The Captive Management Of Cape Fur Seal And Humboldt Penguin At Nakhonratchasima Zoo ,research

  • July 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View The Captive Management Of Cape Fur Seal And Humboldt Penguin At Nakhonratchasima Zoo ,research as PDF for free.

More details

  • Words: 6,410
  • Pages: 82
บทคัดยอ นายสัตวแพทยวิชิต กองคํา และยุพเยาว โตคีรี : การจัดการคอกแมวน้ําและเพนกวิน สวนสัตวนครราชสีมา : หนา

75

การวิจัย เรื่อง การจัดการคอกแมวน้ําและนกเพนกวินสวนสัตวนครราชสีมา ไดทําการศึกษาลักษณะทั่วไปของ อาคารแสดงแมวน้ําและเพนกวิน ศึกษาการจัดการคอก การดูแลสัตว การฝก รวมถึงศึกษาคุณภาพสิ่งแวดลอมบางประการ ในพื้นที่ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อทราบสถานการณปจจุบันของการจัดการคอกแมวน้ําและเพนกวิน ศึกษาสภาพแวดลอม บางประการภายในคอกแมวน้ําและเพนกวิน และเพื่อนําขอมูลที่ไดไปเปนฐานขอมูลในการจัดการคอกแมวน้ําและเพนกวิน ในสวนสัตวนครราชสีมา โดยมีระยะเวลาในการศึกษาวิจัย 1 ป ผลการศึกษา พบวา ลักษณะทั่วไป ของพื้นที่อาคารแสดงแมวน้ําและเพนกวิน ประกอบดวย 4 สวน คือ คอกกัก เล็ก คอกกักใหญ สวนแสดงแมวน้ํา และคอกแสดงเพนกวิน โดยคอกกักใหญมีแมวน้ําอาศัย 5 ตัว คอกกักเล็ก 3 ตัว เมื่อไมมี การแสดงแมวน้ําจะอาศัยในคอกกัก ผูชมดูแมวน้ําไดในสวนแสดงแมวน้ํา ซึ่งมีการแสดงวันปกติวันละ 2 รอบ วันหยุดวัน ละ 4 รอบ สําหรับเพนกวินชมไดตลอดเวลาผานหองกระจก ที่ภายในออกแบบใหคลายธรรมชาติ และมีการปรับสภาพ อากาศใหเย็น เหมาะสมกับการดํารงชีวิตของนก มีเพนกวินอาศัยอยู 10 ตัว การจัดการคอก การปฏิบัติงานดูแลคอกนั้นทําไดดี พนักงานมีการแบงงานทําและรับผิดชอบในหนาที่ ทั้งการ สรางพื้นที่ มีความสอดคลองกับหลักวิชาการ แตก็ยังมีพื้นที่บางสวนที่ไมสะดวกตอการปฏิบัติงานทําความสะอาด ซึ่งเกิด จากการออกแบบทีต่ องการใหใกลเคียงธรรมชาติ และการตอเติมพื้นที่ภายหลัง การใหอาหารและการฝก แมวน้ํา ใหเปนปลาทู วันละ 30 กิโลกรัม ตอแมวน้ํา 8 ตัว โดยแมวน้ําที่ยังไมฝกจะให ทั้งตัว สวนแมวน้ําที่ฝกแลวจะหั่นเพื่อใหตามโปรแกรมการฝก เพนกวินจะใหปลาทูขางเหลือง วันละ 2.5 กิโลกรัม ตอนก เพนกวิน 10 ตัว โดยจะวางปลาทั้งตัวไวในถาดใหนกมากินเอง ปลาเปนปลาสดแชแข็ง มีการใหวิตามินเพื่อบํารุงสัตว โดย การยัดไวในอาหารดวย สําหรับการฝกสวนสัตวมีบุคลากรที่ไดผานการอบรม และสามารถฝกสัตวได ในดานคุณภาพสิ่งแวดลอมยังไมไดมาตรฐานเทาที่ควร เพราะคุณภาพน้ํายังไมไดมาตรฐาน โดยคุณภาพน้ําใน คอกกักแมวน้ําใหญมีคุณภาพต่ําที่สุด รองลงมา คือ คอกกักแมวน้ําเล็ก และคอกแสดงเพนกวิน ตามลําดับ สวนพื้นที่แสดง แมวน้ํามีคุณภาพน้ําดีมาก เนื่องจากมีการบําบัดน้ําอยางมีประสิทธิภาพ สําหรับลักษณะอากาศ พบวา อุณหภูมิและความชื้น อยูในสภาวะปกติ แตแสงสวางในคอกกักแมวน้ําใหญ คอกแมวน้ําเล็กและสวนแสดงเพนกวินยังมีแสงสวางไมเพียงพอ ดังนั้น ในการจัดการคอกแมวน้ําและเพนกวิน เพื่อใหคุณภาพสิ่งแวดลอมดีดวยนั้น ตองคํานึงถึงวิธีการจัด การใน หลายสวน ไดแก การปรับเปลี่ยนการใหอาหาร โดยใหสัตวกินอาหารบนบกแลวทําการกวาดเศษอาหารมิใหตกคางอยูนาน การพิจ ารณาเติมอากาศลงในบอน้ํ าที่มีอ อกซิเจนต่ํา หรือปรั บปรุงระบบบํ าบัดน้ําใหสามารถใชงานไดดี ควรจั ดระบบ ระบายอากาศใหหอง สงเสริมความรูเกี่ยวกับระบบบําบัดน้ําเสียใหกับพนักงาน และควรมีผู เชี่ยวชาญไว และหากตอง

