กึ สบาย) z หนุ น ศีร ษะด้ วยหมอนที ่ ค ่ อ นข้ า งแข็ง หรือ ม้ ว นผ้ าเช็ด ตัว กลมๆ วางไว้ใต้คอ เพือ่ ไม่ให้นำ้ หนักของศีรษะตกลงบนคอ z ยกขาขึน้ สูงเพือ่ ช่วยการไหลเวียนของเลือด โดยจะวางขาบน หมอนอิง หรือบนม้านัง่ ก็ได้ z เมื่อรู้สึกระดับพลังงานในร่างกายลดลงแล้ว ให้วางกระเป๋าน้ำร้อน หรือบนท้องน้อยบริเวณใต้สะดือ จะช่วยให้ระดับความร้อนและพลังงานสูงขึ้น อย่างรวดเร็ว z เพ่งสมาธิไปทีท่ อ้ งน้อยหรือ ‘ตัน เถียน’ ซึง่ อยูต่ ำ่ จากสะดือประมาณ 2 นิว้ หรือ 5 ซม. (ตัน เถียน คือศูนย์กลางพลังงาน ซึง่ ในชี่ กง ถือว่าเป็น ‘ศูนย์กลาง แห่งอายุวฒ ั นะ’ (ทีพ่ ำนักของชี)่ และควรรักษาให้อบอุน่ อยูเ่ สมอ)

18

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

ขัน้ ที่ 2 ผ่อนคลาย ผ่อนคลายและปลดปล่อยความตึงเครียดบริเวณกล้ามเนือ้ ไหล่ และลำตัว ท่อนบน วิธกี ารหนึง่ ทีท่ ำแล้วได้ผลดีคอื โน้มตัวจากช่วงเอวขึน้ มา ยกไหล่แต่ละข้างขึน้ มาทีห่ ู จากนัน้ ให้หมุนไหล่ไปข้างหน้า เสร็จแล้วจึงเอนตัวลงนอนอย่างเดิม วิธนี จ้ี ะทำให้ ไหล่ของคุณผ่อนคลายมากขึน้ คุณอาจจะปรับร่างกายไปเรือ่ ยๆ จนกว่าจะรูส้ กึ สบาย และผ่อนคลาย ขัน้ ที่ 3 เพ่งสมาธิไว้ท่ี ‘ตัน เถียน’ ตรวจสอบจนแน่ ใ จว่ า สมาธิ ข องคุ ณ ยั ง จดจ่ อ อยู ่ ท ี ่ จ ุ ด ‘ตั น เถี ย น’ ถ้ามีความคิดอื่นแวบเข้ามา ให้ตระหนักรู้ถึงความคิดนั้นแล้วค่อยๆ ดึงสติกลับมา ให้จติ กลับไปจดจ่ออยูท่ ่ี ตัน เถียน “ณ ทีท่ จ่ี ติ จดจ่อ ทีน่ น่ั คือแหล่งพลังงาน” ขัน้ ที่ 4 หายใจเข้า z หายใจเข้ า อย่ า งนุ ่ ม นวลทางจมู ก เท่ า นั ้ น (อย่ า หายใจทางปาก เพราะอากาศทีห่ ายใจผ่านปากจะไม่สะอาด ในขัน้ ตอนนีย้ งั ไม่ตอ้ งนับเวลา z สูดอากาศเข้าปอดอย่างนุม่ นวล (นัน่ คือ ไม่สดู อากาศเข้ามากเกินไป) จนท้องน้อยป่องออก (การหายใจแบบนี้จะทำให้กะบังลมหดตัวและปอดขยายขึ้น ซึง่ ทำให้อากาศเข้าไปในปอดได้มากและง่ายขึน้ ) ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

19

ข้อควรระวัง : อย่าหายใจเร็วเกินไป นั่นคือ อย่าหายใจลึกและ/หรือ เร็วเกินไป เพราะแทนที่ท้องน้อยจะป่องออก เมื่อหายใจเข้า กลับเป็นหน้าอกที่จะยกขึ้น และขยายออก ทำให้อากาศถูกดูดเข้าสูห่ น้าอกส่วนบนอย่างรวดเร็ว ซึง่ เป็นการหายใจ ทีผ่ ดิ วิธี หากทำเช่นนัน้ อย่างต่อเนือ่ งจะส่งผลให้กล้ามเนือ้ ทัว่ ร่างกายเกิดความตึงเครียด และทำให้ ‘การหายใจด้วยวิธกี ลัน้ ลมหายใจ’ ไม่ได้ผล ขัน้ ที่ 5 กลัน้ ลมหายใจ - กลัน้ ครัง้ ที่ 1 กลัน้ หายใจไว้ 4 วินาทีหรือนับ 1-4 จากนัน้ ผ่อนคลายแล้ว z ค่อยๆ ขมิบฝีเย็บ/ถุงอัณฑะเบาๆ และค่อยๆ ขมิบทวารหนักอย่างเป็น ธรรมชาติ อย่าเกร็ง z การทำเช่นนีจ้ ะส่งผลให้บริเวณอุง้ เชิงกรานยกตัวขึน้ อย่างนุม่ นวล หมายเหตุ : การลั ้ น ลมหายใจจะทำให้ เ กิ ด พลั ง งานและความร้ อ น ซึง่ จะนำไปใช้ประโยชน์ในขัน้ ต่อไป ขัน้ ที่ 6 หายใจออก (แบบซุย่ ) z ห่อริมฝีปากเหมือนกำลังจะผิวปาก เป่าลมหายใจออกทางปากช้าๆ และสม่ำเสมอเป็นเวลา 6 วินาที เมือ่ ฝึกได้ดขี น้ึ ให้เพิม่ เวลาเป็น 9-12 วินาที z สิง่ สำคัญ : ขณะหายใจออก ค่อยๆ แขม่วท้องน้อยจนแบบติดกระดูก สันหลัง โดยเริม่ ทีบ่ ริเวณจุดตัน เถียน คงสภาพนีไ้ ว้อย่างต่อเนือ่ ง แต่อย่ามากถึงกับต้องเกร็งจุด ‘ตัน เถียน’ (โปรดจำไว้วา่ จุดนี้ อยูใ่ ต้สะดือ ลงมาประมาณ 2 นิว้ ) หมายเหตุ : z การหายใจออกคือขั้นตอนที่มีความสำคัญที่สุดของการหายใจแบบชี่ ทำหน้าทีค่ ล้ายกับ ‘ปัม้ ’ ทีส่ ง่ ความร้อนและพลังแห่งการรักษา (ทีค่ ณ ุ สร้างขึน้ ตอนที่ กลัน้ หายใจ) ไปทัว่ ร่างกาย z โดยทัว่ ไป ยิง่ หายใจออกนานเท่าใด ร่างกายของคุณก็ยง่ิ ผ่อนคลายและ มีสภาพเป็นด่างมากขึ้นเท่านั้น (โปรดจำไว้ว่าความ เครียด และความเหนื่อยล้า ทำให้รา่ งกายมีสภาพเป็นกรด) ขัน้ ที่ 7 กลัน้ ลมหายใจครัง้ ที่ 2 นีค่ อื ขัน้ ตอนสุดท้ายของรอบการหายใจแบบกลัน้ ลมหายใจ 20

