หลักเกณฑ ในการวางแผนระบบไฟฟา (PLANNING CRITERIA)
กองโครงการ ฝายวางแผนระบบไฟฟา
สิงหาคม 2549
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
สารบัญ เรื่อง 1.
2.
3.
4.
5. 6.
- คํานํา - รายชื่อคณะทํางาน คําจํากัดความ 1.1 หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา 1.2 พื้นที่ในการวางแผนระบบไฟฟา 1.3 ความเชื่อถือไดของระบบไฟฟา 1.4 ความมั่นคงในการจายไฟ 1.5 เสถียรภาพระบบไฟฟา 1.6 แหลงผลิตไฟฟาขนาดเล็ก 1.7 การจัดรูปแบบของสถานีลานไกและสถานีไฟฟา หลักเกณฑการวางแผนระบบไฟฟาในแตละพื้นที่ 2.1 พื้นที่ 1 : พื้นที่นิคมอุตสาหกรรม และพื้นที่อุตสาหกรรม 2.2 พื้นที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตําบล ที่เปนพื้นที่ธุรกิจ หรือพื้นที่สําคัญพิเศษ 2.3 พื้นที่ 3 : พื้นที่เทศบาลเมืองทั่วไป 2.4 พื้นที่ 4 และ 5 : พื้นที่เทศบาลตําบล และพื้นที่ชนบท หลักเกณฑทวั่ ไปในการวางแผนระบบไฟฟา 3.1 เกณฑดานแรงดัน 3.2 เกณฑดานพิกัดการรับโหลด 3.3 เกณฑดานความมั่นคง 3.4 จํานวนวงจรสูงสุดตอตนเสา 3.5 สถานีไฟฟาแรงสูงตนทาง 230/115 เควี 3.6 สถานีลานไก 115 kV 3.7 ระบบสายสง 3.8 สถานีไฟฟา 3.9 ระบบจําหนาย แหลงผลิตไฟฟาขนาดเล็กในระบบไฟฟา 4.1 พื้นที่ 1 และ 2 4.2 พื้นที่ 3, 4 และ 5 โครงสรางของสถานีลานไก และสถานีไฟฟา รูปแบบการเชื่อมโยงแหลงผลิตไฟฟาขนาดเล็ก
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
หนา 1 1 1 1 1 2 2 2 4 4 5 6 6 7 7 7 8 8 8 9 9 11 12 16 17 18 20 28 PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
คํานํา การไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) ดําเนินการกอสรางปรับปรุงและพัฒนาระบบ ไฟฟาอยางตอเนื่องเพื่อใหบริการผูใชไฟอยางเพียงพอและมีคุณภาพตามเกณฑมาตรฐานเปนที่ พึงพอใจของผูใ ชไ ฟและรัฐ บาล อยางไรก็ต ามจากการเปลี่ ย นแปลงสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเทคโนโลยี สงผลทําใหอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจมีแนวโนมเพิ่มขึ้น การ ปฏิรูประบบราชการ การมีสวนรวมของภาคประชาชน บทบาทขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น การกระชั บ ความสั ม พั น ธ กั บ ประเทศเพื่ อ นบ า นและประเทศต า งๆ บทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศที่เพิ่มขึ้น ความกาวหนาของเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับกิจการการไฟฟา การ แปรสภาพองคกรรัฐวิสาหกิจเปนบริษัทมหาชน และการปรับเปลี่ยนโครงสรางอุตสาหกรรม พลังงานไฟฟา การเปลี่ยนแปลงดังกลาวสงผลทําใหบทบาทหนาที่ของ กฟภ. เปลี่ยนแปลงไป เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในองคกรของ กฟภ. และความตองการใชไฟฟาในพื้นที่รับผิดชอบของ กฟภ. เพิ่มขึ้นทั้งปริมาณและคุณภาพ การจัดทําแผนพัฒนาระบบไฟฟาฉบับที่ 10 (2550-2554) กฟภ. ไดจัดทํา แผนงาน ใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงตางๆ การจัดทําแผนพัฒนาระบบไฟฟาจําเปนตองมี หลักเกณฑการวางแผนระบบไฟฟาที่เหมาะสมกับ (ก) ความตองการใชไฟฟาที่เพิ่มขึ้น, (ข) บทบาทหนาที่ของ กฟภ.และ (ค) ความกาวหนาของเทคโนโลยี หลักเกณฑการวางแผนไฟฟา ฉบับนี้ เปนการพัฒนาตอเนื่องจากฉบับป พ.ศ. 2545 สิ่งที่เปลี่ยนแปลงอยางชัดเจนใน หลักเกณฑฉบับนี้ประกอบดวย (ก) การผลิตพลังงานไฟฟา, (ข) การกอสรางระบบไฟฟาใตดนิ และ (ค) การเชื่อมโยงระบบไฟฟา หลักเกณฑการวางแผนไฟฟาฉบับนี้คาดวาจะเปนประโยชนอยางยิ่งในการ วางแผนพัฒนาระบบไฟฟาของ กฟภ. ในชวง พ.ศ. 2550-2554 นอกจากนั้นคาดวาจะมีสวน ชวยทําใหการออกแบบ กอสรางติดตั้ง ซอมแซมบํารุงรักษา และควบคุมสั่งการระบบไฟฟาของ กฟภ. ให เกิดผลสัมฤทธิ์อยางมีประสิทธิภาพ สงผลใหเกิดประโยชนทั้งแก กฟภ. ผูใชไฟ และ ประเทศชาติ
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
รายชื่อคณะทํางานจัดทําหลักเกณฑขอกําหนด ในการวางแผนระบบไฟฟา 1. นายสมภพ 2. นายประจักษุ 3. นายวิชัย 4. นายพโยมสฤษฎ 5. นายวิโรจน 6. นายพงศกร 7. สอ.กฤษณ 8. นายยงยุทธ 9. นายธงชัย 10. น.ส.ชนิกนันท
ศรีรัตนา อุดหนุน จิระกังวาน ศรีพัฒนานนท บัวคลี่ ยุทธโกวิท ธนะศิรินานนท งามพัตราพันธ มีนวล วัณณะสุต
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
อก.คก. รก.คก. หผ.คก.2 (ฉ) กคก. หผ.วล. กผฟ. หผ.วร.2 กผฟ. หผ.คก.4 (ต) กคก. หผ.ตร. กคก. ชผ.คก.1 (น) กคก. ชผ.คก.3 (ก) กคก. ชผ.วผ. กคก.
หัวหนาคณะทํางานฯ ผูชวยหัวหนาคณะทํางานฯ คณะทํางานฯ คณะทํางานฯ คณะทํางานฯ คณะทํางานฯ คณะทํางานฯ คณะทํางานฯ คณะทํางานฯ เลขานุการและคณะทํางานฯ
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
1. คําจํากัดความ 1.1 หลักเกณฑการวางแผนระบบไฟฟา หลักเกณฑการวางแผนระบบไฟฟา (Power System Planning Criteria) คือ ขอกําหนดที่ใชเปนเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา ขอกําหนดดังกลาวประกอบดวยขอมูลที่ เกี่ยวกับคุณลักษณะและเงื่อนไขการใชงานของอุปกรณไฟฟา เชน ชนิด ขนาด จํานวน รูปแบบ โครงสราง และตําแหนงการติดตั้ง เปนตน หลักเกณฑการวางแผนเปนทั้งศาสตรและศิลป 1.2 พื้นที่ในการวางแผนระบบไฟฟา เพื่อใหการวางแผนและการลงทุนสะทอนความจําเปนและความสําคัญของพื้นที่ กฟภ. แบงพื้นที่ในการวางแผนระบบไฟฟาตามความสําคัญของโหลด (Load) ออกเปน 5 พื้นที่ ดังนี้ พื้นที่ 1 : พื้นที่นิคมอุตสาหกรรมและพื้นที่อุตสาหกรรม พื้นที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร เทศบาลเมือง และเทศบาลตําบลที่เปนพื้นที่ธุรกิจ หรือพื้นที่สําคัญพิเศษ พื้นที่ 3 : พื้นที่เทศบาลเมืองทั่วไป พื้นที่ 4 : พื้นที่เทศบาลตําบลทัว่ ไป พื้นที่ 5 : พื้นที่ชนบท 1.3 ความเชื่อถือไดของระบบไฟฟา (1) เกณฑ N-1 หมายถึง เกณฑที่กําหนดใหระบบไฟฟาสามารถจายไฟไดอยาง ตอเนื่อง แมเกิดเหตุขอของกับสวนหนึ่งของระบบไฟฟาสวนที่เหลือที่มีหนาที่ เหมือนกับสวนที่เกิดเหตุขดั ของสามารถทํางานทดแทนสวนที่เกิดเหตุขัดของได (2) SAIFI (System Average Interruption Frequency Index) คือ จํานวนครั้งที่เกิด ไฟฟาดับ มีหนวยเปนครั้งตอรายตอป (3) SAIDI (System Average Interruption Duration Index) คือ ระยะเวลาที่เกิด ไฟฟาดับ มีหนวยเปนนาทีตอรายตอป 1.4 ความมั่นคงในการจายไฟ (1) ความมั่นคงในการจายไฟ (Supply Security) หมายถึง ความสามารถของระบบ ไฟฟาที่จะจายไฟกลับคืนภายหลังจากเกิดไฟดับ (Outage) ระดับความมั่นคงใน การจายไฟจะขึ้นอยูกับผลกระทบที่เกิดจากไฟดับตอระบบไฟฟาหรือผูใชไฟในแต ละพื้นที่ในการจายไฟ
1
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