2 กอสรางเพิ่มเติมควรคํานึงถึงผลกระทบตอระบบเดิม เพื่อใหสามารถจัดการคอกแมวน้ําและเพนกวินอยางมีประสิทธิภาพใน อนาคต

3

ABSTRACT

Wichit Kongkam and Yuppayao Tokeeree : The Captive Management of Cape Fur Seal and Humboldt Penguin at Nakhonratchasima Zoo : 75 page

The Captive Management of Cape Fur Seal and Humboldt Penguin at Nakhonratchasima Zoo studied about the generalization of cape fur seal and penguin exhibited building, the captive management, the animal take-caring, the animal training, and some environment qualities in the area. The purpose of this research is to find out the present situation about cape fur seal and penguin captive management. The study also investigates some environments qualities inside the cape fur seal and penguin captive. Data obtained will be used as a data resource for the management of cape fur seal and penguin captive at Nakhonratchasima Zoo. The study found that the generalization of cape fur seal and penguin exhibited building consists of 4 parts; the small captive, the big captive, cape fur seal exhibit, and penguin exhibit. The big captive consists of 5 cape fur seals while the small captive consists of 3 cape fur seals. The cape fur seal lives in the captive when it has no show. People can see the cape fur seal through the cape fur seal exhibit. Normally, there are 2 rounds per each day for the cape fur seal show except for a holiday which has 4 rounds per day. For penguins, people always see them through the glass room which is well naturally designed for penguin. There are 10 penguins living inside the penguin captive. Regarding to the captive management, the study found that the captive was well managed by the staffs of the zoo. The area was constructed through the theoretical framework. However, some areas caused a difficulty in cleaning because of the designed and the additive construction. With reference to the nourishment, the staff gave 30 kg. of a fish of the mackerel kind for 8 cape fur seals per day. For the un-trained cape fur seal, the staff gave them all a fish of the mackerel kind, but the staff gave a slice of a fish of the mackerel kind to the trained cape fur seal according to the training program. For penguins, the staff gave 22.5 kg. of a fish of the mackerel kind to 10 penguins per day by put it in a tray and let the penguins ate by themselves. The staff also gave some vitamins by put it inside a fish of the mackerel kind in order to nourish them. According to the training, the zoo has staffs which were already trained. So, those staffs have the ability to train the cape fur seal and penguin. For the environment qualities, the study found that the cape fur seal and penguin captive had an insufficient standard about the environment quality because the water quality was not in a standard. From the study, the big cape fur seal captive had the lowest water quality, and followed by the small cape fur seal captive and the penguin exhibited captive in order. However, from the study, the cape fur seal exhibit had a very good water quality because of in this area had an efficiency water treatment system. According to the air condition, the study found that the temperature and the humidity was in normal condition but there were insufficient light in the big and small cape fur seal captives and the penguin exhibit. Thus, in order to manage the captive to have good environment, we should consider to many processes in the captive management. Firstly, we should change the nourished practice by let the animals have there foods in land areas and then clean up the areas. Secondly, give more air into a pond which has low oxygen, overhaul the water

4 treatment system to work more efficiency. We also should make a ventilate system in the room, giving a knowledge about the water treatment to the staffs, and find out some specialists to work there. Finally, if we need to make an additional construction, we should care about the ex-system in order to make an efficient management of the cape fur seal and penguin captives in the future.