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

หลังจากทีห่ ายใจออกอย่างเต็มที่ ให้กลัน้ ลมหายใจไว้ 4 วินาที (นับ 1-4) ก่อนที่จะหายใจเข้าอีกครั้ง ผ่อนคลายอุ้งเชิงกรานในขณะที่กลั้นหายใจครั้งนี้ ซึง่ เป็นการกลัน้ หายใจครัง้ ที่ 2 ขึ้นรอบการหายใจใหม่โดยเริ่มจากขั้นที่ 4-7 และทำต่อไปอย่างน้อย ครึง่ ชัว่ โมง หรือมากกว่านัน้ ควรฝึกปฏิบตั อิ ย่างสม่ำเสมอ แล้วจะเห็นผลตามมา ปฏิบตั ติ อ่ ไป อย่าท้อแท้ ขณะที่เรียนรู้และฝึกฝนอะไรใหม่ๆ คุณอาจเกิดความรู้สึกว่าตนเอง ต้องปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ต่างๆ ราวกับหุ่นยนต์ รู้สึกไม่เป็นธรรมชาติหรืออาจจะ หงุดหงิดหากหลงลืมขัน้ ตอน หรือข้าม “จุดสำคัญ” ของเทคนิคทีถ่ กู ต้องไป สิ่งเหล่านี้เป็นเรื่องปกติและสามารถเกิดขึ้นได้ แต่อย่าให้มันมายับยั้งคุณ จากการฝึกต่อไป แล้วคุณก็จะผ่านมันไปได้ เมือ่ ฝึกปฏิบตั ติ อ่ ไปเรือ่ ยๆ การฝึกจะเป็นธรรมชาติมากขึน้ คุณจะหายใจ เป็นจังหวะและสามารถเพ่งสมาธิไว้ท่ี ‘ตัน เถียน’ ได้งา่ ยขึน้ ด้วย จำไว้ว่า “กรุงโรมไม้ได้สร้างเสร็จภายในวันเดียว” ทุกอย่างต้องใช้เวลา แต่คุณจะประหลาดใจเมื่อได้รับประโยชน์จากการฝึกตามเทคนิคดังกล่าว ในเวลา อันรวดเร็ว หากรู้สึกล้า อย่าฝืน ให้หลับไป เพราะความเหนื่อยล้าคือสัญญาณเตือน ของร่างกายทีต่ อ้ งการการพักผ่อนและฟืน้ ฟู การพักผ่อนคือ ‘ภาวะการรักษาตัวเอง’ เมื ่ อ คุ ณ ตื ่ น ขึ ้ น หรื อ รู ้ ส ึ ก กระฉั บ กระเฉงขึ ้ น อี ก ครั ้ ง แล้ ว จึ ง ค่ อ ยฝึ ก หายใจด้ ว ย ‘วิธกี ลัน้ ลมหายใจ’ ต่อ สรุป : ความรูส้ กึ ทีอ่ าจเกิดขึน้ ได้ระหว่างฝึกหายใจด้วยวิธกี ลัน้ ลมหายใจอย่างถูกวิธี คุณจะรู้ว่าตนเองบริหารลมหายใจแบบชี่ได้อย่างถูกต้องก็ต่อเมื่อคุณเกิด ความรู้สึกต่อไปนี้ (แม้ว่าแต่ละคนอาจจะเกิดความรู้สึกต่างกันไปแต่โดยทั่วไป แล้วรูส้ กึ คล้ายคลึงกัน) ความร้อนไหลเวียน คลืน่ ความร้อนจะไหลเวียนไปทัว่ ร่าง เริม่ จากความร้อนแบบอุน่ ๆ แล้วสูงขึน้

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

21

สูค่ วามร้อนระดับปานกลาง โดยเฉพาะบริเวณใบหน้า กระดูกสันหลัง มือและนิว้ (ระบบ การไหลเวียนโลหิตไปรอบร่างกายจะดีขน้ึ ) ความรูส้ กึ แปลบๆ ซ่าๆ เป็นความรูส้ กึ ทีด่ ี ไม่ใช่ความรูส้ กึ เหมือนถูกเข็มทิม่ แทง ความรูส้ กึ ร้อนปุดๆ มีความรู้สึกร้อนปุดๆ เหมือนมีเลือดไหลเวียนอยู่ใต้ผิวหนัง บางครั้ง อาจเกิดขึน้ ทีบ่ ริเวณใบหน้าและศีรษะ และบางทีกแ็ ล่นขึน้ ไปทีบ่ ริเวณไรผมและหนังศีรษะ สัน่ สะท้านไปทัว่ ร่าง แรกๆ คุณจะรูส้ กึ ว่าร่างกายสัน่ สะท้านเบาๆ อย่าต่อต้านความรูส้ กึ นัน้ ปล่อย ให้เป็นไป เมือ่ รูส้ กึ สัน่ สะท้านมากขึน้ ไปเท่าไหร่ ตัวก็จะสัน่ เห็นได้ชดั ยิง่ ขึน้ เท่านัน้

22

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

4 ลดความเครียดและล้างพิษ การบริหารร่างกายทีอ่ อกแบบมาเป็นพิเศษเพือ่ จุดประสงค์น้ี 1. การบริหารร่างกายเพือ่ ลดความเครียด ความเครียดทำให้รา่ งกายเกิดสภาพความเป็นกรด ซึง่ เป็นภาวะทีไ่ ม่เอือ้ ต่อ การเยียวยาและฟื้นฟูสุขภาพ การบริหารร่างกายต่อไปนี้คืดการบำบัดอย่างง่ายๆ ทีช่ ว่ ยลดความเครียดได้ ก) จุดทีต่ า/การกระตุน้ ใบหน้า การบริหารด้วยวิธนี ป้ี ระยุกต์มาจากหลักการของ ‘การกดจุด’ (Acu-Pressure) เพือ่ กระตุน้ เส้นประสาทตา และกล้ามเนือ้ บางมัด รอบดวงตา รวมทัง้ กล้ามเนือ้ บนใบหน้า อีกทัง้ ยังช่วยลดอาการปวดศีรษะและดวงตาอ่อนล้าได้อกี ด้วย

วิธีทำ ถูฝ่ามือทั้งสองข้างจนฝ่ามือและนิ้วร้อน เริ่มด้วยการกระตุ้น ‘จุดที่ตา’ (ใกล้รมิ เบ้าตา) และจุดต่างๆ บนใบหน้า การกดจุดคือการประยุกต์โดยการใช้นว้ิ ‘กด’ และ ‘ทะลวง’ จุดต่างๆ (โดยคลึงเป็นวงเบาๆ) ดังปรากฏในภาพ ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

23

z

z

หัวคิ้ว

z

กึง่ กลางคิว้

z

หางคิว้

z

กิง่ กลางใต้ตา

บริเวณร่องใต้โหนกแก้ม

z

z

24

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

ระหว่างจมูกและริมฝีปากบน

ประคบดวงตาด้วยฝ่ามือ ทัง้ สองทีถ่ กู นั แล้ว

ข) กระตุน้ ประสาทหู ถูฝา่ มือทัง้ สองจนฝ่ามือและนิว้ ร้อน บีบและนวดใบหูทง้ั สองข้าง จนกระทัง่ รูส้ กึ ร้อนและซาบซ่า

ค) กระตุน้ ศรีษะโดยใช้วธิ ี ‘เคาะ’ ถูฝา่ มือทัง้ สองข้างอีกครัง้ จากนัน้ ใช้ปลายนิว้ เคาะศรีษะทัง้ ด้านบน และด้านข้าง

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

25

2. การบริหารร่างกายเพือ่ ล้างพิษ การบริหารร่างกายแบบชีเ่ พือ่ กระตุน้ ระบบถ่ายเทน้ำเหลือง ถูกออกแบบมา เป็นพิเศษเพือ่ จุดประสงค์ทส่ี ำคัญคือการล้างพิษ ร่างกายจะฟืน้ ตัวเร็วขึน้ หากปราศจาก สารพิษ การล้างพิษจึงเป็นกลไกที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการรักษาและฟื้นฟูสุขภาพ ทีช่ ว่ ยให้รา่ งกายสมบูรณ์แข็งแรง แม้แต่ในผูท้ ม่ี สี ขุ ภาพดีอยูแ่ ล้วก็ตาม ก) กระตุน้ ระบบถ่ายเทน้ำเหลืองบริเวณแขน และขาโดย ‘วิธกี ารตบ’ ‘การกระตุน้ ด้วยการตบ’ คือการใช้ฝา่ มือตบเบาๆ ลงบนแขน โดยเริม่ ตบ จากต้นแขน ด้านนอกลงมา แล้วตบกลับขึน้ ไปทางด้านในแขนสูร่ กั แร้ จากนัน้ เปลีย่ นมา ทีข่ าเริม่ จากต้นขาด้านนอกลงไปจนถึงข้อเท้าแล้ววกกลับทางขาด้านในขึน้ ไปทีข่ าหนีบ

26

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

ข)

การยืดกล้ามเนือ้ กระตุน้ ระบน้ำเหลือง ยกแขนเหนือศีรษะ

หลังจากบริหารลมหายใจด้วย ‘วิธกี ลัน้ ลมหายใจ’ แล้วให้บริหารร่างกาย ต่อด้วยการยึดกล้ามเนือ้ เพือ่ กระตุน้ ต่อมน้ำเหลือง ซึง่ สามารถทำได้ทง้ั ในท่านอน นัง่ หรือยืน ท่านี้เน้นการยืดแขนและมือขึ้นเหนือศีรษะให้มากที่สุดเท่าที่ร่างกายยังคง รูส้ กึ สบาย เพือ่ กระตุน้ ต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอและรักแร้ สามารถทำได้โดยการยกแขน ขึน้ เหนือศีรษะ เพือ่ ไปกระตุน้ การขับถ่ายของเสียและช่วยกำจัดของเสียในน้ำเหลือง z

