มาตรฐาน ISO 14001 เป็ นมาตรฐานเกี่ ย วกั บ การจั ด การสิ่ ง
แวดล้อม หรือ Environmental Management Systems (EMS) ที่ถูก จัดทำาขึ้นเพื่อปรับระดับการพัฒนาทางด้านสิ่งแวดล้อมให้เท่าเทียมกัน
ในระหว่างประเทศที่จะทำาธุรกิจติดต่อกัน ไม่ว่าจะเป็ นการทำากิจกรรม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห รือ การบริก ารทุ ก ประเภท เพื่ อแก้ ปั ญหามลพิ ษ และ
อนุ รั ก ษ์ ส่ิ ง แวดล้ อ มซึ่ ง เป็ นภาระหน้ า ที่ ข องทุ ก ประเทศในโลก มาตรฐานนี้ จะกลายเป็ นสิ่งจำาเป็ นสำาหรับการแข่งขันในทางธุรกิจการ ค้าและอุตสาหกรรมระหว่างประเทศเช่นเดียวกับมาตรฐาน ISO 9000
ที่ได้กำาหนดไว้ก่อนหน้านี้ แล้ว โดยทำาให้ผู้ประกอบการให้ความสำาคัญ ทางด้านการตรวจสอบ ป้ องกันผลกระทบและจัดการด้านสิ่งแวดล้อม แบบมีระเบียบให้สอดคล้องกับลักษณะของธุรกิจและกฎหมายทั้งใน และนอกประเทศ ทั้ ง ยั ง เป็ นการลดค่ า ใช้ จ่ า ยในการกำา จั ด มลพิ ษ ที่
ปลายท่อ โดยการใช้หลักการลดและขจัดมลพิษที่จุดกำาเนิ ด ตามหลัก การควบคุมคุณภาพภายในการดำาเนิ นการและการผลิต ลดกรเสี่ยงภัย ของผู้ ทำา งานในองค์ ก ร และสาธารณชนจากผลกระทบทางด้ า นสิ่ ง
แวดล้อมเป็ นการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจด้วยการสร้างสัมพันธภาพอันดี งามกั บ ผู้ บ ริโ ภค พร้ อ มทั้ ง ทำา ให้ ไ ด้ เ ปรีย บคู่ แ ข่ ง ขั น ที่ ไ ม่ ป ฏิ บั ติ ต าม มาตรฐานด้วย
โดยการหลักการปฏิบัติเพื่อให้องกรค์ได้ผ่านมาตรฐานของ ISO
14001 จะมีหลักการของการบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อมแบ่งออก เป็ น 5 หลักการคือ
1. การกำาหนดนโยบายสิ่งแวดล้อม (Environmental Policy) 2. การวางแผนเพื่อสนองนโยบาย (Planning)
3. การนำา ไปปฏิ บั ติ แ ละการดำา เนิ นการ (Implementation &
Operation)
4. ก า ร ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ ก า ร ป ฏิ บั ติ แ ก้ ไ ข (Checking &
Corrective Action)
5. ก า ร ท บ ท ว น แ ล ะ ป รั บ ป รุ ง ใ ห้ ดี ขึ้ น อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง
(Management Review & Continual Immrovement)
ซึ่ ง ในรายงานเล่ ม นี้ จะกล่ า วถึ ง ส่ ว นของการนำา ไปปฏิ บั ติ แ ละการ
ดำา เนิ น การเกี่ ย วกั บ ปั ญหาสิ่ ง แวดล้ อ มทางด้ า นต่ า งๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ นใน กระบวนการผลิตประตูพีวีซีโดยการอัดขึ้นรูป ซึ่งปั ญหาส่วนใหญ่จะ มาจากวัตถุดิบ เครื่องจักร และสารเคมีต่าง ๆ ที่ใช้ในกระบวนการ