(2) เวลาในการจายไฟกลับคืน (Restoration Time, RT) หมายถึงเวลาที่ใชในการ ดําเนินการจายไฟกลับคืนใหกับผูใชไฟหลังจากเกิดเหตุขัดของขึ้นในระบบไฟฟา ทั้งนี้ไมรวมผูใชไฟที่รับไฟจากสวนของระบบไฟฟาที่เกิดเหตุขัดของ 1.5 เสถียรภาพระบบไฟฟา (System Stability) (1) เสถียรภาพระบบไฟฟา คือ ความสามารถของระบบไฟฟา ที่จะกลับคืนสู สภาพปกติ (Steady State) หรือสภาพการทํางานที่สมดุล กลาวคือระบบไฟฟาจะมี เสถียรภาพถาสามารถกลับคืนสูสภาวะปกติหรือสภาพการทํางานที่สมดุล ภายหลังจากที่เกิด ผลกระทบจากสิ่งรบกวน เชนการเปลีย่ นแปลงของโหลด หรือระบบผลิตอยางฉับพลัน หรือ การเกิด ฟอลท (Fault), การปลดไลน โดย Angle Stability เปนเสถียรภาพของระบบไฟฟาที่ เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงระบบการผลิตไฟฟาและการควบคุมระบบการผลิตไฟฟา และ Voltage Stability เปนเสถียรภาพของระบบไฟฟาทีเ่ กี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของแรงดัน ซึ่ง อาจเกิดจากการเปลี่ยนแปลงโหลด และการชดเชย Reactive Power (2) Critical Clearing Time (CCT) คือระยะเวลานานที่สุดที่ยอมใหเกิดฟอลท ในระบบโดยไมทําใหระบบเสียเสถียรภาพ ซึ่งระบบปองกันที่ดีตองสามารถตัดระบบไฟฟาสวนที่ เกิดฟอลทออกไปกอนที่ระบบไฟฟาสวนอื่นจะเสียเสถียรภาพ 1.6 แหลงผลิตไฟฟาขนาดเล็ก แหลงผลิตไฟฟาขนาดเล็ก (Distributed Generation, DG) หมายถึง แหลง ผลิตพลังงานไฟฟาขนาดเล็กที่สามารถจายพลังงานไฟฟาผานระบบจําหนายไฟฟาหรือ เชื่อมตอกับโหลดของผูใชไฟโดยตรงอยางเปนอิสระจากระบบไฟฟา เจาของแหลงผลิตไฟฟา ขนาดเล็กอาจเปนการไฟฟา ผูใชไฟฟา หรือผูผลิตไฟฟาเอกชน 1.7 การจัดรูปแบบของสถานีลานไกและสถานีไฟฟา การจัดรูปแบบสถานีลานไกและสถานีไฟฟา (Configuration of Switching Station and Substation) ในที่นี้หมายถึงการจัดโครงสรางการจัดวางบัส, Disconnecting Switch, Circuit Breaker ซึ่งรวมถึงการออกแบบระบบปองกันรีเลยของสถานีลานไกและสถานี ไฟฟา ในระบบแรงดัน 115 เควี เพื่อใหสามารถจายไฟฟาไดอยางมีประสิทธิภาพ ระบบไฟฟา มีความเชื่อถือได รวมถึงการซอมบํารุงรักษาสถานีไฟฟาทําไดโดยงาย ซึ่งสถานีไฟฟามีการ จัดรูปแบบดังนี้ (1) สถานีลานไก 115 เควี (115 kV Switching Station) รับกระแสไฟฟาระดับ แรงดัน 115 เควี แลวจายกระแสไฟฟาระดับแรงดัน 115 เควี ใหสถานีไฟฟา ตาง ๆ มีรูปแบบการจัดสถานี ดังนี้
2
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
(1.1) Breaker and a Half Scheme สําหรับ ระบบ Air Insulated (1.2) Double Bus Single Breaker Scheme สําหรับ ระบบ Gas Insulated (2) สถานีไฟฟา (Substation) รับกระแสไฟฟาระดับแรงดัน 115 เควี แลวจาย กระแสไฟฟาระดับแรงดัน 22 หรือ 33 เควี (2.1) รูปแบบการจัดสวิตชเกียร 115 เควี ในสถานีไฟฟา 1) GIS Double Bus Single Breaker ประกอบดวย 2 บัสบาร ติดตั้ง เชื่อมตอดวย Bus Tie Circuit Breaker และมี Circuit Breaker 1 ตัว ปองกันตอ 1 วงจร โดยทั่วไปจะมีอยางนอย 2 Line Bays, 2 Transformer Bays และ 1 Tie Bays 2) AIS Main and Transfer Bus ประกอบดวย 2 บัสบาร คือ เมนบัสใช งานในภาวะปกติ และทรานเฟอรบสั ใชงานเมื่อมีการซอมบํารุง Circuit Breaker ซึ่งเชื่อมตอระหวางบัสดวย Bus Tie Circuit Breaker และมี Circuit Breaker 1 ตัวปองกันตอ 1 วงจร โดยทั่วไป จะมี 2 Line Bays, 2 Transformer Bays และ 1 Tie Bays 3) GIS H-type Indoor ประกอบดวย 2 Circuit Breaker ปองกันไลน และ 2 Circuit Breaker ปองกันหมอแปลง และระหวางกลาง เชื่อมตอดวย Disconnecting Switch เปนรูปตัว H สามารถแยก จายไฟเปน 2 ขางได 4) AIS H-type Compact ประกอบดวย 2 Circuit Breaker ปองกันไลน และ 2 Circuit Breaker ปองกันหมอแปลง และระหวางกลาง เชื่อมตอดวย Disconnecting Switch เปนรูปตัว H โดยทั่วไป Circuit Breaker ที่ปองกันไลน หรือหมอแปลงจะติดตั้งหัวทายดวย Disconnecting Switch และ Earthing Switch เพื่อทําใหพื้นที่ติดตัง้ ลดลง 5) AIS H-type ประกอบดวย 2 Circuit Breaker ปองกันไลน และ 2 Circuit Breaker ปองกันหมอแปลง และระหวางกลางเชื่อมตอดวย Disconnecting Switch เปนรูปตัว H รูปแบบนี้มีความยืดหยุนสูง 6) AIS Tail-End ประกอบดวย 1 Circuit Breaker ปองกันหมอแปลง โดยตอตรงเขากับไลนสายสง 115 เควี Switchเกียร 115 เควี อาจ เปนแบบทั่วไป หรือ Compact Switchgear ก็ได (2.2) รูปแบบการจัดสวิตชเกียร 22 เควี และ 33 เควี ในสถานีไฟฟา Metal-Clad/Compartmented SF6 GIS
3
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
2. หลักเกณฑการวางแผนระบบไฟฟาในแตละพื้นที่ 2.1 พื้นที่ 1 : พื้นที่นิคมอุตสาหกรรม และพื้นที่อุตสาหกรรม ระบบไฟฟาในพื้นที่ 1 ของ กฟภ. จะตองดําเนินการใหสอดคลองกับเกณฑการ วางแผนดังตอไปนี้ (1) สถานีไฟฟา (1.1) หมอแปลงไฟฟากําลัง (1.2) สวิตชเกียร • 115 เควี - Outdoor - Indoor • 22, 33 เควี
จํานวน 2 เครือ่ ง และขนาดขึ้นอยูกับโหลด
Main and Transfer Bus GIS Double Bus Single Breaker Metal-Clad/Compartmented SF6 GIS
ทั้งนี้ การเลือกสวิตชเกียร 115 เควี ในสถานีไฟฟา มีแนวทางในการพิจารณาคือ 1) แบบ Main and Transfer Bus เมื่อสามารถหาพื้นที่กอสรางสถานีไฟฟา ขนาดใหญ 2) แบบ GIS Double Bus Single Breaker เมื่อพื้นที่กอสรางนอยกวา 2 ไร หรืออยูในเขตเมืองมีโหลดหนาแนน เพื่อรักษาภูมิทัศนและสิ่งแวดลอม และมีการวางแผนขยาย จุดเชื่อมโยงไปยังสถานีไฟฟาขางเคียงในอนาคต (2) ระบบสายสง
(3) ระบบสายจําหนาย
(4) ความเชื่อถือได
- สายสงเปนแบบวงรอบปด (Closed Loop) หรือ วงรอบเปด (Open Loop) ตามความเหมาะสม - แตละวงรอบ (Loop) รับโหลดไมเกิน 320 MVA - สายจําหนายเปนแบบวงรอบเปด - รับไฟอยางนอยจากสองแหลงจาย (Supply Source) - ควบคุมดวยระบบควบคุมการจายไฟอัตโนมัติ (Distribution Automation System) เกณฑ N-1
เมื่อมีความเหมาะสมอาจจะพัฒนาระบบจําหนายในพื้นที่ 1 ใหมีความมั่นคง สูงขึ้นดวยการจายไฟแบบวงรอบปดพรอมทั้งควบคุมดวยระบบควบคุมการจายไฟอัตโนมัติ
4
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
2.2 พื้นที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร เทศบาลเมือง และเทศบาลตําบล ที่เปนพื้นที่ธุรกิจ หรือพื้นที่สําคัญพิเศษ ระบบไฟฟาในพื้นที่ 2 ของ กฟภ. จะตองดําเนินการใหสอดคลองกับเกณฑการ วางแผนดังตอไปนี้ (1) สถานีไฟฟา (1.1) หมอแปลงไฟฟากําลัง (1.2) สวิตชเกียร • 115 เควี - Outdoor - Indoor • 22, 33 เควี
จํานวน 2 เครือ่ ง และขนาดขึ้นอยูกับโหลด
Main and Transfer Bus GIS Double Bus Single Breaker Metal-Clad/Compartmented SF6 GIS
การเลือกสวิตชเกียร 115 เควี ในสถานีไฟฟา มีแนวทางในการพิจารณา ดังนี้ 1) แบบ Main and Transfer Bus เมื่อสามารถหาพื้นที่กอสรางสถานีไฟฟา ขนาดใหญ 2) แบบ GIS Double Bus Single Breaker เมื่อพื้นที่กอสรางนอยกวา 2 ไร อยูในเขตเมืองมีโหลดหนาแนน เพื่อรักษาภูมิทัศนและสิ่งแวดลอม และมีการวางแผนขยายจุด เชื่อมโยงไปยังสถานีไฟฟาขางเคียงในอนาคต (2) ระบบสายสง
(3) ระบบสายจําหนาย
(4) ความเชื่อถือได
- สายสงเปนแบบวงรอบปด หรือวงรอบเปด ตาม ความเหมาะสม - แตละวงรอบรับโหลดไมเกิน 320 MVA - สายจําหนายเปนแบบวงรอบเปด - รับไฟอยางนอยจากสองแหลงจาย - ควบคุมดวยระบบควบคุมการจายไฟอัตโนมัติ เกณฑ N-1
5
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