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

27

เริม่ ด้วยท่าพนมมือ โดยกประกบฝ่ามือทัง้ สองข้างเข้าด้วยกัน บริเวณ กึง่ กลางลำตัว หายใจเข้าสูท่ อ้ งน้อย กลัน้ หายใจ 4 วินาที ระหว่างนัน้ ยกมือทัง้ สองข้าง ขึน้ เหนือศีรษะ งอศอกเล็กน้อย หรืองอมากขึน้ หากรูส้ กึ ตึงๆ จำไว้วา่ อย่างเกร็ง z หายใจออกโดยเป่าลมหายใจออกทางปาก ขณะเดียวกันก็ค่อยๆ ลดมือกลับลงมายังตำแหน่งเดิม z หยุดพัก 4 วินาทีก่อนที่จะเริ่มทำใหม่อีกครั้ง ทำซ้ำจนครบ 9 ครั้ง สามารถทำได้มากกว่านีถ้ า้ ทำแล้วรูส้ กึ สบาย วิ ธ ี ก ารหายใจด้ ว ยท้ อ งเป็ น อี ก วิ ธ ี ห นึ ่ ง ที ่ ส ามารถล้ า งพิ ษ ได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ ค) ยืดกล้ามเนือ้ เพือ่ กระตุน้ ระบบน้ำเหลืองบริเวณต้นขา ท่าทีด่ ที ส่ี ดุ สำหรับการยืดกล้ามเนือ้ เพือ่ กระตุน้ ระบบน้ำเหลือง บริเวณต้นขา และเชิงกราน คือท่านอนราบ วิธกี ารบริหารคือการยกขาสลับไปมา หรือยกขาสองข้าง พร้อมกัน โดยปฏิบตั ดิ งั นี้ z

28

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

หายใจเข้าและกลัน้ หายใจประมาณ 4 วินาที ระหว่างทีก่ ลัน้ หายใจอยูน่ ้ี ให้งอเข่าขึน้ ทัง้ สองข้าง และดึงเข้าหาท้องน้อย z เหยียดขากลับไป พร้อมกับเป่าลมหายใจออกเป็นเวลา 6 วินาที z หยุดพัก 4 วินาทีก่อนทำซ้ำอีกครั้ง ทำให้ได้ 9 ครั้งในหนึ่งคาบ ของการปฏิบตั ิ วิธนี ม้ี ปี ระสิทธิภาพมากพอทีจ่ ะกระตุน้ ให้ระบบการขับถ่ายน้ำเหลือง ทำงานได้ดขี น้ึ (อาจทำมากกว่านีก้ ไ็ ด้) อีกทัง้ ยังส่งผลให้ขบั ถ่ายได้ดขี น้ึ และลดความ ดันโลหิต z

สิง่ สำคัญเพือ่ ผลลัพธ์สงู สุด z ในแต่ ล ะคาบของการปฏิ บ ั ต ิ ให้ ท ำอย่ า งต่ อ เนื ่ อ งกั น ไปตราบเท่ า ที ่ ร่างกายยังคงรู้สึกสบาย ให้ทำเพียง 2-3 คาบติดต่อกัน แล้วค่อยทำซ้ำใหม่อีก 2 ครัง้ หรือมากกว่าในระหว่างวัน โดยเฉพาะหลังจากบริหารลมหายใจด้วยวิธกี ลัน้ ลมหายใจ ซึง่ ในเวลานัน้ ‘ชี’่ จะขึน้ ถึงจุดสุดสุด และไหลเวียนไปทัว่ ร่างกาย อันจะส่งผลให้รา่ งกาย ได้รบั ประโยชน์อย่างเต็มที่ z ประโยชน์ทไ่ี ด้รบั สูงสุด ไม่ได้หมายถึงต้องปฏิบตั ใิ ห้ได้มากทีส่ ดุ หากคุณ รูส้ กึ เกร็ง (รูไ้ ด้จากความรูส้ กึ ไม่สบายขณะปฏิบตั )ิ ซึง่ หมายถึงการรักษาก็จะไม่ได้ผล เพราะฉะนั้นการปฏิบัติเพียงช่วงสั้นๆ ระหว่างวันย่อมให้ผลที่ดีกว่าการปฏิบัติครั้ง ละนานๆ ระบบถ่ายเทของเสีย เป็นระบบทีร่ า่ งกายใช้กำจัดสารพิษและของเสียออกไป สำหรับผู้ป่วยมะเร็งซึ่งภูมิคุ้มกันอ่อนแอ มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ระบบการกำจัด สารพิษจะต้องทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ การบริหารระบบถ่ายเทน้ำเหลืองแบบชี่ จะส่งผลให้กลไกการทำความสะอาดตนเอง ของร่างกายซึง่ เป็นสิง่ จำเป็นนัน้ ทำงานได้ดี มากยิง่ ขึน้

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

29

ใช้วธิ กี ารสร้างภาพเพือ่ ช่วยให้มสี มาธิดขี น้ึ

บางคนใช้เทคนิคสร้างภาพด้วยจินตนาการตามแผนภาพเพือ่ เพ่งสมาธิ z ขณะหายใจเข้า จินตนาการว่าอากาศ (คือเชือ้ เพลิง) กำลังเคลือ่ นไปสู่ ท้องน้อย (เตา ‘ตันเถียน’) z ขณะกลัน้ หายใจ (4-6 วินาที) จินตนาการว่าเชือ้ เพลิงกำลังเผาไหม้ อยูใ่ นเตาและแผ่รงั สีพลังงานบริสทุ ธิซ์ ง่ึ ก็คอื ความร้อน และพลังงานออกมา z ระหว่างหายใจออก จินตนาการว่าพลังงานแผ่ซา่ นไปทัว่ ร่างกาย และ สร้างภาพว่าชีก่ ำลังเผาผลาญและทำลายเนือ้ งอกทัง้ หมด z กลัน้ หายใจอีกครัง้ 4 วินาที รูส้ กึ ได้ถงึ ความสุขสงบขณะที่ ชีก่ ำลังทำการ บำบัดรักษา 30

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

5 การดูดพิษด้วยครอบแก้ว (Acu-Cupping) การบรรเทา ความเจ็บปวดโดยไม่ใช้ยา คนจีนใช้วธิ กี าร ‘ดูดพิษด้วยครอบแก้ว’ (หรือ cupping ซึง่ พัฒนามาจากหลัก การของการกดจุ ด (Acupresser) ในการรั ก ษาโรคมานานกว่ า สองพั น ปี แ ล้ ว อย่างไรก็ตาม มีหลักฐานที่บ่งชี้ได้ว่ามีการใช้วิธีการดูดพิษด้วยครอบแก้วมาแล้ว ก่อนหน้านั้นกว่าหนึ่งพันปีในสมัยบาบิโลน จากหลักฐานภาพวาดบนผนังถ้ำที่ยังคง หลงเหลืออยูใ่ นปัจจุบนั ซึง่ เป็นภาพทีแ่ สดงให้เห็นว่ามีการใช้เขาสัตว์ ‘ดูด’ สารพิษและฝี ออกจากผูป้ ว่ ยในศตวรรษที่ 14 มาโค โปโล เดินทางออกจากประเทศจีนและนำศาสตร์ แห่ง ‘ศิลปะ’ ของการบำบัดนีเ้ ข้าไปเผยแพร่ในยุโรปตะวันออก วิธกี ารดังกล่าวไม่เป็น ทีแ่ พร่หลายนัก และแก้วทีน่ ำมาใช้กป็ ระยุกต์มาจากไม้ไผ่ซง่ึ เป็นวัสดุทห่ี าได้งา่ ยในจีน แต่หาได้ยากในยุโรป จากหลักฐานที่ได้มีการบันทึกไว้กล่าวว่า การกระตุ้นที่เหมาะสมลงบน Acupoints จะทำให้การไหลเวียนโลหิตดีขน้ึ ได้ เพิม่ ประสิทธิภาพระบบการไหลเวียน พลังงาน โดยเปิด ‘จุดพลังงาน’ ของเส้นโคจรหยางทีห่ ลังซึง่ จะไปกระตุน้ ระบบภูมคิ มุ้ กัน ด้วยวิธที ำให้การไหลเวียนของโลหิตและระบบการไหลเวียนของชีด่ ขี น้ึ หมายเหตุ : นอกจากการบำบัดแบบดูดพิษด้วยครอบแก้วแล้ว ยังมีวธิ กี าร อื่นๆ ที่ใช้ในยการกระตุ้นจุดในร่างกาย อย่างเช่น การฝังเข็ม การกดจุด การนวด การรมยา การบำบัดด้วยความร้อน และการเคาะ เป็นต้น เหตุใดจึงยังมีการใช้วธิ ดี ดู พิษด้วยครอบแก้วทัง้ ๆ ทีว่ ทิ ยาการทางการแพทย์ ในปัจจุบันนั้นเจริญรุดหน้าไปไกล คำตอบคือ เพราะวิธีการนี้ใช้ได้ผลเช่นเดียวกับ กับการฝังเข็ม ซึง่ เป็นการบำบัดทีม่ วี ธิ กี ารและให้ผลเฉพาะทาง เป็นวิธกี ารรักษาทีม่ ี บทบาทแม้ในสังคมยุคใหม่