5

กิตติกรรมประกาศ การวิจัยเรื่อง การจัดการคอกแมวน้ําและเพนกวิน สวนสัตวนครราชสีมา ไดดําเนินการจน สําเร็จ ลุลว งไปดวยดีในครั้งนี้นั้น ขอขอบคุณ สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ที่ไดใ หทุน สนับสนุนการวิจัย ตลอดการวิจัยครั้งนี้ ขอขอบคุณองคการสวนสัตวแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ ผูอํานวยการองคการ สวนสัตว นายโสภณ ดํานุย ที่ ใ หก ารสนับสนุนในการทําวิจัย ขอขอบคุณนายสัต วแพทยสุเมธ กมลวรนารถ ที่ ไดใ หก ารสนับสนุน และให คําแนะนํ า และขอขอบคุณ ผู อํานวยการสวนสัต ว นครราชสีมา นาวาอากาศโทกระวี กรีฑาพล ซึ่งไดอํานวยความสะดวกในการเขาไปเก็บขอมูลของ นักวิจัย และสนับสนุนการทําวิจัยครั้งนี้ เชนกัน ขอขอบคุณ เจาหนาที่ดูแลเพนกวินและแมวน้ําของสวนสัต วน ครราชสีมาทุก ทาน ที่ได อํานวยความสะดวกในการเก็บขอมู ล และใหค วามชว ยเหลือในการจดบัน ทึก ข อมูลตา งๆ ใน ภาคสนาม ทั้งยังใหความรวมมือในการใหสัมภาษณขอมูลตางๆ เปนอยางดียิ่ง และขอขอบคุณโปรแกรมวิชาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ศูนยวิทยาศาสตรและวิทยาศาสตร ประยุกต คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร ไดอนุเคราะหเครื่องมือใน การเก็บและตรวจวัดตัวอยาง จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้

6

สารบัญ

บทคัดยอ ABSTRACT กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญภาพ สารบัญตาราง บทนํา วัตถุประสงค ขอบเขตการศึกษา การตรวจเอกสาร วิธีการศึกษา ผลและวิจารณ สรุปและขอเสนอแนะ เอกสารอางอิง ภาคผนวก ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข

หนา ก ข ค ง จ จ 1 2 2 3 27 30 52 55 57 56 64

7

สารบัญภาพ ภาพที่ 1 ลักษณะและสวนตางๆ ของอาคารแสดงแมวน้ําและเพนกวินในสวนสัตว นครราชสีมา 2 ลักษณะกระเบื้องโมเสคแกวที่ใชปูพื้นสวนแสดง และคอกกักแมวน้ํา 3 ลักษณะภายในหอง ของคอกกักแมวน้ํา 4 ลักษณะของสวนตางๆ ในบริเวณสวนแสดงแมวน้ํา และการมองผานกระจก ใสเพื่อชมแมวน้ําใตน้ํา 5 ลักษณะภายในคอกแสดงนกเพนกวิน และการดํารงชีวิตภายในคอกแสดง 6 การเตรียมปลาเพื่อใหอาหารแมวน้ําและเพนกวิน 7 การฝกแมวน้ําของครูฝก สวนสัตวนครราชสีมา 8 ตัวอยางการแสดงความสามารถของแมวน้ําในสวนสัตวนครราชสีมา

หนา 31 32 32 33 36 39 41 42

สารบัญตาราง ตารางที่ 1 2 3 4 5

คุณภาพน้ําในคอกกักแมวน้ําใหญ คุณภาพน้ําในคอกกักแมวน้ําเล็ก คุณภาพน้ําในสวนแสดงแมวน้ํา คุณภาพน้ําในสวนแสดงแมวน้ํา ลักษณะของอากาศบางประการในคอกกักแมวน้ําใหญ คอกกักแมวน้ําเล็ก สวนแสดงแมวน้ํา และสวนแสดงเพนกวินที่ตรวจวัดในชวงเวลา 40 วัน