2.3 พื้นที่ 3 : พื้นที่เทศบาลเมืองทั่วไป ระบบไฟฟาในพื้นที่ 3 ของ กฟภ. จะตองดําเนินการใหสอดคลองกับเกณฑการ วางแผนดังตอไปนี้ (1) สถานีไฟฟา (1.1) หมอแปลงไฟฟากําลัง จํานวน 1 หรือ 2 เครื่อง และขนาดขึ้นอยูกับโหลด (1.2) สวิตชเกียร - Compact AIS H-type หากตองการลดพื้นที่ในการติดตั้งอุปกรณ • 115 เควี และสามารถหา Spare Part ของ Compact Switchgear ไดอยาง รวดเร็ว - AIS H-type (Conventional) มีความสะดวกในการบํารุงรักษา Metal-Clad/Compartmented SF6 GIS • 22, 33 เควี (2) ระบบสายสง สายสงเปนแบบเรเดียล (Radial) (3) ระบบสายจําหนาย - สายจําหนายเปนแบบวงรอบเปด - รับไฟอยางนอยจากสองแหลงจาย 2.4 พื้นที่ 4 : พื้นที่เทศบาลตําบลทัว่ ไป และ พื้นที่ 5 : พื้นที่ชนบท ระบบไฟฟาในพื้นที่ 4 และพื้นที่ 5 ของ กฟภ. จะตองดําเนินการใหสอดคลอง กับเกณฑการวางแผนดังตอไปนี้ (1) สถานีไฟฟา (1.1) หมอแปลงไฟฟากําลัง จํานวน 1 หรือ 2 เครื่อง และขนาดขึ้นอยูกับโหลด (1.2) สวิตชเกียร AIS H-type แตในขั้นตนใหกอสรางเปนแบบ Tail-End และเผื่อพื้นที่ • 115 เควี ไวขยายเปน H-type เมื่อโหลดขยายตัวสูงในอนาคต และรองรับการ เชื่อมโยงกับสถานีไฟฟาขางเคียงในอนาคต Metal-Clad/Compartmented SF6 GIS • 22, 33 เควี (2) ระบบสายสง สายสงเปนแบบเรเดียล (3) ระบบสายจําหนาย - พื้นที่ 4 สายจําหนายเปนแบบวงรอบเปด สามารถจายไฟจาก 2 แหลงจาย - พื้นที่ 5 สายจําหนายเปนแบบเรเดียล
6
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
3. หลักเกณฑทั่วไปในการวางแผนระบบไฟฟา 3.1 เกณฑดานแรงดัน (Voltage Criteria) การวางแผนระบบไฟฟาในแตละพื้นที่มีเกณฑดานแรงดัน ดังตอไปนี้ หนวย : โวลต กรณีปกติ กรณีฉุกเฉิน แรงดันพิกัด ต่ําสุด สูงสุด ต่ําสุด สูงสุด 230,000 218,500 241,500 207,000 253,000 115,000 109,200 120,700 103,500 126,500 33,000 31,300 34,700 29,700 36,300 22,000 20,900 23,100 19,800 24,200 380 342 418 342 418 220 200 240 200 240 3.2 เกณฑดานพิกัดการรับโหลด (Loading Criteria) สําหรับเกณฑดานพิกัดการรับโหลดในการวางแผนระบบไฟฟา เปนดังนี้ อุปกรณ สายสง - เรเดียล - วงรอบ สายจําหนายแรงสูง - เรเดียล - วงรอบ สายจําหนายแรงต่ํา หมอแปลงกําลัง หมอแปลงจําหนาย
กรณีปกติ
กรณีฉุกเฉิน
80% พิกัด 50% พิกัด
100% พิกัด ไมมีเวลาจํากัด 100% พิกัด ไมมีเวลาจํากัด
80% พิกัด 50% พิกัด 80% พิกัด 75% พิกัด
100% พิกัด ไมมีเวลาจํากัด 100% พิกัด ไมมีเวลาจํากัด 100% พิกัด ไมมีเวลาจํากัด 100% พิกัด ไมมีเวลาจํากัด 120% พิกัด ภายใน 4 ชั่วโมง 100% พิกัด ไมมีเวลาจํากัด
80% พิกัด
7
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
3.3 เกณฑดานความมั่นคง (Security Criteria) ระดับความมั่นคงของระบบสายสงแตละแบบมีคาเวลาในการจายไฟกลับคืน ดังตอไปนี้ ระบบไฟฟา วงรอบปด วงรอบเปด ควบคุมอัตโนมัติ วงรอบเปด ควบคุมแบบ Manual เรเดียล
เวลาในการจายไฟกลับคืน < 1 นาที < 3 นาที < 45 นาที ตามมาตรฐานการใหบริการ
หมายเหตุ มาตรฐานการใหบริการของ กฟภ. สามารถจายไฟคืนได 90% ภายใน 4 ชม.
3.4 จํานวนวงจรสูงสุดตอตนเสา จํานวนวงจรของทั้งสายสงและสายจําหนายที่จะติดตั้งบนเสาไฟฟาของ กฟภ. จะมีผลตอการวางแผน การปฏิบัติงาน และการบํารุงรักษาระบบไฟฟาของ กฟภ. ในดานตางๆ ไดแก ความมั่นคง ความเชื่อถือไดของระบบไฟฟา ความปลอดภัย ความสะดวกในการ ปฏิบัติงาน ขนาดและจํานวนเสาไฟฟา เงินลงทุน ความสวยงาม เปนตน กฟภ.จึงกําหนด จํานวนวงจรตามหลักเกณฑดังตอไปนี้ จํานวนวงจรสูงสุด = 2 วงจรตอระดับแรงดันตอเสาไฟฟาหนึ่งตน ทั้งนี้ หากมีความจําเปนตองเพิ่มสายมากกวา 2 วงจรตอระดับแรงดันตอเสา ไฟฟาหนึ่งตน ใหพิจารณากอสรางสายจําหนายเปนแบบเคเบิลใตดิน หรือพิจารณากอสราง สถานีไฟฟาตามความเหมาะสมในแตละกรณี 3.5 สถานีไฟฟาแรงสูงตนทาง (Terminal) 230/115 เควี เกณฑการพิจารณากอสรางสถานีไฟฟาแรงสูงตนทาง (Terminal) 230/115 เควี มี เงื่อนไขดังตอไปนี้ (1) พื้นที่การจายไฟของ กฟภ. จะตองมีโหลดรวมของสถานีไฟฟาระบบ 115/22 เควี หรือ 115/33 เควี ของ กฟภ. และผูใชไฟฟาตั้งแต 320 MVA ขึ้นไป (2) สถานทีก่ อสรางสถานีไฟฟาแรงสูงตนทาง 230/115 เควี จะตองมีการ ประชุมรวม ระหวาง กฟผ. และ กฟภ. เพื่อหาขอสรุป ทั้งนี้ หาก กฟผ. ไมสามารถตอบสนองความตองการเรื่องสถานีไฟฟาแรงสูงตน ทาง 230/115 เควี ได กฟภ. จะพิจารณากอสรางสถานีไฟฟาแรงสูงตนทาง 230/115 เควี เอง
8
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
3.6 สถานีลานไก 115 เควี (1) รูปแบบสวิตชเกียร 115 เควี - Outdoor Switchgear : Breaker and a Half - Indoor Switchgear : GIS Double Bus (2) เกณฑการเลือกสวิตชเกียร 115 เควี ในสถานีลานไก ในพื้นที่มีมลภาวะสูง ควรเลือกสรางสวิตชเกียรแบบ GIS รวมทั้งเมื่อมีขอจํากัด ดานพื้นที่ หรือราคาที่ดินในพื้นที่ดังกลาวสูงมากจนทําใหการสรางแบบ GIS มีราคาถูกกวาแบบ AIS (3) เกณฑการพิจารณากอสรางสถานีลานไก 115 เควี จากสถานี (3.1) มีความตองการรับไฟระบบ 115 เควี เกิน 2 วงจร ไฟฟาแรงสูงตนทาง 230/115 เควี ของ กฟผ. (3.2) อยูในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมที่มีสถานีไฟฟาระบบแรงดัน 115 เควี เปน ของผูใชไฟในจํานวนที่เหมาะสม (3.3) เมื่อพิจารณาแลวเห็นวาในอนาคตจะมีการรับไฟระบบ 115 เควี จาก สถานีไฟฟาแรงสูงตนทาง 230/115 เควี ของ กฟผ. มากกวา 2 วงจร 3.7 ระบบสายสง (1) การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) (1.1) กฟผ. จะอนุญาตให กฟภ. รับไฟระบบ 115 เควี จากสถานี ไฟฟาแรงสูง ตนทาง (Terminal) 230/115 เควี ของ กฟผ. จํานวนไม เกิน 2 วงจรเทานั้น โดย กฟผ. จะอนุญาตให กฟภ. รับไฟวงจรที่ 2 เมื่อโหลดของวงจรแรกไมนอยกวา 40 MW (1.2) กรณีที่บริเวณดังกลาวยังไมมีสถานีไฟฟาแรงสูงตนทาง 230/115 เควี ของ กฟผ. ตัง้ อยูนั้น กฟผ. จะอนุญาตให กฟภ. รับไฟระบบ 115 เควี จากสถานีไฟฟาแรงสูง 115 เควี ของ กฟผ. ไดเปนการ ชั่วคราวไมเกิน 1 วงจร ทั้งนี้ เนื่องจากขอจํากัดดานความสามารถของระบบสง 115 เควี ของ กฟผ. (1.3) การเชื่อมโยงสายสงแบบ Closed loop นั้น กฟผ. จะพิจารณาความ เหมาะสมตามความจําเปนในแตละกรณี (2) การไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) (2.1) กฟภ. จะรับไฟจากสถานีไฟฟาแรงสูงของ กฟผ. ทีร่ ะดับแรงดัน 115 เควี หรือ 230 เควี โดยจะพิจารณาวางแผนกอสรางแนวสายสงไปตาม แนวถนนหรือกอสรางตามลักษณะภูมิประเทศ (Cross country) เพื่อ ไมใหเกิดปญหารถเฉี่ยวชนเสา ทําใหสายสงมีความมั่นคงสูง ระยะทาง สั้นที่สุดเทาทีเ่ ปนไปได กําลังสูญเสียในสายสงต่ํา 9
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