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

31

สิง่ ทีป่ รากฏในการรักษาผูป้ ว่ ยมะเร็งด้วยวิธดี ดู พิษด้วยการครอบแก้วก็คอื วิธกี ารดังกล่าวช่วยเพิม่ จำนวนเม็ดเลือด การครอบแก้วโดยผูเ้ ชีย่ วชาญทีม่ ปี ระสบการณ์กอ็ าศัยหลักการของ เส้นชี่ (meridians) และแนวการไหลเวียนของชี่ ซึ่งสามารถบรรเทาอาการ ปวดกระตุ้น การไหลเวียนโลหิต เพิ่มเซลล์เม็ดเลือดแดง กระตุ้นการทำงานของระบบ ประสาท เพิม่ อัตราการเผาผลาญ ซึง่ ทัง้ หมดนัน้ คือกระบวนการการบำบัด ตนเองตามธรรมชาติ ของร่างกายนัน่ เอง การบำบัดด้วยการครอบแก้วได้รบั การพิสจู น์มาแล้วหลายต่อหลายครัง้ ว่า ใช้ ร ั ก ษาอาการบาดเจ็ บ อย่ า งได้ ผ ล (แม้ ก ระทั ่ ง กั บ ผู ้ ส ู ง อายุ ) เช่ น คอเคล็ ด เส้นประสาทบีบรัด (trapped nerves) เนือ้ เยือ่ ฉีกขาด อาการอักเสบ เลือดคัง่ แผลลึก และอืน่ ๆ

32

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

6 คำถามทีม่ กั ถูกถามเสมอๆ คำถาม : จะรูไ้ ด้อย่างไรว่าปฏิบตั ไิ ด้อย่างถูกต้อง ตอบ : หากคุณมีอาการปวดไม่วา่ จะรุนแรงขนาดไหนก็ตาม ก็จะหายไปราวกับ ปลิดทิง้ คุณจะเริม่ รูส้ กึ ชาเล็กน้อยจากนัน้ จะรูส้ กึ ร้อนบริเวณทีป่ วดแล้ว ความปวดก็จะ ค่อยๆ หายไปจนกระทัง่ ไม่หลงเหลืออยูเ่ ลย ตามมาด้วยความรูส้ กึ ‘เบาสบาย’ ซึง่ บ่งบอกให้รวู้ า่ มีการหลัง่ ของเอนโดฟินส์ สารเคมีในสมองทีบ่ ำบัดความเจ็บปวดอันเป็นความรูส้ กึ ทีบ่ ง่ บอกถึงการมีสขุ ภาพทีด่ ี นี่คือขั้นตอนแรกของการรักษา และเป็นนัยสำคัญที่บ่งบอกว่าคุณบริหารลมหายใจ ได้ถกู ต้องแล้ว การหายใจของคุณจะเป็นจังหวะต่อเนือ่ งโดยไม่ตอ้ งบังคับ นีค่ อื สิง่ บ่งชีว้ า่ การฝึกบริหารลมหายใจของคุณถูกต้องแล้วเช่นกัน คำถาม : ควรบริหารลมหายใจด้วยวิธี ‘กลัน้ ลมหายใจ’ (Block of Breathing) กีค่ รัง้ ในแต่ละวัน ตอบ : 1. สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงดี ปฏิบตั ิ 1-2 ครัง้ ต่อวัน 2. มีปญ ั หาสุขภาพเล็กน้อย ปฏิบตั ิ 3- 4 ครัง้ ต่อวัน 3. มีปญ ั หาสุขภาพรุนแรง ปฏิบตั ิ 5 (อย่างน้อย) - 7 ครัง้ ต่อวัน คำถาม : การปฏิบตั แิ ต่ละครัง้ (คาบของการปฏิบตั )ิ ควรใช้เวลานานเท่าไหร่ ตอบ : ในหนึง่ คาบของการหายใจด้วยวิธี ‘กลัน้ ลมหายใจ’ ควรใช้เวลาอย่างน้อย ครึ่งชั่วโมงหรือมากกว่านั้น ในช่วงแรกๆ ของการฝึก คุณอาจรู้สึกเหนื่อยล้า หากรูส้ กึ เช่นนัน้ อย่าฝืน ให้เข้านอน แล้วค่อยกลับมาทำใหม่หลังจากตืน่ นอนแล้ว เมือ่ บริหารลมหายใจเสร็จในแต่ละคาบ คุณจะรูส้ กึ ได้ถงึ ความผ่อนคลาย สงบระงับ และพลังงานทีเ่ พิม่ ขึน้ เป็นความรูส้ กึ ของการมีสขุ ภาพทีด่ ี ซึง่ ปรากฏในรูป ของความเบาสบายและ ‘ความปิตจิ ากภายใน’ ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

33

คำถาม : รูส้ กึ เหนือ่ ยหลังจากการปฏิบตั ิ และหรือไม่รบั รูถ้ งึ ‘สัญญาณ’ เลยควรทำอย่างไร ตอบ : ตรวจสอบสิง่ ต่อไปนี้ : แน่ใจว่าไหล่และคอไม่แข็ง เกร็ง ผ่อนคลาย และไม่ตงึ เครียด : ตรวจสอบเทคนิคการหายใจ : อย่าลืมเพ่งสมาธิไปที่ ‘ตัน เถียน’ คำถาม : มีประสบการณ์อน่ื ใดอีกบ้างทีท่ ำให้ทราบว่า การไหลเวียนของชีด่ ขี น้ึ ตอบ : หลังจากบริหารลมหายใจด้วยวิธกี ลัน้ ลมหายใจแล้วให้ฝกึ ‘ลูกบอลชี’่ (บอลพลังงานในฝ่ามือ) ขัน้ ตอน 1. ระหว่างทีน่ อนหงายและฝึกบริหารลมหายใจด้วยวิธกี ลัน้ ลมหายใจ ให้วางแขนทัง้ สองข้างแนบชิดลำตัว จากนัน้ ยกแขนท่อนบนขึน้ ตัง้ ฉาก และหันฝ่ามือทัง้ สองเข้าหากัน 2. ข้อสำคัญคือให้ปล่อยตัวตามสบาย ไหล่ แขนทัง้ สองข้างนิว้ มือ และนิว้ โป้ง ผ่อนคลายแล้ว คุณจะได้รสู้ กึ ถึงการไหลของ ‘ชี’่ ระหว่างฝ่ามือทัง้ สอง 3. ยังคงหายใจด้วยกะบังลมต่อไป ห่อปลายลิน้ แตะไว้ทห่ี ลังฟันบน และปิดปากให้สนิท

34

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

4. 5. 6. 7.

หายใจเข้าโดยไม่ตอ้ งจับเวลา กลัน้ หายใจ 4 วินาที หายใจออก (ทางจมูก) 6 วินาที (เพิม่ เป็น 9 หรือ 12 วินาที) กลัน้ หายใจครัง้ ทีส่ อง 4 วินาที จากนัน้ ทำซ้ำอีกครัง้ จนกระทัง่ รูส้ กึ ว่า ‘ลูกบอลชี’่ อยูร่ ะหว่างมือทัง้ สอง

หมายเหตุ : สัมผัสความรู้สึกที่เกิดขึ้นระหว่างฝ่ามือทั้งสอง (ลูกบอลชี่) อาจเป็น ความรูส้ กึ ร้อน ซาบซ่า ปิติ หรือมีแรงกดลงบนฝ่ามือราวกับ ถือลูกบอลพลังงาน ไว้ในมือ อธิ บ ายได้ ว ่ า มาจากแรงแม่ เ หล็ ก นี ่ ค ื อ ปรากฏการณ์ ข องสั ญ ญาณที ่ เ กิ ด ขึ ้ น หลังจากชีไ่ ด้แล่นไปทัว่ ร่าง ขณะทีช่ ่ี (ความร้อนและพลังงาน) ได้ถกู สร้างขึน้ คุณควรใช้ ‘ยิ’ (การกำหนดจิต) เพ่งไปทีช่ ใ่ี นร่างกายและบริเวณทีต่ อ้ งการรักษา อาจารย์ ชี่ กง สอนอยูเ่ สมอว่า “เมือ่ ตัง้ สมาธิไปทีจ่ ดุ ใด ชีก่ จ็ ะอยู่ ณ จุดนัน้ ” หมายความว่า เมือ่ หายใจแบบชี่ เราได้สร้าง ‘ชี’่ และ ‘พลัง’ ขึน้ (ขัน้ ปฐมภูมิ ใน ‘ตัน เถียน’ ซึง่ เป็นทีพ่ ำนักและเป็นเตาของ ‘ชี’่ ) อย่างไรก็ตาม จิตและการกำหนดจิต (ยิ) อย่างถูกต้อง จะช่วยให้เรากำกับและควบคุมพลังงานเพือ่ ประโยชน์สงู สุดได้ หมายเหตุ : ควบคุมพลัง ‘ลูกบอลชี’่ เพือ่ การเยียวยา (Healing) เมือ่ สร้างลูกบอลชีไ่ ด้แล้ว คุณก็ควบคุมและใช้มนั ก่อกำเนิดพลังในการรักษา อันดับแรก วางแขนลงบนทีน่ อน (หรือพืน้ ) ปล่อยแขนตามสบาย ห่างจาก ลำตัวเล็กน้อย เพื่อให้แขนทั้งสองข้างผ่อนคลายและไม่เครียดเกร็ง หงายฝ่ามือขึ้น แล้วคุณจะรู้สึกได้ว่า ‘ชี่’ เคลื่อนไหวไปทั่วร่างกาย ปล่อยให้ชี่ไหลเวียนไปทั่วร่าง เพือ่ ส่งพลังแห่งการเยียวยา สุดท้าย หลังจากฝึกการทำ ‘ลูกบอลชี’่ เสร็จแล้ว ให้ถฝู า่ มือเข้าด้วยกันไปมา การทำเช่นนีจ้ ะช่วยกระตุน้ สมองทัง้ สองซีก