ผลิต โดยรวมไปถึงการนำาวัตถุดิบต่าง ๆ กลับมาใช้ใหม่เพื่อเป็ นการ ลดการใช้ทรัพยากร ซึง่ จะเป็ นการลดต้นทุนไปในตัว
ตัวอย่างลักษณะปั ญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น 1. มลพิษทางอากาศ (Air pollution)
ในกระบวนการผลิ ต ประตู พี วี ซี น้ ั นจะมี ค วั น ที่ เ กิ ด ขึ้ นจากการ
หลอมเม็ดพลาสติกและควันที่เกิดจากเครื่องต้มไอนำ้าที่ใช้ในการผลิต
ไอนำ้าเพื่อช่วยในการผลิต ซึ่งควันที่เกิดจากการทำากิจกรรมดังกล่าว
ควรมีการควบคุมดูแลให้เป็ นไปตามที่กฎหมายกำาหนด มีการตรวจวัด
สารเคมีท่ีเจือปนอยู่ในควันต่างๆเหล่านั้ นรวมไปถึงฝ่ ุนละอองต่างๆที่ อาจเกิดขึ้นในระหว่างการผลิต ซึ่งตัวอย่างค่าพารามิเตอร์ท่ีสำา คัญๆ ที่อยู่ในอากาศ เช่น
- ฝ่ ุนละออง ไม่เกิน 35 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร -
HCl 50 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
CO 115 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร SO2 80 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
NO2 150 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
Dioxins/Furan 0.5 นาโนกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
- ปรอท 0.1 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
- แคดเมียมและตะกัว่ 0.2 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
- อาร์ เ ซนิ ค เบริ ล เลี ย ม โครเมี ย ม 1 มิ ล ลิ ก รั ม ต่ อ ลูกบาศก์เมตร
ซึ่ ง ค่ าพารามิ เ ตอร์ เ หล่ าขึ้ นอยู่ กั บ ประเภทของโรงงานและเชื้ อ เพลิงที่ใช้ในการผลิตด้วยและควรมีการควบคุมอย่างเป็ นระบบ รวมไปถึงการเลือกใช้วัตถุดิบที่ไม่ก่อให้เกิดความเป็ นพิษหรือมี ความเป็ นพิษน้อยที่สุด
2. มลพิษทางนำ้า (Water pollution)
ในการผลิตประตูพีวีซีน้ ั นจะมีการใช้น้ ำาในการหล่อเย็น ซึ่งนำ้าที่
ใช้น้ ี จะมีปริมาณมากโดยก่อนการกำา จัดควรมีการปรับปรุงสภาพของ
นำ้าก่อนที่จะมีการระบายทิ้ง ซึ่งค่าสารเคมีท่ีเจือปนอยู่ในนำ้านั้ นจะมี พารามิเตอร์ท่ีสำาคัญๆ เช่น -
pH 5.5-9.0
TDS สูงสุดไม่เกิน 5000 มก./ล.
- โลหะหนั กต่ า ง ๆ เช่ น ปรอท แคดเมี ย ม ตะกั ่ ว
อาร์ เ ซนิ ค โครเมี ย ม เซเลเนี ย ม แบเรีย ม นิ ก เกิ ล ทองแดง สังกะสี แมงกานี ส
- นำ้ามันและไขมันสูงสุดไม่เกิน 15 มก./ล. -
BOD สูงสุดไม่เกิน 60 มก./ล.
TKN สูงสุดไม่เกิน 200 มก./ล.
COD สูงสุดไม่เกิน 400 มก./ล.