(2.2) กฟภ. กําหนดใหสายสงเปนแบบเรเดียลซึ่งเปนระบบที่ดําเนินการงาย ที่สุดและตนทุนต่ําสุดแตเนือ่ งจากสายสงแบบเรเดียลมีความเชื่อถือได และความยืดหยุนต่ําเชนกัน ดังนั้นสําหรับพื้นที่ทตี่ อ งการความเชื่อถือ ไดสูงเชนพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม พื้นที่อุตสาหกรรม พื้นที่เมืองธุรกิจ หรือพื้นที่เมืองสําคัญสายสงจะตองเปนแบบ Open-loop line หรือ Closed-loop line (3) ผูใชไฟ ผูใชไฟที่รบั ไฟแรงดัน 115 เควี นั้น กฟภ. กําหนดใหสายสง 115 เควี ที่จะ จายไฟใหกับสถานีไฟฟาของผูใชไฟใหมีสายปอนเขา (Line in) และสายจายออก (Line out) เพื่อปองกันไมใหระบบไฟฟาของ กฟภ. ไดรับผลกระทบเมื่อเกิดเหตุขัดของในสวนของผูใชไฟ โดยกําหนดหลักเกณฑ ดังนี้ (3.1) กรณีที่รับไฟ อยูหางจากสถานีไฟฟาของ กฟผ. นอยกวา 1 กม. (มี พื้นที่ในสถานีไฟฟาของ กฟภ.) มีทางเลือกในการดําเนินการ 2 วิธี ดังนี้ 1) ติดตั้ง Modular Station ในกรณีมีพื้นที่นอยกวา 23x18 ตร.ม. โดยจะติดตั้ง Disconnecting Switch เปนอุปกรณตดั จายในสวน ของสายที่จายใหกับสถานีไฟฟาของผูใชไฟ และติดตั้ง Circuit Breaker ในสวนของ สายปอนเขา 1 ชุด และสายจายออก 1 ชุด 2) กอสราง Terminal Station ในกรณีมีพื้นที่ 23x18 ตร.ม. ขึ้นไป โดยจะติดตั้ง Circuit Breaker ในสวนของสายที่จายใหกับสถานี ไฟฟาของผูใชไฟ และติดตั้ง Circuit Breaker ในสวนของ สาย ปอนเขา 1 ชุด และสายจายออก 1 ชุด (3.2) กรณีที่รับไฟอยูหางจากสถานีไฟฟาของ กฟผ. มากกวา 1 กม. หรือไม มีพื้นที่ในสถานีไฟฟาของ กฟภ. เพียงพอ มีทางเลือกในการดําเนินการ 2 วิธี ดังนี้ 1) ติดตั้ง Circuit Switcher พิจารณาใชกับสถานีไฟฟาทีอ่ ยูในพื้นที่ 3 หรือพื้นที่ที่ตอ งการคาดัชนีความเชื่อถือไดของระบบไฟฟาสูงกวา การติดตั้ง AFCS 2) ติดตั้ง Automatic Fault Clearing Switch (AFCS) พิจารณาใชกับ สถานีไฟฟาทีอ่ ยูในพื้นที่ 4 ซึ่งยอมใหเกิดไฟฟาดับชั่วขณะ (4) ขอกําหนดทางเทคนิคของสายสง (5.1) สายอลูมิเนียมเปลือยขนาด 400 ตร.มม. (5.2) วงจรสายเดี่ยว (Single Conductor) ใชกบั พื้นที่โหลดไมเกิน 160 MVA เชนพื้นที่จายไฟใหสถานีไฟฟาที่จัดโครงสรางเปนแบบ Tail End 10
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
(5.3) วงจรสายคู (Double Conductor) ใชกับพื้นที่โหลดสูง หรือหากโหลดไม สูงมากแตเปนสถานีตนทางหรือเปนสถานีที่สามารถเชือ่ มโยงไปยัง สถานีอื่นๆ ไดในอนาคต 3.8 สถานีไฟฟา (1) ขนาดของสถานีไฟฟา สถานีไฟฟา 115/22 เควี หรือ 115/33 เควี ของ กฟภ. มีขนาดดังนี้ 1 x 12.5 MVA (One 7.5/10/12.5 OA/FA/FA Transformer) 2 x 12.5 MVA (Two 7.5/10/12.5 OA/FA/FA Transformer) 1 x 25 MVA (One 15/20/25 OA/FA/FA Transformer) 2 x 25 MVA (Two 15/20/25 OA/FA/FA Transformer) 1 x 50 MVA (One 30/40/50 OA/FA/FA Transformer) 2 x 50 MVA (Two 30/40/50 OA/FA/FA Transformer) ยกเวนกรณีพเิ ศษเชนในนิคมอุตสาหกรรม สถานีไฟฟาในนิคมอุตสาหกรรม อาจมีขนาดที่แตกตางจากที่กลาวมาขางตน ทั้งนี้เพื่อใหสามารถจายโหลดในพื้นที่นิคม อุตสาหกรรมไดเพียงพอ (2) คาปาซิเตอร ระบบแรงดัน 115 เควี จะพิจารณาติดตั้งคาปาซิเตอรแรงดัน 115 เควี ที่สถานีไฟฟาเพื่อใหแรงดันของ ระบบ 115 เควี ไมต่ํากวา 109,200 โวลต ในสภาวะปกติ และไมต่ํากวา 103,500 โวลต ใน สภาวะฉุกเฉิน (3) พิกัดและขีดความสามารถของหมอแปลงกําลัง หนวย : MVA ขนาดพิกัด หมอแปลง 1 x 12.5 2 x 12.5 1 x 25 2 x 25 1 x 50 2 x 50 หมายเหตุ
ขีดความสามารถ ตามเกณฑ N-1 ตามเกณฑ N-0 9 19 14 19 38 28 38 75 56 ขีดความสามารถของหมอแปลงกําลังไมไดหมายถึงขีดความสามารถ ของระบบไฟฟา
11
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
ในกรณีที่เปนสถานีที่ติดตั้งหมอแปลงเพียง 1 เครื่อง หากหมอแปลงเครื่องนั้น ไมสามารถจายไฟไดก็จะเกิดไฟดับทุกวงจร ยกเวนสามารถ ถายเทโหลดจากสถานีไฟฟาที่อยู ขางเคียง ดังนั้น เพื่อลดผลกระทบเนือ่ งจากหมอแปลงตัวหนึ่งชํารุดไมสามารถจายไฟได การ วางแผนจะดําเนินการในแนวทางตอไปนี้ (3.1) ติดตั้งหมอแปลง 2 เครื่อง (3.2) สรางฟดเดอรใหมที่มีขีดความสามารถสามารถรองรับการถายเทโหลด ในกรณีจายไฟฉุกเฉิน โดยระหวางจายไฟฉุกเฉินนั้นยอมใหแรงดันตกไมเกิน 10% (4) จํานวนวงจร จํานวนวงจรทีจ่ ะกอสรางจริงจะขึ้นอยูกับระยะทางและขนาดโหลด ณ ปที่ 10 นับจากวันเริ่มโครงการ ดังนั้นจํานวนวงจรที่จะกอสรางจริงเทากับ จํานวนวงจรที่จะกอสราง =
ขนาดโหลด (MVA) + 1วงจร โหลดปกติขอ งวงจร (MVA)
โดยที่ (4.1) โหลดปกติของวงจรแรงดัน 22 เควี ไมเกิน 8 MVA และ (4.2) โหลดปกติของวงจรแรงดัน 33 เควี ไมเกิน 10 MVA กรณีที่มีปญหาแรงดันตกเกินกวากําหนด ปญหาสภาพพื้นที่กอสราง หรือ ปญหาสภาพการจายไฟ สามารถเพิ่มจํานวนวงจรที่จะกอสรางใหเพียงพอที่จะแกปญหาทาง เทคนิคเหลานัน้ (5) อุปกรณปองกัน จํานวนและขนาดของอุปกรณปองกันขึ้นอยูกับจํานวนหมอแปลง จํานวนวงจร และโหลด ทั้งนี้อุปกรณปองกันในสถานีไฟฟาที่ กฟภ. ใชงานอยูในปจจุบันมีพิกัดเทากับ (5.1) 25 kA สําหรับอุปกรณปองกันแรงดัน 22 และ 33 เควี (5.2) 31.5 kA หรือ 40 kA สําหรับอุปกรณปองกันแรงดัน 115 เควี 3.9 ระบบจําหนาย (1) สายจําหนายแรงสูง สายจําหนายหลัก (Main Feeder) จะมีพิกัดโหลดปกติ และชนิดของสาย ดังตอไปนี้ (1.1) พิกัดโหลดปกติของสายจําหนายแรงสูง 1) โหลดปกติของวงจร 22 เควี ไมเกิน 8 MVA 2) โหลดปกติของวงจร 33 เควี ไมเกิน 10 MVA
12
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
(1.2) ชนิดสาย สายจําหนายแรงสูงของ กฟภ. มี 3 ชนิด ไดแก สายเปลือย สายหุม ฉนวน และ สายเคเบิลใตดิน โดยสายแตละชนิดมีขอกําหนดในการใชงานดังนี้ 1) สายเปลือย สายเปลือยใชกับระบบจําหนายในพื้นที่ดังนี้ - พื้นที่โลง พื้นที่มีตนไมไมหนาแนนมาก - พื้นที่มีปญหามลภาวะไมเหมาะสมจะใชสายชนิดอื่น 3) สายหุมฉนวน สายหุมฉนวนใชกับระบบจําหนายในพื้นทีด่ ังนี้ - เขตเมืองชุมชนหนาแนน นิคมอุตสาหกรรม พื้นที่อุตสาหกรรมที่ มีปญหาไฟดับบอยครั้งซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากปญหา คน สัตว ตนไม - ระบบจําหนายมีปญหาระยะหางจากตัวอาคารหรือแผนปาย โฆษณา หรืออยูในถนนแคบ ไมไดมาตรฐานความปลอดภัย - ระบบสายจําหนายที่อยูใตแนวสายสง 4) สายเคเบิลใตดิน สายเคเบิลใตดิน (Underground Cable) ใชกับระบบจําหนายที่อยูใน พื้นที่ดังนี้ - บริเวณหนาสถานีไฟฟา - พื้นที่ที่มปี ญหาทางเทคนิคจนไมสามารถกอสรางระบบสายเหนือ ดิน (Overhead line system) - พื้นที่ตองการความสวยงามของภูมิทัศนเปนพิเศษ ทั้งนี้ ในการเลือกใชสายไฟชนิดใดนั้นตองพิจารณาความเหมาะสม ทั้งทางดานเทคนิคและเงินลงทุน (2) หมอแปลงจําหนาย การติดตั้งหมอแปลงจําหนาย (Distribution Transformer) เปนไปตามหลักเกณฑ ดังนี้ (2.1) ขีดความสามารถ กรณีจายไฟปกติโหลดสูงสุดของหมอแปลงจําหนายไมเกิน 80% ของ พิกัด (2.2) ตําแหนงติดตัง้ หมอแปลงจําหนายตองตั้งใกลศูนยกลางโหลดมากที่สุดเทาที่จะเปนไปได 13
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