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

35

ภาคผนวก 1 ประสบการณ์จากผูท้ ฝ่ี กึ บริหารลมหายใจ และบริหารร่างกายแบบชี่ หลังออกจากโรงพยาบาล ผมยังคงมีอาการปวดอย่างต่อเนือ่ งและบางครัง้ ก็ปวดอย่างรุนแรง ความปวดจะบรรเทาลงบ้างก็ตอ่ เมือ่ ได้รบั มอร์ฟนี ในปริมาณทีก่ ำหนด เท่านั้น ปัญหาก็คือผมขาดแผนการควบคุม ความปวดที่เหมาะสม ดังนั้นทุกอย่าง จึงดูไม่ตา่ งอะไรจากการลองผิดลองถูกไปเรือ่ ยๆ อาจารย์แอนโธนี่ วี วางแผนการรักษาให้ผม 2 วิธเี พือ่ ต่อสูก้ บั ความเจ็บปวด นัน่ ก็คอื การกำหนดลมหายใจโดยใช้กะบังลม (วิธกี ารหายใจแบบ ‘ชี’่ ) และการดูดพิษ ด้วยครอบแก้ว วันแรกเขาเน้นทีก่ ารหายใจลึกๆ ไปพร้อมๆ กับการเดินแผนการทีก่ ำหนด ไว้กค็ อื หายใจด้วยกะบังลม แล้วกลัน้ หายใจ 4 วินาที ก่อนจะพ่นลมหายใจออกช้าๆ 69 วินาที (ให้อากาศทัง้ หมดออกจากปอด) จากนัน้ กลัน้ หายใจอีก 4 วินาที ก่อนจะหายใจ เข้าอีกครัง้ และปฏิบตั ซิ ำ้ ต่อไป คุณคงพอเดาได้วา่ การกระทำดังกล่าวยากยิง่ ขึน้ ไปอีก เนือ่ งจากทัง้ การเดินและการหายใจต่างก็สร้างความเจ็บปวดให้กบั ผม คืนวันเสาร์อาการของผมไม่ค่อยสู้จะดีนัก อาการปวดแปลบเป็นพักๆ ทำให้ผมนอนไม่หลับตลอดคืน แต่อย่างน้อยผมก็รู้สึกดีที่ในที่สุดก็ได้เห็นฟ้าสาง ผ่านหน้าต่างห้องนัง่ เล่น ทีผ่ มนอนอยูบ่ นเก้าอีน้ อนนัน่ เอง ในการดูดพิษด้วยครอบแก้วครั้งแรก ความปวดค่อยๆ ทุเลาลงในเวลา เพียงแค่ 2-3 นาที และผมรูส้ กึ ดีขน้ึ มาก! แล้วอาการปวดนีจ้ ะกลับมาอีกเป็นพักๆ ตลอดทั้งวันตอนที่เว้นช่วงจากการบำบัดจนเป็นเรื่องปกติ ทำให้อาจารย์ต้องดูดพิษ ด้วยครอบแก้วซ้ำอยูห่ ลายครัง้ ในแต่ละครัง้ ความเจ็บปวดจะหายไปภายใน 5 นาที อาจารย์แอนโธนีอ่ ยูก่ บั ผม 5 วัน และในช่วงเวลานัน้ เข้าก็ได้ตดั วงจรแห่งความเจ็บปวด ออกไปจากชีวิตของผม และประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในครั้งนี้ก็ได้ก่อให้เกิดประโยชน์ อย่างมหาศาลแก่ผปู้ ว่ ยจำนวนมาก 36

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

โลกแห่งการแพทย์สมัยใหม่สามารถนำประโยชน์จากปรากฏการณ์ท่ี เกิดขึน้ กับการแพทย์ทางเลือกไปใช้ในการรักษาผูป้ ว่ ยได้อย่างเช่นเทคนิคต่างๆ ของอาจารย์ แอนโธนี่ วี ปัจจุบันเขาได้ก่อตั้งและพัฒนากลุ่มสนับสนุนที่ประสบความสำเร็จ เป็นอย่างมากขึน้ ทีอ่ อสเตรเลียตะวันตกและวางแผนจะขยายไปสูร่ ฐั และภูมภิ าคอืน่ ๆ นี่คือสิ่งที่สำคัญที่สุดสำหรับแพทย์แบบแผน รัฐบาล และผู้มีอำนาจที่เกี่ยวข้อง ทีจ่ ะร่วมกันพิจารณาอย่างลึกซึง้ ว่า การบำบัดด้วยวิธกี ารต่างๆ ของแพทย์ ทางเลือก สามารถช่วยผูป้ ว่ ยได้ โดยเฉพาะในการควบคุมความเจ็บปวด ดังนัน้ จึงมีความจำเป็น อย่างมากทีจ่ ะต้องตรวจสอบและพิสจู น์ผลลัพธ์อนั น่าทึง่ ของวิธกี ารทีอ่ าจารย์แอนโธนี่ วี ใช้บำบัดผูป้ ว่ ย พรสวรรค์ แ ละทั ก ษะอั น ยอดเยี ่ ย มของเขา สมควรได้ ร ั บ การพิ ส ู จ น์ และบันทึกไว้ ทั้งยังควรได้รับการเผยแพร่ออกไปให้เป็นที่รู้จัก ในวงกว้างไม่ควรจะ ปล่อยให้ทกั ษะทีผ่ า่ นการพัฒนามากกว่า 40 ปี ต้องสูญหายไป แต่ควรจะเป็นส่วนหนึง่ ของการบำบัดรักษาสุขภาพของออสเตรเลีย เซอร์ วิลเลียม คียส์ แคนเบอร่า,ออสเตรเลีย (2000) ผูใ้ ห้การอุปถัมภ์ การรักษาอย่างเป็นทางการ : Healing Chi Association of Australia Inc. หมายเหตุ : เซอร์ วิลเลียม คียส์ เสียชีวติ จากเนือ้ งอกทีเ่ ยือ่ หุม้ ปอด เมือ่ วันที่ 3 พฤษภาคม 2000 *********** ปี 2001 ผลการวินจิ ฉัยว่าเป็นมะเร็งเต้านมทำให้ดฉิ นั ต้องเข้ารับการรักษา ด้วยการผ่าตัด 1 ครัง้ และฉายรังสีอกี 3 ครัง้ แต่มะเร็งก็กลับมาอีกในเดือนกันยายนปี 2002 ในครัง้ นัน้ ดิฉนั ตัดสินใจไม่รบั การรักษาด้วยแพทย์แบบแผน แต่ลองหันไปใช้ วิ ธ ี ธ รรมชาติ บ ำบั ด โดยไม่ ข อรั บ คำแนะนำจากแพทย์ ในเดื อ นตุ ล าคม 2002 ดิฉนั เข้าร่วมฝึกชี่ ไดนามิกส์ ขัน้ สูงซึง่ ประกอบด้วย การหายใจด้วยวิธกี ลัน้ ลมหายใจ (Block of Breathing) ซึง่ เป็นการบริหารลมหายใจแบบชี่ การดูดพิษด้วยครอบแก้ว และการกำหนดจิต (ยิ) การทำการดูดพิษด้วยครอบแก้วครัง้ แรก ถือเป็นจุดพลิกผัน เลยทีเดียว ดิฉนั รูส้ กึ ผ่อนคลาย หายใจสะดวกขึน้ และรูส้ กึ ว่าเกิดการเปลีย่ นแปลงครัง้ ใหญ่ ขึน้ ในร่างกาย ความเจ็บปวดทัง้ หลายบรรเทาเบาบางลง และอารมณ์ความรูส้ กึ ก็มน่ั คง มากขึน้ ด้วย ทัง้ ยังรูส้ กึ ว่าตัวเองแข็งแรงขึน้ มาก เป็นความแข็งเกร่งอย่างทีไ่ ม่เคยรูส้ กึ ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