หนา 44 45 47 48 50

8

การจัดการคอกแมวน้ําและเพนกวิน สวนสัตวนครราชสีมา The Captive Management of Cape Fur Seal and Humboldt Penguin at Nakhonratchasima Zoo บทนํา สวนสัตวนครราชสีมา ไดกอตั้งขึ้นเพื่อรวบรวมและจัดแสดงสัตวนานาชนิด ใหผูที่สนใจได เขาชม ศึกษา ทําความรูจักกับชีวิตสัตว ในการนําสัตวตามธรรมชาติเขามาเลี้ยงในคอก หรือกรงเลี้ยง นั้น จําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีการสรางคอกใหสอดคลองกับชีวิตความเปนอยูของสัตวชนิดนั้นๆ โดย การเลียนแบบสิ่งแวดลอมของคอกหรือกรงใหคลายกับธรรมชาติมากที่สุด โดยเฉพาะอยางยิ่งปจจัยที่ มีผลโดยตรงกับชีวิตสัตว เพื่อใหผูชมไดสัมผัสกับสัตวเหมือนเชนที่อยูในธรรมชาติ อยางไรก็ตาม ในสมัยกอนนั้น การนําสัตวมาแสดงในสวนสัตว ทั้งในและตางประเทศมิได ใหความสนใจตอการดูแลสภาพแวดลอม แตอยางใด ใหความสนใจเพียงตัวสัตว ซึ่งทําใหสัตวตอง อยูในสภาพแวดลอมที่ไมดีเทาที่ค วร สงผลเสียตอการดํารงชีวิต ของสัต ว ตอมานักวิชาการไดใ ห ความสนใจสิ่งที่อยูรอบตัวสัตวมากขึ้น ทั้งเรื่องอาหาร น้ํา ที่อยูอาศัย และปจจัยแวดลอมอื่นๆ มากขึ้น มีการบําบัดสิ่งแวดลอม และปรับสภาพใหเหมาะกับสัตวแตละชนิด สวนสัตวนครราชสีมาไดตระหนักถึงการนําสัตวเขามาแสดง ซึ่งเพนกวินและแมวน้ํา ก็เปน สัตวที่ทางสวนสัตวไดเห็นถึงความสําคัญและนํามาจัดแสดง เพื่อใหผูสนใจไดชม และศึกษา ซึ่งทั้ง สองชนิดเปนสัตวตางถิ่นที่นําเขามาจากตางประเทศ ดังนั้น การนําเขามาเลี้ยงหรือแสดงจะตองมีการ ดูแลเปนพิเศษ สราง จัดการที่อยูอาศัยและสิ่งแวดลอมใหสัตวเหลานั้นสามารถอยูอาศัยไดอยางปกติ ในการนี้สวนสัตวนครราชสีมาเองก็ไดใหความสําคัญ เชนกัน ดังนั้น ในการวิจัยครั้งนี้จึงทํา การวิจัยการจัดการคอกเพนกวินและแมวน้ําที่เลี้ยงในสวนสัต วนครราชสีมา รวมถึงการศึกษาถึง สิ่งแวดลอมบางประการที่มีผลตอชีวิตสัตวดวย ทั้งนี้เพื่อใหสามารถเลี้ยง ดูแลสัตวเหลานี้ไดอยาง เหมาะสม และจะไดนําผลการวิจัยไปประยุกตใชในการปรับปรุงและพัฒนากรงเลี้ยงของแมวน้ําและ เพนกวินตอไป

9

วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาสถานการณปจจุบันของการจัดการคอกแมวน้ําและเพนกวินในสวนสัตว นครราชสีมา 2. เพื่อศึกษาสภาพแวดลอมบางประการที่อยูภายในคอกแมวน้ําและเพนกวินในสวนสัตว นครราชสีมา 3. เพื่อนําขอมูลที่ไดไปประยุกตใชเปนฐานขอมูลในการจัดการคอกแมวน้ําและเพนกวิน ของสวนสัตวนครราชสีมา

ขอบเขตการศึกษา ศึกษาสภาพการจัดการและคุณภาพสิ่งแวดลอมบางประการ ของคอกแมวน้ําและเพนกวิน ในสวนสัตวนครราชสีมา โดยมีระยะเวลาศึกษาวิจัย 1 ป