(3) อุปกรณปองกันในระบบจําหนายแรงสูง (3.1) รีโคลสเซอร หลักเกณฑในการวางแผนติดตั้งรีโคลสเซอร (Recloser) ในระบบ จําหนายแรงสูง มีดังนี้ 1) กรณีติดตั้งในสายจําหนายหลัก (Main Feeder) ตําแหนงในการ ติดตั้งควรอยูหลังเขตเมือง อําเภอ หรือที่ชุมชน หรือกลุมโรงงาน หรือกลุมโหลดสําคัญ เชน สถานที่ราชการ, สถานทีท่ องเที่ยว และ เมืองชายแดน ทั้งนี้ ควรหางจากสถานีไฟฟา ไมนอยกวา 10 กม. และระยะหางระหวางรีโคลสเซอรตนทางและรีโคลสเซอรชุดถัดไปไม ควร นอยกวา 10 กม. สําหรับรีโคลสเซอรที่อยูในสายจําหนายหลัก เดียวกัน ยกเวนระหวางรีโคลสเซอรมีโหลดหนาแนนหรือกลุมโหลด สําคัญ 2) กรณีติดตั้งในสายจําหนายยอย (Branch Feeder) - ใชติดตั้งในสายจําหนายยอยสามเฟสที่ใชฟวส (Fuse) ปองกัน ตั้งแตขนาด 400 Amp แบบ K ขึ้นไปทีไ่ มสามารถ Co – ordination กับอุปกรณปองกันตนทางชุดถัดไปได - ใชติดตั้งในสายจําหนายยอยที่มีกระแสไฟฟาดับบอยครั้ง หรือไลน แยกที่มีระยะทางรวมเกิน 10 กม. ขึ้นไป ที่มีปญหาเรื่องการเคลีย ไลนไดลาชา 3) อื่น ๆ - ใชติดตั้ง ณ จุดแบงเขตระหวางการไฟฟาเขตเทานั้น - ตําแหนงที่ตดิ ตั้งรีโคลสเซอรตองพิจารณาใหสะดวกในการเขา ไปปฏิบติงานและบํารุงรักษาและคากระแสฟอลทซึ่งอาจเกิดขึ้น ณ จุดนี้จะตองมีคาไมมากกวาพิกัดการตัดกระแสของรีโคลสเซอร และ สามารถจัด Co – ordination กันได - รีโคลสเซอรในพื้นที่ที่มีศนู ยควบคุมการจายไฟสถานีไฟฟา จะตอง มีการติดตั้ง Remote Terminal Unit (RTU) พรอมอุปกรณสื่อสาร (Communication Device) (3.2) ฟวสระบบ 22 และ 33 เควี ติดตั้งฟวส เพื่อปองกันสายจําหนายยอย หมอแปลงระบบจําหนาย และ สายจําหนายแรงต่ํา - ใชติดตั้งในสายจําหนายยอยที่มีกระแสไฟฟาดับบอยครั้ง หรือไลน แยกที่มีระยะทางรวมเกิน 10 กม. ขึ้นไป ที่มีปญหาเรื่องการเคลีย ไลนไดลาชา 14
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
(3.3) สวิตชตัดโหลด 1) สวิตชตัดโหลดแบบควบคุมการเปดปดอัตโนมัติ (Automatic SF6 Load Breaker Switch) จะพิจารณาติดตั้งในสายจําหนายหลัก 2½ ชุด (½ ชุด คือ Tie-Switch สําหรับเชื่อมโยงวงจร) แตอาจพิจารณา ติดตั้งเพิ่มในพื้นที่มีโหลดสูง 2) สวิตชตัดโหลดแบบธรรมดา (Manual SF6 Load Break Switch) จะ พิจารณาติดตั้งในสายจําหนายหลัก และสายจําหนายยอย เพื่อแยก ระบบจําหนายในกรณีตองการบํารุงรักษาระบบ 3) สวิตชตัดโหลดในพื้นที่ที่มศี ูนยควบคุมการจายไฟอัตโนมัติ จะตองมี การติดตั้ง RTU พรอมอุปกรณสื่อสาร (4) คาปาซิเตอรระบบแรงดัน 22 และ 33 เควี เกณฑการติดตั้งคาปาซิเตอรในระบบจําหนายแรงสูงมีดังนี้ (4.1) แรงดันตก : เพื่อใหแรงดันตกที่ปลายสายระบบจําหนายแรงต่ําไมเกิน 10 % (4.2) กําลังสูญเสีย : ติดตั้งคาปาซิเตอรเพื่อจะลดกําลังสูญเสียในสาย (4.3) สําหรับพื้นที่ทมี่ ีศูนยควบคุมการจายไฟอัตโนมัติ การติดตั้งคาปาซิเตอร จะตองมีการติดตั้ง RTU พรอมอุปกรณสื่อสาร (5) สายจําหนายแรงต่ํา สายจําหนายแรงต่ํามีหลักเกณฑการวางแผนดังนี้ (5.1) ขนาดสาย : ขนาดสายขึ้นอยูกับขนาดหมอแปลงที่ติดตัง้ ในระบบ จําหนาย (5.2) ชนิดสาย : สายหุมฉนวน (5.3) สายเคเบิลใตดิน 1) พื้นที่ไมสามารถกอสรางระบบสายเหนือดิน 2) พื้นที่ตองการความสวยงามของภูมิทัศนเปนพิเศษ (6) อุปกรณปองกันแรงต่ํา (6.1) ลอฟาแรงต่ํา (1) ติดตั้งที่ปลายสายเคเบิลใตดิน (The cable sealing end) ที่ติดตั้งตอ จากสายเหนือดิน (2) ติดตั้งที่นั่งรานหมอแปลง (3) ติดตั้งที่ปลายสายแรงต่ําที่ยาวเกิน 200 ม. (4) ติดตั้งที่ทุกๆ ระยะ ไมเกิน 1,000 ม. ในสายจําหนายแรงต่ํา (5) ในยานที่มีฟาผารุนแรง ใหติดตั้งลอฟาแรงต่าํ เพิ่มขึ้นตามความ เหมาะสม 15
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
(6.2) ฟวสสวิตช ติดตั้งฟวสสวิตช (Fuse Switch) ระหวางหมอแปลงจําหนายและโหลดเพื่อ ปองกันกระแสเกินในสายจําหนายแรงต่ํา (6.3) กราวด 1) ติดตั้งกราวด (Ground) ที่ตาํ แหนงที่มีการติดตั้งลอฟาแรงต่ํา ยกเวน ที่เสาตนถัดจากนั่งรานหมอแปลงที่หางจากนั่งรานหมอแปลง มากกวาหรือเทากับ 20 ม. 2) ติดตั้งที่จุดแยกสายจําหนายแรงต่ํา ซึ่งหางจากตําแหนงลงดินของ สายนิวทรอล (Neutral Line) อื่นๆ มากกวาหรือเทากับ 200 ม. 3) คากราวดแตละจุดไมเกิน 5 โอหม 4) คากราวดรวมในระบบจําหนายแรงต่ําตองไมเกิน 2 โอหม (7) คาปาซิเตอรแรงต่ํา ติดตั้งคาปาซิเตอรแรงต่ําเพื่อแกปญหาแรงดันตก เพื่อปรับปรุงคาเพาเวอรแฟค เตอร (Power Factor) และเพื่อลดกําลังสูญเสีย (8) มิเตอรแรงต่ํา ติดตั้งมิเตอรแรงต่ําที่จุดที่มั่นคงแข็งแรง สามารถอานมิเตอรไดสะดวก
4. แหลงผลิตไฟฟาขนาดเล็กในระบบไฟฟา ตามโครงสรางธุรกิจพลังงานไฟฟา กฟภ. จะรับพลังงานไฟฟาจากแหลงผลิต ไฟฟาของ กฟผ. เปนสวนใหญ ซึ่ง กฟผ. จะรับผิดชอบในการวางแผน ออกแบบ ควบคุมการ ติดตั้งระบบผลิต ระบบสงจนกระทั่งถึงสถานีไฟฟาที่จายไฟใหกับ กฟภ. แตในปจจุบันมีแหลงผลิต ไฟฟาที่เชื่อมโยงกับระบบจําหนายของ กฟภ. ซึ่ง กฟภ. จะตองดูแลการออกแบบ ติดตั้ง การ เชื่อมโยงระบบผลิตไฟฟาดังกลาว ใหสอดคลองกับแผนการพัฒนาระบบไฟฟาของ กฟภ. และ สามารถคงคุณภาพการจายไฟฟาใหเปนไปตามมาตรฐาน จากนโยบายเพิ่มการแขงขันในธุรกิจผลิตไฟฟาของรัฐบาล กําหนดใหเอกชนมี สัดสวนการผลิตไฟฟาถึง 50% ของทั้งหมด นโยบายสงเสริมการผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน นโยบาย Renewable Portfolio Standard (RPS) ตนทุนในการผลิตไฟฟาขนาดเล็กมีราคาถูกลง อีกทั้งการเปดโอกาสใหการไฟฟาฝายจําหนายรับซื้อพลังงานไฟฟาจากผูผลิตไฟฟาขนาดเล็ก โดยตรง ในปริมาณที่สูงขึ้น สงผลใหมีผูผลิตไฟฟาเอกชนมากขึ้น ซึ่งอาจแบงผูผลิตไฟฟาเอกชน ออกเปน ผูผลิตไฟฟารายใหญ (Independent Power Producer, IPP) (ขนาดมากกวา 90 เมกะ วัตต) และผูผ ลิตไฟฟารายเล็ก (Small Power Producer, SPP) โดยผูผลิตไฟฟารายใหญจะ เชื่อมโยงกับระบบสายสง และผูผลิตไฟฟารายเล็กจะเชือ่ มโยงกับระบบจําหนาย
16
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
กฟภ. จําเปนตองวางแผนออกแบบระบบจําหนายไฟฟาใหรองรับการเชื่อมโยง จากแหลงผลิตไฟฟาขนาดเล็ก (Distributed Generation) ที่จะเกิดขึ้น โดย กฟภ. ไดวาง หลักเกณฑในการรับเชื่อมโยงแหลงผลิตไฟฟาขนาดเล็ก วาจะตองสามารถรักษาระดับแรงดันให อยูในเกณฑดานแรงดัน ไมเกินพิกัดการรับโหลดของระบบไฟฟาของ กฟภ. ไมกระทบความ เชื่อถือไดของระบบไฟฟาอยางรุนแรง ไมทําใหความมั่นคงของระบบไฟฟาลดลง และ ระบบ ไฟฟายังมีเสถียรภาพ รายละเอียดเกณฑการวางแผนที่เกี่ยวของกับแหลงผลิตไฟฟาขนาดเล็ก แยกตาม พื้นที่ดังตอไปนี้ 4.1 พื้นที่ 1 และ พื้นที่ 2 (พื้นที่นิคมอุตสาหกรรม พื้นที่อุตสาหกรรม พื้นที่เทศบาล นคร เทศบาลเมือง หรือเทศบาลตําบลที่เปนพื้นทีธ่ ุรกิจ หรือพื้นที่สําคัญพิเศษ) (1) เชื่อมโยงกับระบบสายสง 115 เควี แหลงผลิตไฟฟารายเล็กที่เชื่อมโยงกับระบบสายสง 115 เควี ในพื้นที่ 1 และ 2 ของ กฟภ. ซึ่งมีจายไฟในลักษณะวงรอบปดสอดคลองกับเกณฑ N-1 จะตองดําเนินการให สอดคลองกับเกณฑการวางแผนดังตอไปนี้ เกณฑ
คา/ขอกําหนด + 5% แรงดันพิกัด ≤ 90 MW - CCT 140 ms - ติดตั้งระบบ Unsynchronisation ที่สถานีไฟฟาของ กฟภ. ≤ 40 kA - H-type (Terminal Station) หรือดีกวา - Tail End กรณีเชื่อมโยงที่สถานีไฟฟาของ กฟภ. โดยตรง Outdoor หรือดีกวา แบบอัตโนมัตแิ ละสามารถติดตอกับศูนยสงั่ การจายไฟของ กฟภ.