37

มาก่อนดิฉันรู้สึกสงบระงับและมีสมดุลมากขึ้น พละกำลังก็ยังมีอยู่อย่างเหลือเฟือ เมือ่ ได้พบกับแพทย์อกี ครัง้ เขาทึง่ ทีเ่ ห็นว่าสุขภาพของดิฉนั ดีขน้ึ ทุกๆ ด้าน ไม่วา่ จะเป็น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หืด โดยเฉพาะอย่างยิ่งมดลูกที่เคยหย่อนยานก็กลับ สูส่ ภาพปกติ (ตอนนีด้ ฉิ นั ไม่จำเป็นต้องเข้ารับการผ่าตัดอะไรนัน่ แล้ว!) ในเดือนเมษายน 2004 ผลการทดสอบแมมโมแกรม และอัลตราซาวด์พบว่าดิฉันไม่มีมะเร็งอีกแล้ว ดิฉันกลับมาเป็นผู้มีสุขภาพดีและกระฉับกระเฉงเหมือนเคย และขณะนี้กำลัง เข้ารับการฝึกหัดเป็นผูฝ้ กึ สอนชี่ ไดนามิกส์เพือ่ ช่วยเหลือผูอ้ น่ื ต่อไป แคลร์ เชมเมล่า - เพิรธ์ , ออสเตรเลีย (2004) ******** ผมเคยต้องใช้สเตียรอยด์ปริมาณสูงมากในการบำบัดโรคลูคีเมีย ต่อมา ผมพบว่า ‘การบริหารลมหายใจด้วยวิธกี ลัน้ ลมหายใจ’ ช่วยเพิม่ ปริมาณเซลล์เม็ดเลือดได้ (จาก 107 เป็น 137 ในหนึง่ สัปดาห์!) นีเ่ องทีช่ ว่ ยให้ผมลดการใช้สเตียรอยด์ลงได้ โดยทีป่ ริมาณเม็ดเลือดยังคงเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ! แพทย์ทใ่ี ห้การรักษาผมเคยกล่าวถึงอาการ เจ็บปวดทีผ่ มประสบอยูต่ อนนัน้ ว่า “ผมต้องทนอยูก่ บั มันให้ได้” การบำบัดโดยการ ดูดพิษด้วยครอบแก้วช่วยบรรเทาความปวดได้ดี และตอนนีผ้ มรูแ้ ล้วว่า “ผมไม่ตอ้ งทน อยูก่ บั มันก็ได้” การเรียนรูว้ ธิ ี ‘การหายใจแบบกลัน้ ลมหายใจ’ เป็นวิธที ย่ี อดเยีย่ มซึง่ ช่วย ให้ผมสามารถดูแลตัวเองได้เป็นอย่างดี ผมรูส้ กึ เหมือนมีชวี ติ ใหม่ทส่ี ดใสกว่าเดิม โคลิน สเพียร์ - เพิรธ์ ออสเตรเลีย (2004) ********* เดือนมีนาคม 2003 ฉันเข้ารับการผ่าตัดและตรวจพบเนือ้ ร้ายในรังไข่ขา้ งซ้าย หลังจากนั้นจึงเข้ารับการรักษาด้วยเคมีบำบัดครั้งที่ 1 ทำให้เม็ดเลือดลดลงไปมาก ฉันผมร่วงจนเกือบหมดศีรษะ เบือ่ อาหาร และรูส้ กึ คลืน่ ไส้อยูต่ ลอดเวลา ก่อนจะเข้ารับเคมีบำบัดครัง้ ที่ 2 ฉันใช้เวลา 4 วันบริหารลมหายใจด้วยวิธี ‘กลัน้ ลมหายใจ’ อย่างจริงจัง การเปลีย่ นแปลงเกิดขึน้ อย่างไม่นา่ เชือ่ ! แม้แต่เจ้าหน้าที่ ของโรงพยาบาลเองก็ยังแปลกใจที่ปริมาณเม็ดเลือดของฉันเพิ่มขึ้นอย่างไม่คาดฝัน ความรูส้ กึ อยากอาหารกลับมาอีกครัง้ แถมฉันยังรูส้ กึ แข็งแรงดีและมีชวี ติ ชีวามากขึน้ หลังจากรับเคมีบำบัดครัง้ ที่ 3 ฉันก็กลับไปเรียนชี่ ไดนามิกส์ ทัง้ ยังสามารถ ช่วยเหลือคนอืน่ ๆ ได้อกี ด้วย อาการของฉันดีขน้ึ มาก ถึงขนาดขับรถไปทำเคมีบำบัด 38

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

ได้เองในอีก 3 ครัง้ ถัดมา หลังจากการทำเคมีบำบัดแต่ละครัง้ ฉันสามารถดำเนินชีวติ ต่อไปได้ราวกับตนเองไม่ได้เจ็บป่วยแต่อย่างใด และแม้แต่เส้นผมดกดำตามธรรมชาติ ก็ยงั ขึน้ มาอีกครัง้ ระหว่างการทำเคมีบำบัด ฉันได้ถา่ ยทอดเทคนิคการหายใจด้วยวิธกี ลัน้ ลม หายใจ ให้แก่ผปู้ ว่ ยมะเร็งคนอืน่ ๆ ทีก่ ำลังเข้ารับการบำบัดเช่นเดียวกันกับฉันจนถึง ตอนนี้ ฉันก็ยงั ติดต่อกับบุคคลเหล่านัน้ อยู่ พวกเราที่ผ่านประสบการณ์การพัฒนาตนเองครั้งใหญ่มาแล้ว ต่างก็มอง อะไรในแง่ดแี ละพึง่ พาตนเองอยูเ่ สมอ พวกเราไม่เคยยอมแพ้! ฉันรูส้ กึ ยินดีทไ่ี ด้ฝกึ ฝน ‘การหายใจและการบริหารร่างกายแบบชี‘่ ซึง่ ช่วยให้ฉนั ผ่านพ้นวิกฤตอันเลวร้ายนัน้ มา ได้ ความหวังยังมีอยูเ่ สมอ และฉันจะคอยส่งแรงใจไปให้คณ ุ ขณะนี้ฉันได้ผ่านหลักสูตรผู้ฝึกสอนชี่ ไดนามิกส์ ซึ่งได้รับการรับรอง และประกาศนียบัตร ของสถาบันดูแลผูป้ ว่ ยมะเร็งเรียบร้อยแล้ว จูด้ี เทียว - กัวลาลัมเปอร์ มาเลเซีย (2004) ******** เทอร์ร่ี วัย 73 ปี เคยเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่เมือ่ 25 ปีทแ่ี ล้ว เขาเข้ารับ การผ่าตัดและไม่มีเนื้อร้ายหลงเหลืออยู่อีก จนกระทั่งในเดือนมกราคม ปี 2002 เขาเกิดอาการปวดในช่องท้องอย่างรุนแรง ผลการตรวจพบว่าเขาเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่ ซึง่ แพร่กระจายไปยังระบบน้ำเหลืองแล้ว เขาไม่สามารถเข้ารับเคมีบำบัดได้ เนือ่ งจาก ปริมาณเม็ดเลือดต่ำเกินไป น้ำหนักของเขาลดลงมากกว่า 30 ปอนด์ในเวลาเพียง 23 เดือน และร่างกายก็ออ่ นแอมาก ในภาวะทีส่ น้ิ หวัง เขาหันมารักษาตนเองด้วยสมุนไพรจีนเป็นเวลา 3 เดือน เพือ่ นคนหนึง่ เล่าให้เขาฟังถึงการบำบัดด้วยการหายใจแบบชี่ เขาเห็นด้วยจึงหันมารักษา ด้วยวิธดี งั กล่าว เขาเข้ารับการฝึกกับผูส้ อนอาวุโส อง คา ยอง และแลร์ร่ี ยอง ซึง่ ทัง้ สอง ต่างเป็นอาสาสมัครของ Healing Chi Association of Malaysia ซึง่ เป็นองค์กรการกุศล เทอร์รก่ี ล่าวว่า “เขาให้ผมนอนลง และหายใจด้วยกะบังลมพร้อมกับห่อริมฝี ปาก ซึง่ เรียกว่า ‘วิธชี ยุ ’ (Chui Method) ซึง่ ก็เห็นผลทันที ผมรูส้ กึ ดีขน้ึ อย่างมากหลังจาก ทีไ่ ด้บริหารลมหายใจ ซึง่ ทำ 5 ครัง้ ต่อวัน ผมได้พละกำลังกลับคืนมา ในขณะทีเ่ มือ่ ก่อน แค่จะเดินก็ลำบากแล้ว แต่หลังจากนัน้ 2-3 เดือน ผมสามารถขับรถได้ หลังจากฝึกชี่ ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