10

การตรวจเอกสาร 1. สวนสัตวนครราชสีมา สวนสัตวนครราชสีมา ตั้งอยูที่เลขที่ 111 หมู 1 ถนนราชสีมา – ปกธงชัย ตําบลไชยมงคล อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา เปนสวนสัตว 1 ใน 5 แหง ขององคการสวนสัตวในพระบรม ราชูปถัมภ สังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม จัดตั้งขึ้น ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2532 ในสมัยพลเอกชาติชาย ชุณหวัณ เปนนายกรัฐมนตรี จนกระทั่งมีพิธี เปดอยางเปนทางการ เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2539 โดยมี ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท ประธาน องคมนตรีและรัฐบุรุษ เปนประธานในพิธีเปด ดวยแนวความคิดและรูปแบบการจัดสรางสวน สัตวที่ทันสมัย สะดวกสบายและปลอดภัยในการเที่ยวชม ทําใหไดรับความสนใจจากนักทองเที่ยว ทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศ รวมแลวปละกวา 450,000 คน โดยสวนสัตวมีการจัดรวบรวมสัตวปานานาชนิด เพื่อประโยชนในการศึกษา อํานวยความ สะดวกและบริการในการเที่ยวชม แกประชาชน ทั้งยังสงเสริม บํารุง อนุรักษและขยายพันธุสัตวปา ไว เพื่อมิใหสูญพันธุไป มีการจัดดําเนินการเกี่ยวกับสถานที่เลี้ยงสัตวใหเหมาะสมกับสัตวเลี้ยงแตละ ชนิด โดยใหมีสภาพใกลเคียงกับธรรมชาติความเปนอยูของสัตวนั้น ๆ จัดทําตกแตงและปรับปรุง บริเวณสถานที่ภายในสวนสัตว ใหเหมาะสมกับเปนที่พักผอนหยอนใจของประชาชนอยางแทจริง ซึ่งจะเปนการสงเสริมการทองเที่ยวที่ไดทั้งความรูและอนุรักษสิ่งแวดลอมดวย นอกจากจะเปนแหลงทองเที่ยวเชิงอนุรักษ โดยเนนใหสัตวที่นํามาเลี้ยงและจัดแสดงไดอยู อยางสบายใกลเคียงกับธรรมชาติเดิมแลว ยังไดจัดสรรพื้นที่เปนสวนสาธารณะ(Public Area) ซึ่ง ประกอบไปดวยลานน้ําพุ พลาซา ลานความรู อาคารขอมูลขาวสารนิทรรศการ(Zoo Information) อุทยานสัตวโลกลานป สวนสัตวเด็กและสวนสัตวศึกษา(Children ‘s Zoo & Zoo School) ได เนรมิตโลกของเด็กและสิ่งแปลกใหมที่มากไปกวาคําวา “สวนสัตว” ไวในเนื้อที่กวา 15 ไร เปด บริการทุกวันไมเวนวันหยุดราชการ ปจจุบันสวนสัตวนครราชสีมา มีสัตวปาชนิดตาง ๆ ในความดูแล ทั้ง 3 ประเภท (สัตวปก, สัตวเลื้อยคลาน, สัตวเลี้ยงลูกดวยนม) กวา 1,180 ชีวิต ซึ่งสวนใหญเปนสัตวปาจากตางประเทศ มากมายหลายชนิดที่นาสนใจ คือ คอกสัตวแตละคอกกวางไมนอยกวา 4 ไร ทําใหสัตวปาสวน ใหญมีชีวิตอยูอยางสบายคลายถิ่นเดิม (www.koratzoo.or.th)

11

2. แมวน้ํา แมวน้ํ าเป น สัต ว เลี้ย งลูก ด ว ยน้ํ านม ที่อาศัยอยูบริเ วณชายฝ ง ในมหาสมุทรตอนใตและ แอฟริกาใต ซึ่งแมวน้ําที่สวนสัตวนครราชสีมานํามาแสดงนั้น คือ แมวน้ําเคปเฟอรซีล (Cape Fur Seal) หรือมีชื่อวิทยาศาสตรวา Arctocephalus pusillus pusillu (www.chiamaizoo.com) มีถิ่นที่อยู อาศัยแถบชายฝงทะเลของประเทศนามิเบีย ชายฝงตะวันตกและตอนใตของแอฟริกาใต เปนแมวน้ํา ที่มีขนาดเล็ก ลักษณะของตัวผูที่โตเต็มที่มีความยาวของลําตัว ประมาณ 2.15 เมตร มีน้ําหนักเฉลี่ย 274 กิโลกรัม ขนตามลําตัวสีเทา สวนตัวเมียจะมีขนาดเล็กกวา เมื่อโตเต็มที่ ขนาดของลําตัวมีความ ยาวประมาณ 1.2-1.6 เมตร น้ําหนักเฉลี่ย 57.4 กิโลกรัม (40-80 กิโลกรัม) ขนตามลําตัว มีสีน้ําตาล ปนเทา ดานทองมีสีจ างลง ในชวงฤดูรอนกอนจะถึงฤดูผสมพันธุตัว ผูอาจมีน้ําหนัก มากกวา 360 กิโลกรัม มีอายุขัยประมาณ 25 ป (ดูภาพในภาคผนวก ข) มีถิ่น ที่อยูอาศัยในเขตมหาสมุ ทรตอนใต คือ ออสเตรเลีย แทสมาเนีย แอฟริกาใตและ แองโกลา ซึ่งแมวน้ําออสเตรเลียเฟอรซีล ถิ่นที่อยูม ีอาณาเขตตามชายทะเลในเกาะแทสเนียและทวีป ออสเตรเลีย สวนแมวน้ําเคบเฟอรซีล อยูตามเกาะและชายฝงของแอฟริกาใตตั้งแตทางตอนใตของ ประเทศแองโกลา ตามชายฝงของประเทศนามิเบีย ในเขตจังหวัดเคบจนถึงอาวอัลกอร โดยถิ่นที่อยูจะเปนเกาะที่อยูไกลจากชายฝง ซึ่งเกาะที่เปนที่รูจักกันแพรหลายเชน The Seal Island in Algoa และ The Seal and False Bay เปนตน ซึ่งลักษณะเกาะจะเปนเกาะขนาดเล็กที่เปน โขดหิน ที่เกิดขึ้นจากการขึ้นลงของน้ํา หรือเปนแหลมทีย่ ื่นเขาไปในทะเลที่มีการขึ้นลงของน้ําสูง การเคลื่อนที่ของแมวน้ําบนพื้น ดินโดยใชครีบหนาและครีบหลังที่หัน ไปดานขางลําตัว เหลี่ยมของฝามือที่ครีบหนาจะชวยในการยึดโดยเฉพาะในหินที่ลื่น นอกจากนี้แมวน้ํายังเปนสัตวที่ ปนปายไดดีและสามารถโดดทิ้งตัวจากที่สูง ซึ่งสวนหนาอกจะรับแรงกระแทกจากการกระโดดได อาหารของแมวน้ํา พบวา 80 เปอรเซ็นตของอาหารจะไดจากการกินฝูงปลาขนาดเล็ก เชน ปลาซารดีน แองโชวี เมคเคอเรล ฯลฯ สวนสัตวทะเลชนิดอื่นที่แมวน้ํากินเปนอาหาร เชน ปลาหมึก กุง ในการกินอาหารแมวน้ําจะกระจายกันออกหากินและกินอาหารตางกัน มีกรณีที่แมวน้ํา 2-3 ตัวจะ กินอาหารรวมกัน ในแมวน้ํารุนหนุม-สาวจะกินกอนกรวดเขาไปในพื้นที่กระเพาะอาหารประมาณ 25 เปอรเซ็นต การสืบพันธุของแมวน้ํา บริเวณที่มีการขยายพันธุ จะมีลักษณะเปนโขดหินหรือบางแหงเปน หาดทราย บริเวณเหลานี้จะใชในชวงฤดูผสมพันธุ ตัวผูจะมาประกาศอาณาเขต แลวตัวเมียจะตามมา