- แรงดัน - ขีดจํากัดการรับโหลด - เสถียรภาพ
- ขีดจํากัดกระแสลัดวงจร - Bus Scheme Type
- Switchgear Type - การควบคุมระบบ
17
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
(2) เชื่อมโยงระบบจําหนาย 22 และ 33 เควี แหลงผลิตไฟฟาขนาดเล็กที่เชื่อมโยงกับระบบจําหนาย 22 และ 33 เควี ใน พื้นที่ 1 และ 2 ซึ่งมีการจายไฟแบบวงรอบปดสอดคลองกับเกณฑ N-1 จะตองดําเนินการให สอดคลองกับเกณฑการวางแผนดังตอไปนี้ เกณฑ แรงดัน ขีดจํากัดการรับโหลด เสถียรภาพ
ขีดจํากัดกระแสลัดวงจร การเชื่อมโยง Switchgear Type การควบคุมระบบ
คา/ขอกําหนด + 5% แรงดันพิกัด - ≤ 8 MW ตอสายจําหนาย 22 เควี 1 วงจร - ≤ 10 MW ตอสายจําหนาย 33 เควี 1 วงจร - CCT 2 s - ติดตั้งระบบ Unsynchronisation ที่ Circuit Breaker ที่สถานีไฟฟา หรือที่รีโคลสเซอรใน ระบบจําหนายของ กฟภ. ≤ 25 kA Tap Line Indoor แบบอัตโนมัตแิ ละสามารถติดตอกับศูนยสงั่ การ จายไฟของ กฟภ.
(3) เชื่อมโยงระบบจําหนายแรงต่ํา แหลงผลิตไฟฟาขนาดเล็กที่เชื่อมโยงกับระบบจําหนายแรงต่ํา 220/380 โวลท ในพื้นที่ 1 และ 2 ของ กฟภ. จะตองดําเนินการใหสอดคลองกับเกณฑการวางแผนดังตอไปนี้ เกณฑ แรงดัน ขีดจํากัดการรับโหลด เสถียรภาพ การเชื่อมโยง
คา/ขอกําหนด + 5% แรงดันพิกัด ≤ 33% ของพิกัดหมอแปลงจําหนาย CCT 7 s Tap Line
4.2 พื้นที่ 3 พื้นที่ 4 และพื้นที่ 5 (พื้นที่เทศบาลเมืองทัว่ ไป พื้นที่เทศบาลตําบลทั่วไป และพื้นที่ชนบท) (1) การเชื่อมโยงกับระบบสายสง 115 เควี 18
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
แหลงผลิตไฟฟารายเล็กที่เชื่อมโยงกับระบบสายสง 115 เควี ในพื้นที่ 3, 4 และ 5 ของ กฟภ. ซึ่งจายไฟแบบวงรอบเปดจะตองดําเนินการใหสอดคลองกับเกณฑการวางแผน ดังตอไปนี้ เกณฑ แรงดัน ขีดจํากัดการรับโหลด ความมั่นคง เสถียรภาพ ขีดจํากัดกระแสลัดวงจร การเชื่อมโยง Switchgear Type การควบคุมระบบ
คา/ขอกําหนด + 5% แรงดันพิกัด ≤ 90 MW - RT ของสายสง < 3 นาที เมื่อควบคุมอัตโนมัติ - RT ของสายสง < 45 นาที เมื่อควบคุมแบบ Manual - CCT 700 ms - ติดตั้งระบบ Unsynchronisation ที่สถานีไฟฟาของ กฟภ. ≤ 31.5 kA - Tap Line - Tail End กรณีเชื่อมโยงที่สถานีของ กฟภ. โดยตรง Outdoor หรือดีกวา แบบอัตโนมัตแิ ละสามารถติดตอกับศูนยสงั่ การจายไฟของ กฟภ.
(2) เชื่อมโยงระบบจําหนาย 22 เควี และระบบจําหนาย 33 เควี แหลงผลิตไฟฟาขนาดเล็กที่เชื่อมโยงกับระบบจําหนาย 22 และ 33 เควี ใน พื้นที่ 3, 4 และ 5 ซึ่งมีการจายไฟแบบเรเดียล จะตองดําเนินการใหสอดคลองกับเกณฑการ วางแผนดังตอไปนี้ เกณฑ แรงดัน ขีดจํากัดการรับโหลด เสถียรภาพ
พิกัดกระแสลัดวงจร การเชื่อมโยง Switchgear Type การควบคุมระบบ
คา/ขอกําหนด + 5% แรงดันพิกัด - ≤ 8 MW ตอสายจําหนาย 22 เควี หนึง่ วงจร - ≤ 10 MW ตอสายจําหนาย 33 เควี หนึ่งวงจร - CCT 5 s - ติดตั้งระบบ Unsynchronisation ที่ Circuit Breaker ที่สถานีไฟฟา หรือที่รีโคลสเซอรในระบบจําหนายของ กฟภ. ≤ 25 kA Tap line Indoor แบบอัตโนมัติ และสามารถติดตอกับศูนยสั่งการจายไฟของ กฟภ. 19
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
(3) เชื่อมโยงระบบจําหนายแรงต่ํา แหลงผลิตไฟฟาขนาดเล็กที่เชื่อมโยงกับระบบจําหนายแรงต่ํา 220/380 โวลท ในพื้นที่ 3, 4 และ 5 ของ กฟภ. จะตองดําเนินการใหสอดคลองกับเกณฑการวางแผนดังตอไปนี้ เกณฑ
คา/ขอกําหนด + 5% แรงดันพิกัด ≤ 33% ของพิกัดหมอแปลงจําหนาย CCT 7 s Tap line
แรงดัน พิกัดการรับโหลด เสถียรภาพ การเชื่อมโยง
5. โครงสรางของสถานีลานไก และสถานีไฟฟา การเลือกใชการจัดรูปแบบ (Configuration) ของสถานีลานไก (Switching Station) และสถานีไฟฟา (Substation) จะขึ้นอยูกับความสําคัญของโหลดที่จายไฟ วงเงิน ลงทุนในการกอสรางสถานีลานไกและสถานีไฟฟา และความเชื่อถือไดของระบบไฟฟาที่ ตองการ รูปแบบการสถานีลานไกและสถานีไฟฟาแตละแบบมีดังนี้ 5.1 สถานีลานไก 115 เควี สถานีลานไกตองการความเชื่อถือไดสูง เนื่องจากเปนการจายกระแสไฟฟาที่ ระดับแรงดัน 115 เควี สามารถแบงได 2 แบบทีใ่ ชงานใน กฟภ. คือ (1) Breaker and a Half Scheme สําหรับ ระบบ Air Insulated รูปแบบการจัดโครงสรางตามรูปที่ 1 โครงสรางสถานีไฟฟาตองการ Circuit Breaker 3 ตัว ตอการปองกันระบบ 2 วงจร เปนระบบที่มีสะดวกในปรับเปลี่ยนในการตัดจายไฟ มีความเชื่อถือไดสูง สามารถบํารุงรักษาบัสใดบัสหนึ่ง หรือ Circuit Breaker ตัวใดตัวหนึ่ง โดย ไมตองดับไฟวงจรใดวงจรหนึ่ง แตมีขอเสียคือ ราคาสูง ใชพื้นที่คอ นขางมาก และหาก Circuit Breaker ตัวกลางทํางานผิดพลาด (Breaker Failure) จะทําใหเกิดการตัดวงจรที่ไมเกิดฟอลต ออกจากระบบ (2) Double Bus Single Breaker Scheme สําหรับ ระบบ Gas Insulated รูปแบบการจัดโครงสรางตามรูปที่ 2 โครงสรางประกอบดวย 2 บัสบาร ติดตั้ง เชื่อมตอดวย Bus Tie Circuit Breaker และมี Circuit Breaker 1 ตัวปองกัน 1 วงจร เปน ระบบที่คอนขางสะดวกในการปรับเปลีย่ นในการตัดจายไฟ สามารถนํา Circuit Breaker ตัวใด ตัวหนึ่งออกซอมบํารุงรักษาไดโดยไมตองดับไฟดวยการปรับเปลี่ยนการตั้งคา Relay และ สามารถนําบัสบารใดบัสบารหนึ่งออกบํารุงรักษาโดยไมตองดับไฟ และมีขอดีอีกอยางหนึ่งคือ สามารถแยกบัส 2 บัสออกจากกัน เพื่อแยกจายไฟได ทําใหสามารถปรับระดับแรงดันไดอยาง อิสระ เมื่อเปนระบบ GIS จึงใชพื้นที่นอ ย ไมตองบํารุงรักษาบอยครั้ง และสามารถใชงานใน พื้นที่ที่มีมลภาวะไดดีเนื่องจากเปน Indoor สําหรับขอเสียของ GIS คือ ตองใชดิสคอนเน็ก 20
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
เตอร 5 ชุดตอ 1 Bay เพื่อใหสามารถแยกปองกันแตละบัสได ทําใหระบบปองกันบัสรวมทั้ง การเซ็ต Relay มีความซับซอน และเมื่อ Circuit Breaker ใน Line Bay ทํางานผิดพลาดจะทํา ใหไมสามารถจายกระแสไฟใหกับโหลดหาสิบเปอรเซ็นตที่เชื่อมตอกับสถานีไฟฟา 5.2 สถานีไฟฟา (Substation) 5.2.1 รูปแบบโครงสรางสวิตชเกียร 115 เควี ของ กฟภ. มี 6 แบบ แตละแบบของสถานี ไฟฟามีระดับความเชื่อถือไดที่แตกตางกัน โดยจะเริ่มจากสถานีไฟฟาที่มีความเชื่อถือไดสูงสุด ไปยังต่ําสุด (1) GIS Double Bus Single Breaker รูปแบบการจัดโครงสรางตามรูปที่ 2 โครงสรางประกอบดวย 2 บัสบาร ติดตั้งเชื่อมตอดวย Bus Tie Circuit Breaker และมี Circuit Breaker 1 ตัวปองกันตอ 1 วงจร โดยทั่วไปจะมีอยางนอย 2 Line Bays, 2 Transformer Bays และ 1 Tie Bay ในการออกแบบ ควรเผื่ออนาคตรองรับการเพิ่ม Line Bay เปน 4-6 Line Bays เพื่อจายไฟใหสถานีไฟฟา ขางเคียง สถานีไฟฟาของผูใชไฟฟา และจัดทําเปน Loop System เนื่องจากการเพิ่ม Bay เปนไปไดคอนขางยาก และมีขอดีอีกอยางหนึ่งคือสามารถแยกบัส 2 บัสออกจากกัน เพื่อแยก จายไฟได ทําใหสามารถปรับระดับแรงดันไดอยางอิสระ ใชพื้นที่ในการกอสรางนอยประมาณ 2 ไร หนากวางติดถนนอยางนอย 40 เมตร เหมาะสําหรับพื้นที่มีมลภาวะสูง