39

ไดนามิกส์มาได้ 4 เดือน แพทย์ทท่ี ำการวินจิ ฉัยผมกล่าวว่า ผมไม่เป็นมะเร็งอีกแล้ว! มันช่างเหลือเชือ่ ผมรูส้ กึ ดีและน้ำหนักตัวก็เพิม่ ขึน้ มา 18 ปอนด์ ขณะนีผ้ มเข้าร่วม โปรแกรมการเตรียมตัวเป็นผูฝ้ กึ สอนชี่ ไดนามิกส์ เนือ่ งจากผมต้องการเป็นผูฝ้ กึ สอน เพือ่ ช่วยเหลือคนอืน่ ๆ ต่อไป” เทอร์ร่ี เทีย จือ ทวน รัฐสลังงอ, มาเลเซีย (พฤศจิกายน 2002) หมายเหตุจากอาจารย์ กรกฎาคม 2004 ระหว่างที่ให้สัมภาษณ์ผมในเดือนธันวาคม 2002 เทอร์รี่เปิดเผยว่า ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านเนือ้ งอก (Oncologist) ได้ตดั เนือ้ เยือ่ (biopsy) ไปตรวจสอบซึง่ ผล ปรากฏว่าเนื้องอกนั้นคือเนื้อร้ายที่แพร่กระจายเข้าไปยังต่อมน้ำเหลือง ในเวลานั้น เขาน้ำหนักลดลงมาก และอ่อนแอจนไม่มแี ม้แรงจะเดิน เขากล่าวว่าเขายังคงกินมังสวิรัติและข้าวซ้อมมือต่อไปอย่างเคร่งครัด รวมทั้งรักษาด้วยสมุนไพรจีน และที่สำคัญเขาเชื่อว่าปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดการ เปลีย่ นแปลงต่อสุขภาพโดยรวมก็คอื การหายใจแบบชี่ ปัจจัยสำคัญทีช่ ว่ ยฟืน้ ฟูสขุ ภาพ ของเขาให้ดขี น้ึ ประสบการณ์ทไ่ี ด้รบั นีท้ ำให้เทอร์รต่ี ง้ั ใจทีจ่ ะเข้ารับการฝึกหัด เป็นผูฝ้ กึ สอน เพือ่ ช่วยเหลือผูอ้ น่ื ในปี 2003 เขาได้เป็นผูช้ ว่ ยครูฝกึ และยังคงฝึก ‘บริหารลมหายใจ ด้วยวิธกี ลัน้ หายใจ’ 5 รอบต่อวันพร้อมๆ กับบริหารร่างกายแบบชีจ่ นกระทัง่ เสียชีวติ ลงในเดือนมกราคม 2004 ขณะทีท่ ำการผ่าตัดซึง่ ไม่เกีย่ วกับมะเร็ง ********* ฉันได้รบั ผลวินจิ ฉัยว่าเป็นมะเร็งครัง้ แรกเมือ่ 14 ปีทแ่ี ล้ว อาการทุเลาลงบ้าง เป็นพักๆ แต่มันก็กลับมาอีกถึง 4 ครั้ง ล่าสุดมาในรูปของมะเร็งเนื้อเยื่อน้ำเหลือง (Lyposarcoma) ฉันต้องทุกข์ทรมานกับอาการบวมน้ำอย่างรุนแรง ท้อง ต้นขา และน่อง ของฉันบวมขึ้นเป็น 25 เท่าจากเดิม แพทย์ทำทุกอย่างเท่าที่ทำได้ ทั้งนวดระบาย น้ำเหลือง บีบรัดด้วยถุงน่องและพันด้วยผ้าพันแผล แต่กไ็ ด้ผลน้อยมาก สุดท้ายพวกเขา ก็ยอมแพ้และบอกว่าช่วยอะไรฉันไม่ได้อกี แล้ว ส่วนการรักษาแนวทางอืน่ เท่าทีล่ อง ตรวจสอบดูกแ็ พงเกินกำลังทรัพย์ ฉันต้องนอนดูขาทีถ่ กู ยกไว้บนเตียงตลอดทัง้ วันทัง้ คืน จนในทีส่ ดุ เพือ่ คนหนึง่ ทีฝ่ กึ โยคะ (อลัน) ก็โทรศัพท์มาบอกว่าจะแวะมาหาในวันรุง่ ขึน้ 40

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

เพื่อพาฉันไปหาอาจารย์แอนโธนี่ วี และโรบิน ตอนนั้นฉันไม่สนใจจะไปเท่าไหร่ เพราะรู้สึกหมดหวังเหลือเกินแล้ว (ฉันคิดว่าคืนก่อนหน้าที่อลันจะมาหาคงเป็น คืนสุดท้ายของฉัน) พวกเขาเริม่ ด้วยการรักษาแบบชี่ ประกอบด้วยการเปิดเส้นโคจร (meridians) การบริหารลมหายใจแบบชี่ การดูดพิษด้วยครอบแก้ว และใช้สมุนไพรล้างพิษ ทีร่ าคาไม่แพง 5 วันต่อมาหลังจากตื่นขึ้นในตอนเช้า ฉันพบว่าขาข้างหนึ่งกลับเป็นปกติ หน้าท้องอ่อนตัวลง ส่วนขาอีกข้างที่บวมก็ยุบลงเล็กน้อย 1 เดือนให้หลังจากการ ปฏิ บ ั ต ิต ามคำแนะนำควบคู่ก ั บ การดู ด พิ ษ ด้ ว ยครอบแก้ ว อย่ า งสม่ำเสมอ การ เปลีย่ นแปลงก็เกิดขึน้ และเห็นถึงพัฒนาการทีด่ ี ฉันเริม่ ควบคุมร่างกายได้เหมือนเดิม ฉันทำได้ แม้กระทัง่ เข้าร่วมในชัน้ เรียนชี่ ของโรบิน ฉันได้คน้ พบสิง่ ทีด่ ที ส่ี ดุ ทีไ่ ด้ชว่ ยฉันไว้ นัน่ คือคลินกิ ของอาจารย์ แอนโธนี่ ซึ่งเป็นสถานที่อบอุ่น และเปี่ยมไปด้วยบรรยากาศแห่งความรัก และเมตตาในการ ช่วยเหลือผูป้ ว่ ยอย่างจริงใจ ฉันยังได้รบั กำลังใจและความเชือ่ มัน่ ในการดูแลและควบคุมตนเองผลลัพธ์ ทัง้ หลายขึน้ อยูก่ บั ความพยายามของพวกเราเอง ฉันไม่ได้รบั คำสัญญาทีท่ ำให้หวังลมๆ แล้งๆ พวกเขาแค่สอนให้ฉนั รูว้ ธิ บี รรเทาความเจ็บปวด นอนหลับให้สนิท กระตุน้ ระบบ ถ่ายเทน้ำเหลืองให้มีประสิทธิภาพผ่อนคลายให้มากขึ้น แต่เปี่ยมไปด้วยพลัง ช่วยให้ฉนั ใช้ชวี ติ ในแต่ละวัน ได้อย่างเป็นสุขมากขึน้ ตราบเท่าทีฉ่ นั ยังมีชวี ติ อยู่ ขอขอบคุณทัง้ สองคน อลา คลิม - เพิรธ์ ออสเตรเลีย (2003) หมายเหตุจากอาจารย์ กรกฎาคม 2004 ผมได้ขา่ วจากสมาชิกในกลุม่ ทำสมาธิของอลาว่า หลังการผ่าตัดเนือ้ งอก ในกระเพาะอาหาร ขณะนีอ้ าการของเธอกำลังดีขน้ึ มาก และสามารถกลับมาร่วมกลุม่ ทำสมาธิได้อกี ครัง้