12

ตัวผูจะทําหนาที่ปกปองอาณาเขตของตัวเองไมใหตัวอื่นล้ําเขามาในอาณาเขตจนกวาตัวเมียที่อยูใน อาณาเขตของตนจะถูกผสมทั้งหมด ในชว งหลายสัปดาหกอนที่จ ะถึงฤดูกาลผสมพัน ธุ จํานวนของแมวน้ําที่เขามาบนพื้น ที่ ชายฝงจะลดลงอยางเห็นไดชดั ตัวผูที่เปนตัวเต็มวัยจะหาแหลงผสมพันธุ โดยกอนหนานี้ ตัวผูจะตอง กินอาหารเพื่อสะสมไวในรูปของไขมันที่ชั้นใตผิวหนัง และกลามเนื้อ ซึ่งอาหารนั้นจะตองเพียงพอ สําหรับการอยูในชายฝงโดยไมออกไปหากินเปนเวลา 6 เดือน โดยพลังงานสวนใหญจะใชใ น ประกาศและรักษาอาณาเขตและกิจกรรมอื่นๆที่เกี่ยวของกับการสืบพันธุ ตัวผูที่โตเต็มที่จะมาเริ่มประกาศและปกปองอาณาเขตในชวงเดือนตุลาคม ตัวเมียจะตามมา ในสัปดาหตอมาและออกลูก ลูกทีอ่ อกสวนใหญจะออกมาในชวงตอนปลายพฤศจิกายนและชวงตน เดือนธันวาคม โดย 90 เปอรเซ็นต จะออกภายในชวง 34 วัน ลูกแมวน้ําที่ออกใหมมีความยาว 0.6-0.7 เมตร โดยมีน้ําหนัก 4.5-7.0 กิโลกรัม สีขนลําตัว เปนสีดํา มีการผลัดขนในชวงแรกในชวงเดือนมีนาคม-เมษายน เปนสีออกเงินปนน้ําตาลที่คลายกับ ตัวเต็มวัย ลูกที่เกิดใหมจะกินนมแมในชวงชั่วโมงแรกของการเกิดและแมจะอยูกับลูกประมาณ 1 สัปดาห ซึ่งภายหลังออกลูกแลวตัวเมียสามารถกลับเปนสัดไดภายใน 5-6 วัน หลังจากที่ลูกเกิด ระยะเวลาตั้งทองของแมวน้ํานั้นมีระยะเวลาประมาณ 1 ป หลังจากที่ออกลูกประมาณ 1 สัปดาห แมของลูกแมวน้ําจะออกทะเลเพื่อหาอาหารกิน ซึ่งอาจใชระยะเวลาหลายวัน เมื่อกลับมาที่ ชายหาดแมแมวน้ําจะตะโกนเรียกลูกของตัวเองซึ่งจะมีเสียงตอบรับที่หลากหลายจากลูกแมวน้ําหลาย ตัวจนในที่สุดแมวน้ําจะรูโดยกลิ่นของลูกที่เปนกลิ่นเดียวกับกลิ่นบริเวณที่เคยอยู แมวน้ํามีศัตรูตามธรรมชาติ คือ ปลาฉลามและวาฬเพชฌฆาต สวนลูกแมวน้ําจะถูกลาโดย หมาในหลังสีน้ําตาล(Brown Back Jackal) และไฮยีนาสีน้ําตาล สถานภาพของแมวน้ําในปจจุบัน เปนสัตวในภาคผนวกที่ 2 ของอนุสัญญาไซเตส มีก าร ประมาณประชากรของแมวน้ําแอฟริก าใตที่ 1.5-2 ลานตัว โดยที่ 2 ใน 3 ของประชากร อยูใน ประเทศนามิเบีย การฆาแมวน้ําเคปเฟอรซีล ไดทํากันอยางตอเนื่องตั้งแตป ค.ศ. 1600 และมีตัวเลข ประมาณวาตั้งแตป ค.ศ. 1900 เปนตนมามีการฆาแมวน้ําชนิดนี้ประมาณ 2.7 ลานตัวซึ่งสวนใหญ เกิดขึ้นในนามิเบีย และตั้งแตป 1980 เปนตนมามีความตองการอวัยวะเพศของแมวน้ําตัวผู เพื่อทํา เปนยากระตุนทางเพศในกลุมผูบริโ ภคคนจีน (Far Eastern) ซึ่งบางครั้งพบวามีก ารฆาแมวน้ํา