และตองการรักษา ภูมิทัศน และสิ่งแวดลอม (2) AIS Main and Transfer Bus รูปแบบการจัดโครงสรางตามรูปที่ 3 โครงสรางประกอบดวย 2 บัสบาร คือ เมนบัสใชงานในภาวะปกติ และทรานเฟอรบัสใชงานเมื่อมีการซอมบํารุงเซอรเบรคเกอร ซึ่ง เชื่อมตอระหวางบัสดวย Bus Tie Circuit Breaker และมี Circuit Breaker 1 ตัวปองกัน 1 วงจร โดยทั่วไปจะมี 2 Line Bays, 2 Transformer Bays และ 1 Tie Bay หากเผื่อพื้นที่ไวก็ สามารถเพิ่ม Line Bay ไดเมื่อตองการ สามารถซอมบํารุงรักษา Circuit Breaker โดยไมตองดับ ไฟ โดยจายไฟผาน Bus Tie Circuit Breaker ใชพื้นที่ในการกอสรางคอนขางมากประมาณ 7 ไร หนากวางติดถนน 90 เมตร เหมาะสําหรับกอสรางอยูนอกเมือง (3) GIS H-Type Indoor มีรูปแบบการจัดโครงสรางแบบ H-Scheme ฉนวนดวย SF6 การจัด โครงสรางตามรูปที่ 4 โครงสรางประกอบดวย 2 Circuit Breaker ปองกันไลน 2 ตัว และ Circuit Breaker ปองกันหมอแปลง 2 ตัว และระหวางกลางเชือ่ มตอดวย Disconnecting Switch เปนรูปตัว H สามารถแยกจายไฟเปน 2 ขางได หากมีปญหาดานใดดานหนึ่ง สามารถ แยกดานที่มีปญหาออก แลวจายไฟจากอีกดานหนึ่งไปกอนได แตมีขอจํากัดในการขยาย Line Bay และการซอมบํารุง Circuit Breaker ตองมีการดับไฟบางสวน แตใชพื้นที่นอยกวาแบบ GIS Double Bus Single Breaker ประมาณ 1 ไรครึ่ง เหมาะสําหรับพื้นที่มีมลภาวะสูง และตองการ รักษาภูมิทัศน และสิ่งแวดลอม 21
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
(4) AIS H-Type Compact มีรูปแบบการจัดโครงสรางแบบ H-Type การจัดโครงสรางตามรูปที่ 4 โครงสรางประกอบดวย Circuit Breaker ปองกันไลน 2 ตัว และ Circuit Breaker ปองกันหมอ แปลง 2 ตัว และระหวางกลางเชื่อมตอดวย Disconnecting Switch เปนรูปตัว H โดยทั่วไป Circuit Breaker ที่ปองกันไลน หรือหมอแปลงจะติดตั้งหัวทายดวย Disconnecting Switch และ Earthing Switch เพื่อทําใหมีพื้นที่ติดตั้งลดลง ลดการขัดของที่เกิดกับ Disconnecting Switch การใช Compact Switchgear ที่รวมฟงกชนั ของ Circuit Breaker, Disconnecting Switch และ Earthing Switch เขาดวยกัน รูปแบบนี้มีความยืดหยุนสูง ในชวงแรกที่มีการติดตั้ง หมอแปลงตัวเดียวและรับไฟระบบ 115 เควี แบบเรเดียล อาจติดตั้งเปนแบบ Tail End กอน แลวเผื่อพื้นทีไ่ วขยายเปน H-Type ในอนาคต แตมีขอ จํากัดหากตองการขยาย Line Bay ใน อนาคต และการซอมบํารุง Circuit Breaker ตองมีการดับไฟบางสวน ใชพื้นทีป่ ระมาณ 3 ไร หนากวางติดถนน ประมาณ 70 เมตร ขนาดพื้นที่ 70x60 ตร.ม. เหมาะสําหรับพื้นที่ตองการ ความเชื่อถือไดปานกลาง (5) AIS H-Type มีรูปแบบการจัดโครงสรางแบบ H-Type การจัดโครงสรางตามรูปที่ 4 โครงสรางประกอบดวย Circuit Breaker ปองกันไลน 2 ตัว และ Circuit Breaker ปองกัน หมอ แปลง 2 ตัว และเชื่อมตอกันดวย Disconnecting Switch เปนรูปตัว H รูปแบบนีม้ ีความยืดหยุน สูง ในชวงแรกที่มีการติดตัง้ หมอแปลงตัวเดียวและรับไฟระบบ 115 เควีแบบเรเดียล อาจติดตั้ง เปนแบบ Tail End กอนแลวเผื่อพื้นที่ไวขยายเปน H-Type ในอนาคต แตมีขอจํากัดหาก ตองการขยาย Line Bay ในอนาคต และการซอมบํารุง Circuit Breaker ตองมีการดับไฟ บางสวน ใชพนื้ ที่ประมาณ 4 ไร หนากวางติดถนน ประมาณ 70 เมตร ขนาดพื้นที่ 70x70 ตร.ม. เหมาะสําหรับพื้นที่ตอ งการความเชื่อถือไดปานกลาง (6) AIS Tail-End มีการจัดโครงสรางตามรูปที่ 5 โครงสรางประกอบดวย Circuit Breaker ปองกันหมอแปลง 1 ตัว โดยตอตรงเขากับไลนสายสง 115 เควี ทั้งนี้ Switchgear 115 เควี อาจเปนแบบทั่วไป หรือ Compact Switchgear ก็ได ใชพื้นที่ประมาณ 4 ไร หนากวางติดถนน ประมาณ 70 เมตร ขนาดพื้นที่ 70x70 ตร.ม. เหมาะสําหรับพื้นที่ตองการความเชื่อถือได ระดับต่ํา 5.2.2 รูปแบบโครงสราง Switchgear ระบบ 22 เควี และ 33 เควี สําหรับการจายไฟของระบบแรงดัน 22 เควี และ 33 เควี จะมีโครงสรางแบบ Single Bus Scheme โครงสรางจะประกอบดวย Incoming, Outgoing, Longitudinal Bus Couples และ Capacitor Bank เชื่อมตอบน Bus เดียวกัน โดย Switchgear ที่ใชในระบบ แรงดัน 22 เควี และ 33 เควี จะเปนแบบ Metal-Clad/ Compartmented SF6 GIS
22
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
รูปที่ 1 115 kV AIS Breaker and a Half
23
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
รูปที่ 2 115 kV GIS Double Bus 24
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
รูปที่ 3 115 kV AIS Main & Transfer Bus 25
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
รูปที่ 4 115 kV H-scheme Configuration 26
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
รูปที่ 5 115 kV AIS Substation Connected by Tie Line 27
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
6. รูปแบบการเชื่อมโยงแหลงผลิตไฟฟาขนาดเล็ก การเชื่อมโยงระบบไฟฟาของแหลงผลิตไฟฟาขนาดเล็ก ตองมีรูปแบบการ เชื่อมโยงและอุปกรณปองกันตามที่การไฟฟาสวนภูมิภาคกําหนด โดยอุปกรณที่ใชในการ เชื่อมโยงระบบจะตองมีมาตรฐานตามทีก่ ารไฟฟาสวนภูมิภาคยอมรับ การเชื่อมโยงระบบไฟฟาของแหลงผลิตไฟฟาขนาดเล็ก เขากับระบบไฟฟาของ การไฟฟาสวนภูมิภาค จะตองผานหมอแปลงไฟฟา (Isolated Transformer) และการขนาน เครื่องกําเนิดไฟฟาเขากับระบบของการไฟฟาสวนภูมิภาค จะตองไดรับความเห็นชอบจากการ ไฟฟาสวนภูมิภาคกอน ทั้งนี้ รูปแบบการเชื่อมโยงของแหลงผลิตไฟฟาขนาดเล็ก เขาระบบของ การไฟฟาสวนภูมิภาคเปนดังนี้
28
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
22 - 33 kV PEA's Distribution Line Visible Air Gap Single Pole Disconnecting Switch or Lockable Gang Switch
Part of PEA's responsibility Part of generator owner's responsibility
Imp Meter
Var Meter
59N 3
1 68
3
1
27 59
Interconncetion Circuit Breaker
52-A
67 3
81
*
3 1
25 50 51
3
1 3
1
NOTE 1. VT class Metering : CL 0.5 2. CT class Metering : CL 0.5 Protection : 5P20 or Reference 3. 27/59 and 81 must be provided 2 statge
52-B
*
Number of unit
52 Device No. 25
52
Load
52
Trips
Note For 52-A
52 27/59
Undervoltage and Overvoltage Relay
52-A
50/51
Phase Overcurrent Relay
52-A
Zero Sequence Overvoltage Relay
52-A
67
Phase Directional Overcurrent Relay
52-A
68
Voltage Relay Block Closing Circuit while Deenergized
81
Underfrequency and Overfrequency Relay
59N
Gen
Function Synchronizing Check Relay
U< Alarm , U<< Trips U> Alarm , U>> Trips
Gen For 52-A F< Alarm , F<< Trips F> Alarm , F>> Trips
52-A
Dwg. File
Title
INTERCONNECTION
MINIMUM REQUIREMENT OF INTERCONNECTION PROTECTION AND METERING DIAGRAM FOR 22-33 kV COGENERATION
Dwg. No.