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

41

ภาคผนวก 2 ข้อสรุปที่ผู้ป่วย ผูด้ แู ลผูป้ ว่ ยมะเร็งควรทราบ 1. ออกซิเจนสามารถฆ่าเซลล์มะเร็งได้ ในทางตรงกันข้ามเซลล์ทไ่ี ด้รบั ออกซิเจน ไม่เพียงพออาจเกิดการกลายพันธุ์และเปลี่ยนเป็นเซลล์มะเร็ง ดร.ออตโต วอร์เบิรก์ ได้รบั รางวัลโนเบล เมือ่ ปี 1931 จากการพิสจู น์วา่ มะเร็งเกิดขึน้ เนือ่ ง จากเซลล์ขาดออกซิเจนสำหรับหายใจ เซลล์มะเร็งอาศัยพลังงานที่ได้จาก ปฏิกริ ยิ า บูดเน่าของน้ำตาลกลูโคส 2. น้ำตาลเป็นอาหารของเซลล์มะเร็ง น้ำตาลในทีน่ ่ี ได้แก่นำ้ ตาลทีไ่ ด้จากอ้อย กลูโคส และน้ำตาลจากผลไม้ (ฟรุกโตส) 3. สภาพความเป็นกรดสูงในร่างกายจะกระตุน้ ให้เกิดเซลล์มะเร็ง ขณะที่ สภาพความเป็นด่างไม่เอือ้ ต่อการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง ดร.แมนเฟรด ฟอน อาร์เดนน์ ได้พสิ จู น์วา่ ผิวชัน้ นอกของเซลล์มะเร็งเป็นกรด เซลล์เหล่านี้จะผลิตกรดแลกติกซึ่งเป็นผลพลอยได้จากปฏิกิริยาการบูดเน่า ดังนัน้ การทำให้รา่ งกายมีสภาพความเป็นด่างอยูเ่ สมอ คือสิง่ สำคัญอย่างมาก ในการต่อสูก้ บั มะเร็ง เราสามารถสร้างสภาพความเป็นด่างได้ดว้ ยการหายใจ โดยใช้กะบังลม ซึง่ จะช่วยให้รา่ งกายรับออกซิเจนได้มากขึน้ ทัง้ ยังกำจัดคาร์บอน ไดออกไซด์ ได้ดขี น้ึ อีกด้วย 4. ระบบภูมคิ มุ้ กันทีเ่ ข้มแข็งต่อสูก้ บั มะเร็งได้ ต่อมไธมัสคือต่อมทีม่ หี น้าทีส่ ำคัญ ของระบบภูมิคุ้มกัน การบริหารร่างกายเบาๆ ร่วมกับการบริหารลมหายใจ แบบชี่ การพักผ่อนอย่างเพียงพอ และการทำสมาธิจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ การทำงานของระบบภูมคิ มุ้ กัน 5. เพิม่ สารแอตีอ้ อกซิแดนต์ในอาหารเพือ่ ช่วยต้านมะเร็ง ควรดื่มน้ำที่ผ่าน การกรองหรือกลัน่ ด้วยระบบโอโซน ปลอดคลอรีน และมีภาวะเป็นด่างเท่านัน้ รวมถึงน้ำแร่จากธรรมชาติหลีกเลี่ยงอาหารที่ผ่านการปรุง อาหารมันๆ อาหารทอดและไหม้เกรียม สารอาหารจากพืช Phyto nutrients ซึง่ มีมากในผิว 42

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

ของผักและผลไม้หลายชนิด (โดยเฉพาะชนิดที่มีสีเข้ม) คือสารแอนตี้ออกซิแดนต์ตามธรรมชาติทด่ี ที ส่ี ดุ 6. เอนไซม์ในระดับสูงทำลายการอยูร่ อดของเซลล์มะเร็ง เอนไซม์มีมากใน อาหารสด อาหารดิบรวมทัง้ ผักและผลไม้ทส่ี กุ คาต้น จึงควรกินอาหารเหล่านีใ้ ห้ มาก ตับอ่อนมีหน้าที่ผลิตเอนไซม์ให้พอเพียงสำหรับการย่อยอาหารที่ผ่าน กระบวนการผลิตและการปรุงแล้วอาหารทีไ่ ม่ถกู ย่อยจะเป็นพิษต่อระบบย่อย อาหาร และระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายต้องทำงานหนักขึ้นเพื่อกำจัดอาหาร เหล่านัน้ 7. รักษาอาการสัน่ สะท้านไว้จะช่วยทำลายเซลล์มะเร็ง การหลัง่ ไหลของแรงสัน่ สะเทือนทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างการหายใจแบบชี่ จะทำให้เซลล์มะเร็งกระจายตัวได้ ช้าลง 8. ความร้อนฆ่าเซลล์มะเร็งได้ ผิวชัน้ นอกของเซลล์มะเร็ง เป็นกรดจึงทำให้ไวต่อ ความร้อน ดร.แมนเฟรด ฟอน อาร์เดนน์ ศึกษาพบว่าการเพิม่ อุณหภูมริ า่ งกาย ให้สงู ขึน้ ถึง 109 องศาฟาเรนไฮต์ โดยอาศัยปัจจัยภายนอกเป็นเวลา 1 ชัว่ โมง สามารถทำลายเซลล์มะเร็งได้ อย่างไรก็ตามในทางปฏิบตั ิ วิธนี ป้ี ระสบความสำเร็จ เพียงบางรายเท่านัน้ การบริหารลมหายใจและการทำสมาธิแบบชี่ สามารถเพิม่ อุณภูมขิ องร่างกายให้สงู ขึน้ ได้ (จำไว้วา่ ‘ตัน เถียน’ เมือ่ อยูใ่ นสภาวะทีเ่ หมาะสม และได้รบั การกระตุน้ ก็คอื เตา ทีม่ ปี ระสิทธิภาพและเป็นแหล่งพลังงาน) ไม่วา่ จะเกิดอะไรก็ตาม พึงระลึกไว้วา่ การเพิม่ อุณหภูมริ า่ งกายโดยการหายใจนัน้ ไม่มี ผลข้างเคียงแต่อย่างใด

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

43

ภาคผนวก 3 Chi Dynamics Centres AUSTRALIA Perth : SiFu. Shane Francis / Ms. Gill Nunn Tel : +61 0417 175 303 / +61(08) 9337 3664 E-mail : [email protected] Ms. Robyn Hudson Tel : +61 0413 668 206 / +61 (08) 9430 6427 E-mail : [email protected] Sydney Mr.James Lee Tel : +61 0412 865 999 E-mail : Ms. May Wee Tel : +61 0423 038 288 E-mail : [email protected] UNITED KINGDOM Chi Dynamics c/o SynerGem Dr. Quek Swee Lip Tel: +44 (0) 20 8643 3386 E-mail : [email protected]

44

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

\

MALAYSIA Healing Chi Association of Malaysia (Chi Dynamics Malaysia) Dr. E.M. Gan Tel : +60 166 478 110 E-mail : [email protected] Petaling Jaya, Selangor Darul Ehsan: University of Malaya Alumni Society Chi Dynamics Interest Group Cancer Support Unit (CSU) Ms. Ellen Loh Tel: +60 016 328 2257 E-mail : paumnews @yahoo.com Kuantan, Pahang Darul Aman: Sifu Ong Kah Yong Tel: +60 019 950 8029 E-mail : [email protected] Malacca : Ms. Puteh S Shaari Tel : +60 016 660 5453 E-mail : [email protected] SINGAPORE Chi Dynamics & Meditation Society (Singapore) Sifu Nicholas Chia Tel : +65 9672 1448 E-mail : [email protected] ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

45

THAILAND Chi Dynamics Thailand Kanchanaburi Chapter www.chidynamicsthailand.org Kantipong Wonglaw กันติพงค์ วงศ์หล่อ ประธานชมรม ชี่ ไดนามิกส์ ประเทศไทย (กาญจนบุร)ี E-mail : [email protected] Tel : 034-647516 FAX : 034-647515 Saichon Saradatta สายชล ศรทัตต์ OIC Cancer Care Thailand E-mail : [email protected] Tel : 085-1597204 Nisachon Charernnit นิศาชล เจริญนิตย์ Chief Trainer and Head Coordinator of Cancer Care in Thailand E-mail : [email protected] Tel : 085-9122662 Grandmaster Anthony Wee อาจารย์แอนโธนี่ วี E-mail : [email protected] 46

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

อ้างอิง www.who.int/en/ - สถิตผิ ปู้ ว่ ยมะเร็งและรายงานผูป้ ว่ ยมะเร็งทัว่ โลก www.cancer.org - สาเหตุทก่ี อ่ โรคมะเร็ง, ปัจจัยเสีย่ ง และการป้องกัน www.cancerhelp.co.uk - สาระน่ารูเ้ กีย่ วกับโรคมะเร็ง www.mercola.com/2000/oct/8/sugar - ดร.โจเซฟ เมอร์โคลา น้ำตาล และมะเร็ง 8 - ตุลาคม-2543 Natural Institute of Environment Health Sciences - การศึกษา 6 ปี เกีย่ วกับสนามแม่เหล็กไฟฟ้าและมะเร็ง www.news.harvard.edu - มิวคัสมีบทบาทสำคัญต่อมะเร็ง www.chennaionline.com - ข้อเท็จจริงบางประการเกีย่ วกับมะเร็ง nutritional supplements-info.com - อาหารต้านอนุมลู อิสระ Dr.Mahfred Von Ardenne - สภาพความเป็นกรดในเซลล์มะเร็ง และน้ำตาล เป็นอาหารของมะเร็ง www.alternativehealth.com.au/articles/sugar_&_cancer.htm - น้ำตาล และมะเร็ง Dr.Otto Warburg - การกลายพันธุ์ของเซลล์มะเร็ง การใช้ออกซิเจน เพือ่ รักษา ฯลฯ www.mnwelldir.org/docs/nutrition/sugar.htm - สารอาหารและน้ำตาล

ชี่ ไ ด น า มิ ก ส์

47

Related Documents

Cancer Care
May 2020 13
Cancer Care
November 2019 37
Cancer Care List
October 2019 16
Care Of Patients With Cancer
December 2019 21

More Documents from "Arturo M. Ongkeko Jr."