ซึ่ ง ค่ า ต่ า ง ๆ ที่ กำา หนดขึ้ นมานั้ นก็ ข้ ึ นอยู่ กั บ ปริม าณนำ้ าทิ้ ง แหล่ง รองรับ และประเภทของโรงงาน หรือควรมี การนำา นำ้ า
เหล่ า นั้ นมาใช้ ใ หม่ ใช้ ต่ อ ในกระบวนการอื่ นๆ และควรมี มาตรการในการประหยัดทรัพยากรเหล่านี้ ด้วย
3. กากของเสีย (Solid Waste)
ของเสี ย ที่ เ กิ ด ขึ้ นจากการผลิ ต ประตู พี วี ซี จ ะมี ท้ ั งเศษของ
พลาสติก นำ้ามันต่างๆ และขยะทัว่ ไป โดยควรมี การจำา แนก
ของเสียต่าง ๆ เหล่านี้ มีสถานที่จัดเก็บโดยมีการระบุสถานะ
ของขยะเหล่านั้ นอย่างชัดเจน ส่วนการกำาจัดของเสียเหล่านี้ จะ
แยกการกำาจัดโดยที่ของเสียอันตรายจะต้องมีการกำาจัดอย่างถูก วิธี ส่วนชิ้นส่วนพลาสติกและพลาสติกที่สามารถนำา มาใช้ใหม่ ได้ก็ควรที่จะนำามาใช้ในกระบวนการผลิตอีกครั้งเพื่อช่วยในการ ลดต้นทุน
4. มลพิษเสียง (Noise pollution)
ในกระบวนการผลิ ต ประตู พี วี ซี น้ ั นย่ อ มจะมี เ สี ย งเกิ ดขึ้ นอย่ า ง
แน่ น อน ซึ่ ง เสี ย งที่ เ กิ ด ขึ้ นนั้ นจะต้ อ งมี ค่ า ไม่ เ กิ น ตามที่ ก ฎหมาย กำาหนด ซึ่งควรมีการตรวจวัดค่าความดังของเสียงที่เกิดขึ้นจากการ ผลิต และควรมีการแก้ไขหากเสียงที่เกิดนั้ นมีค่าเกินกว่าที่กำาหนด 5. การจัดเก็บวัตถุอันตราย (Hazardous substance)
วัตถุอันตรายของกระทรวงอุตสาหกรรมกำา หนดไว้ท้ ังสิ้น 114
รายการ ควรมีการกระทำาการในส่วนต่าง เช่น
- มี แ ผนที่ แ สดงจุ ด หรือ ตำา แหน่ ง สถานที่ จั ด เก็ บ อย่ า ง
ชั ด เจน พร้ อ มมี ร ะบบป้ องกั น อุ บั ติ เ หตุ ท่ี จ ะเกิ ด ขึ้ น อย่างเหมาะสม
-
มี ร ายละเอี ย ดแสดงคุ ณ สมบั ติ ข องวั ต ถุ อั น ตราย เช่ น MSDS หรือ CSDS
- มีวิธีการควบคุม ดูแล หรือป้ องกันการหกหล่น การรัว่ ไหลหรือการติดไฟ
- มีบุคลากรดูแลรับผิดชอบเป็ นประจำา -
มี แ ผนการป้ องกั น การเกิ ด เหตุ ฉุ ก เฉิ น และมี ก ารจั ด เตรียมอุปกรณ์ไว้พร้อม
-
มีการตรวจสอบการจัดเก็บเป็ นประจำา และบันทึกผลอ ย่างสมำ่าเสมอ
ในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมนั้ นจะต้องให้พนั กงานทุกท่านมีส่วน ร่วมในการจัดการ เพื่อให้ได้ผลการจัดการที่ดี ซึ่งการกระทำาแบบนี้ ย่อมมีค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นโดยทัว่ ไปแล้วองกรค์ส่วนใหญ่มักจะไม่ให้
ความสำาคัญ แต่การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมก็มีข้อดีหลาย ๆ ด้าน ข้อดีของการทำาระบบมาตรฐาน ISO 14001
- ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สำาหรับการนำาไปใช้ในการผลิต - ลดความเสี่ยงที่เกิดจากความผิดพลาดในการกำาจัดขยะมลพิษ - สนองความต้องการของลูกค้า เนื่ องจากในปั จจุบันลูกค้า ต้องการสินค้าที่ช่วยอนุ รก ั ษ์ สิ่งแวดล้อม
- ลดต้นทุนและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรได้อย่างคุ้มค่า - มีภาพลักษณ์ทีดีต่อสายตาลูกค้า ผ้บ ู ริโภคและภาครัฐ
- สะดวกในการทำาการค้าทั้งในประเทศและต่างประเทศลด ปั ญหาในการเจรจาและการทำา
ข้อตกลงทางการค้า