22-33kV-C-01 Rev. No.
Date June 2003
Provincial Electricity Authority
รูปที่ 6 รูปแบบการเชื่อมโยงระบบสําหรับลูกคาระบบ 22-33 kV
29
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
22 - 33 kV PEA's Distribution Line
Visible SF6 Switch with Remote Control Switch
Part of PEA's responsibility Part of generator owner's responsibility
Main
Exp Meter
Exp Meter
Imp Meter
Var Meter
Main Revenue Meter for Firm Contract
Monitoring Meter
3
59N 3
1
Power Quality Meter
68 3
1 27 59
Interconncetion Circuit Breaker
52-A
67 3
3
81
*
1
25 50 51
3
1 3
3 1
Less than 5 MVA NOTE 1. VT class Metering : CL 0.5 (Eccept VT for Revenue Meter Defind by Egat) 2. CT class Metering : CL 0.5 Protection : 5P20 or Reference 3. 27/59 and 81 must be provided 2 statge
52-B
*
Number of unit
52 Device No. 25
52
Load
52
Trips
Note For 52-A
52 27/59
Undervoltage and Overvoltage Relay
52-A
50/51
Phase Overcurrent Relay
52-A
Zero Sequence Overvoltage Relay
52-A
67
Phase Directional Overcurrent Relay
52-A
68
Voltage Relay Block Closing Circuit while Deenergized
81
Underfrequency and Overfrequency Relay
59N
Gen
Function Synchronizing Check Relay
U< Alarm , U<< Trips U> Alarm , U>> Trips
Gen For 52-A 52-A
F< Alarm , F<< Trips F> Alarm , F>> Trips Dwg. File
Title
MINIMUM REQUIREMENT OF INTERCONNECTION PROTECTION AND METERING DIAGRAM FOR 22-33 kV SPP up to 3 MW
INTERCONNECTION Dwg. No.
22-33kV-SPP-DY-01 Rev. No.
Date June 2003
Provincial Electricity Authority
รูปที่ 7 รูปแบบการเชื่อมโยงสําหรับ SPP ระบบ 22-33 kV ปริมาณไฟฟาจายเขาระบบ ไมเกิน 3 MW
30
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
22 - 33 kV PEA's Distribution Line
Visible SF6 Switch with Remote Control Switch
Part of PEA's responsibility Part of generator owner's responsibility
Exp Meter
Exp Meter
Imp Meter
Var Meter
Main Revenue Meter for Firm Contract
Monitoring Meter
3 Power Quality Meter
68 3
1 27 59
Interconncetion Circuit Breaker
67 67N
52-A
3
*
81 3
1
3
25 50 51
3
3
50N 51N
1 1
3 1
For Isolation Transformer over 5 MVA
87T 3
NOTE 1. VT class Metering : CL 0.5 (Eccept VT for Revenue Meter Defind by Egat) 2. CT class Metering : CL 0.5 Protection : 5P20 or Reference 3. 27/59 and 81 must be provided 2 statge
52-B
*
Number of unit
52 Device No. 25
52
Load
52
Trips
Note For 52-A
Synchronizing Check Relay
52 27/59
Undervoltage and Overvoltage Relay
52-A
50/51 50N/51N
Phase and Ground Overcurrent Relay
52-A
Phase and Ground Directional Overcurrent Relay
52-A
67/67N
Gen
Function
U< Alarm , U<< Trips U> Alarm , U>> Trips
Gen 68 81 87T
Voltage Relay Block Closing Circuit while Deenergized
For 52-A
Underfrequency and Overfrequency Relay Transformer Differential Relay
52-A
F< Alarm , F<< Trips F> Alarm , F>> Trips
52-A,52-B Dwg. File
Title
MINIMUM REQUIREMENT OF INTERCONNECTION PROTECTION AND METERING DIAGRAM FOR 22-33 kV SPP OVER 3 MW
INTERCONNECTION Dwg. No.
22-33kV-SPP-YD-01 Rev. No.
Date June 2003
Provincial Electricity Authority
รูปที่ 8 รูปแบบการเชื่อมโยงสําหรับ SPP ระบบ 22-33 kV ปริมาณไฟฟาจายเขาระบบ เกิน 3 MW
31
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
115 kV PEA Substation
52-YB
Teleprotection
115 kV PEA's Line Part of PEA's responsibility Part of generator owner's responsibility
Visible Air Break Switch
Optical Fiber
Imp Meter
Var Meter
1YP Monitoring Meter
3 59N
3
Interconncetion Circuit Breaker
1
3
52-3YB
Teleprotection
68 1
3
50 51 3
1YC
BF
81
3
*
67
25 1
27 59 3
1
NOTE 1. VT class Metering : CL 0.5 2. CT class Metering : CL 0.5 Protection : 5P20 or Reference 3. 27/59 and 81 must be provided 2 statge
87T 3
* Device No.
Number of unit
Function
Trips
Note
52-2 25
Synchronizing Check Relay
For 52-3YB
3 52-3YB
U< Alarm , U<< Trips U> Alarm , U>> Trips
Phase Overcurrent Relay
52-3YB
Alarm
Zero Sequence Overvoltage Relay
52-3YB
Alarm
67
Phase Directional Overcurrent Relay
52-3YB
Alarm
68
Voltage Relay Block Closing Circuit while Deenergized
81
Underfrequency and Overfrequency Relay
52-3YB
F< Alarm , F<< Trips F> Alarm , F>> Trips
87T
Transformer Differential Relay
52-3YB 52-2
Alarm
BF
Circuit Breaker Fail Relay
27/59
Undervoltage and Overvoltage Relay
50/51 59N
52
Load
52
Gen
52
Gen
For 52-3YB
For 52-3YB , Alarm Dwg. File
Title
INTERCONNECTION
MINIMUM REQUIREMENT OF INTERCONNECTION PROTECTION AND METERING DIAGRAM FOR 115 kV COGENERATION
Dwg. No.
115kV-C-01 Rev. No.
Date June 2003
Provincial Electricity Authority
รูปที่ 9 รูปแบบการเชื่อมโยงระบบสําหรับลูกคาระบบ 69-115 kV
32
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
115 kV PEA's Line
115 kV PEA's Line Part of PEA's responsibility Part of generator owner's responsibility
To Monitoring Meter
To Supplied Substation
1YP Visible Air Break Switch
Teleprotection
87L
67 67N
21
3
3
21N
To Supplied Substation
Teleprotection
3 50BF
To Monitoring Meter
2YP
1YC
21
67
50BF
21N
67N
87L
3
2YC
3
3
3
3 25
52-1YB
79 1
52-2YB
79
25
1
1
3
3
1
Reserved area for PEA substation in future
3
BYP
Exp Meter
Exp Meter
Imp Meter
Var Meter
Main Revenue Meter for Firm Contract
87B
3YP
3
Monitoring Meter
3 68
3
Interconncetion Circuit Breaker
Power Quality Meter
1 27 59
52-3YB
3
From 1YP 1YC 2YP 2YC
*
81
3
1 3
3YC
50 51
3
3
50N 51N
BF 1
25 1
1
3 1 87T 3
52-2 3
52
52
Gen
Gen
52
Load Dwg. File
Title
MINIMUM REQUIREMENT OF INTERCONNECTION PROTECTION AND METERING DIAGRAM FOR 115 kV SPP, TERMINAL SUBSTATION
INTERCONNECTION Dwg. No.
115kV-SPP-T-01 Rev. No.
Date June 2003
Provincial Electricity Authority
รูปที่ 10 รูปแบบการเชื่อมโยงระบบสําหรับ SPP ระบบ 69-115 kV แบบ Terminal Substation
33
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA
ฝายวางแผนระบบไฟฟา
การไฟฟาสวนภูมิภาค
115 kV PEA Substation
3
Part of PEA's responsibility 52-YB Part of generator owner's responsibility Teleprotection
Visible Air Break Switch
Optical Fiber Exp Meter Depend on distance from plant to PEA substation.
87L
Exp Meter
Imp Meter
Var Meter
Main Revenue Meter for Firm Contract
87B
3 1YP Monitoring Meter
3
Interconncetion Circuit Breaker
68
3
1
52-3YB
Teleprotection
3 3 1YC
50 51
50N 51N
BF
21
67
81
67N
27 59
21N
3
Power Quality Meter
25 1
*
3 3 1
NOTE 1. VT class Metering : CL 0.5 (Eccept VT for Revenue Meter Defind by Egat) 2. CT class Metering : CL 0.5 Protection : 5P20 or Reference 3. 27/59 and 81 must be provided 2 statge
87T 3
* Divice No.
Number of unit
Function
Trips
Note
52-2 21/21N 25
3
27/59
52
52
52
50/51 50N/51N 67/67N
Load
Gen
Gen
Phase and Ground Distance Relay
Alarm
52-3YB
Synchronizing Check Relay
For 52-3YB
Undervoltage and Overvoltage Relay
52-3YB
U< Alarm , U<< Trips U> Alarm , U>> Trips
Phase and Ground Overcurrent Relay
52-3YB
Alarm
Phase and Ground Directional Overcurrent Relay
52-3YB
68
Voltage Relay Block Closing Circuit while Deenergized
81
Underfrequency and Overfrequency Relay
52-3YB
87T
Transformer Differential Relay
52-3YB 52-2
BF
Circuit Breaker Fail Relay
Alarm For 52-3YB F< Alarm , F<< Trips F> Alarm , F>> Trips Alarm For 52-3YB , Alarm
Dwg. File
Title
MINIMUM REQUIREMENT OF INTERCONNECTION PROTECTION AND METERING DIAGRAM FOR 115 kV SPP, SUPPLIED DIRECTLY TO PEA'S SUBSTATION
INTERCONNECTION Dwg. No.
115kV-SPP-D-01 Rev. No.
Date June 2003
Provincial Electricity Authority
รูปที่ 11 รูปแบบการเชื่อมโยงระบบสําหรับ SPP ระบบ 69-115 kV จายตรงไปทีส่ ถานีไฟฟาของ กฟภ.
34
หลักเกณฑในการวางแผนระบบไฟฟา
PLANNING CRITERIA