13

แอฟริกาใตเพียงเพื่อเอาอวัยวะเพศเพียงอยางเดียว และมี แมวน้ําจํานวนเล็ก นอยที่ตายเนื่องจาก สภาวะมลภาวะที่เกิดในทะเล มีการลาแมวน้ําแอฟริกาใตเพื่อผลประโยชนทางการคา ซึ่งทําเปนประจําทุกป โดยฤดูการ ลาแมวน้ําจะทําในชวงเดือนสิงหาคมถึงพฤศจิกายน ในป ค.ศ. 1988 มีการกําหนดจํานวนแมวน้ําที่ จะถูกลาเพื่อการนี้ เปนลูกแมวน้ํา 35,000 ตัว แมวน้ําทีโ่ ตเต็มที่แลว 5,000 ตัว ไดมีแผนการที่จะ สรางโรงงานสําหรับการแปรรูป สิ่งตางๆที่ไดจากแมวน้ํา เชน แปรรูปไขมัน โรงงานทํารองเทา โรงงานฟอกหนัง เนื้ออัดกระปอง รานขายผลิตภัณฑ พิพิธภัณฑ และที่ไดราคามากคือ อวัยวะเพศ ของแมวน้ําตัวผู ซึ่งโรงงานนี้มคี วามตองการเพิ่มจํานวนสําหรับแมวน้ําที่จะลาในแตละป ในป 1994 มีการคาดกันวามีแมวน้ําประมาณ 200,000 ตัว ที่ตายในบริเวณชายฝงทะเลของ นามิเบียโดยสาเหตุการตายเกิดจากการขาดอาหารและอดอาหาร ทั้งนี้การที่จํานวนปลาลดลงอยาง มากก็เนื่องมาจากการเกิดมลภาวะสิ่งแวดลอมในทองทะเลนั่นเอง อยางไรก็ตามการลาแมวน้ําในแอฟริกาใตถูกหยุดไวตั้งแตป 1990 โดยที่มีความพยายามที่ จะปกปองแมวน้ํานั้นมีมาตั้งแตป ค.ศ. 1973 โดย The Sea Birds and Seal Protection Act ซึ่ง มุงหวังที่จะปกปองสัตวอยางสมบูรณ และใหรัฐบาลอนุญาตในการลาแมวน้ําเปนครั้งคราว ในบาง กลุมของแมวน้ํา ในชวงป ค.ศ. 1973 ถึง ค.ศ. 1982 มีการฆาแมวน้ํารุนลูก 18,750 ตัว และตัว เต็มวัย 530 ตัว โดยเฉลี่ยตอป จากป ค.ศ.1983 จนถึงปจจุบันโดยเฉลี่ยแลวจะฆาแมวน้ํารุนลูกป ละ 3,500 ตัว และในรุนโตเต็มที่แลว 4,300 ตัว นอกจากนี้ยังมีแผนการที่จะจํากัดจํานวนของ แมวน้ําเคปเฟอรซีล ที่อยูรอบๆ เกาะ The Island of Malgas ในป ค.ศ. 1999 เพื่อเปนการปกปอง นกเคบเจนเน็ท ที่พึ่ ง ฟ ก ออกจากไข ใ หม ๆ บนเกาะ ซึ่ งมั ก จะโดนล า จากแมวน้ํา เคปเฟอร ซี ล (www.south African and Australia fur seal.com)

14

3. เพนกวิน นกเพนกวินเปนชื่อสามัญ (Common Name) สําหรับนกที่บินไมไดที่มีถิ่นที่อยูในทะเล ซึ่ง สวนใหญจะเปนน้ําที่เย็น ตามชายฝงใน ซีกโลกตอนใต (Southern Hemisphere) เปนนกที่วายน้ําเกง มีรูปรางเปนรูปลูกปนตอปโด ซึ่งจะชวยลดแรงเสียดทานทําใหเหมาะกับการเคลื่อนที่ในน้ํา มีปกที่มี การเปลี่ยนรูปเปนครีบที่มีลักษณะบางแข็ง เพื่อใชในการสรางแรงขับเคลื่อนในการวายน้ํา กระดูก ของนกเพนกวินจะมีความแตกตางจากนกทั่วไปคือกระดูกจะแข็งแนน ไมมีโพรงอากาศเพื่อชวยใน การเพิ่มน้ําหนักตัวเพื่อชวยในการคงระดับใตน้ําในชวงการดําน้ํา เมื่ออยูบนพื้นดินการเดินของนก เพนกวินจะเดินเตาะแตะคลายเปด นกเพนกวินจะเขามาที่ฝงเพื่อผสมพันธุ แตชีวิตสวนใหญของนก เพนกวินจะใชเวลาประมาณ 80 เปอรเซ็นต อยูใ นทะเล รูปรางและลักษณะของนกเพนกวินมีหลายขนาดตั้งแตขนาดเล็กที่สุด คือนกเพนกวินลิตเติ้ล (Little Penguin , Eudyptula minor) ที่หนัก 1.1 กิโลกรัม ความสูงที่ 40 เซนติเมตร และขนาดใหญ ที่สุดคือ นกเพนกวินเอ็มเพอเรอ (Emperor Penguin, Aptenodytes forsteri) เมื่อโตเต็มทีจ่ ะหนัก 30 กิโลกรัมและความสูง 115 เซนติเมตร นกเพนกวินทุกชนิดมีสวนหลังสีดํา สวนหัวและหนาอกสีขาว อยางไรก็ตามแตละชนิด ของนกเพนกวินก็จะมีลักษณะที่แตกตางกันไป เชน นกเพนกวินในจีนัส Eudyptes จะมีขนเปนแผง สีเหลืองสดบนหัว นกเพนกวินอะดีเลยจะมีวงแหวนสีขาวรอบตาทั้งสองขาง ลักษณะอื่นที่มีความ แตกตางกัน เชน ที่สวนหัวและคอจะไมมีขนเปนสีชมพู ลักษณะเปนจุดหรือเปนแถบสีดํา ที่หนาอก สีขาว ลักษณะของจะงอยปากจะมีความหลากหลาย เชน สีดําหรือแดง ขนาดจะมีตั้งแตสั้นและทูไป จนถึงยาวและโคง ที่นิ้วเทาของนกเพนกวินจะมีพังพืด ลักษณะของทั้งสองเพศจะคลายกัน ถึงแมวา แนวโนมของตัวผูจะน้ําหนักมากกวาตัวเมียและขนาดของจะงอยปากจะเล็กกวา นกเพนกวินเปนนกที่สามารถปรับตัวกับอากาศที่หนาวได โดยมีขนที่สั้น แข็งและแนน เพื่อชวยในการกันน้ําที่ชวยลดการสูญเสียความรอนออกจากรางกาย อาณาเขตและถิ่นที่อยู ถึงแมวานกเพนกวินเปนนกที่อยูในสิ่งแวดลอมที่หนาวเย็น แตมีนก เพนกวินอยู 2 ชนิด ที่อยูในถิ่น ที่อยูที่เปน น้ําแข็งของขั้วโลกใต คือ อะดีเลยเพนกวิน (Adelie Penguin , Pygoscelis adeliae) และนกเพนกวินเอ็มเพอเรอ(Aptenodytes forsteri) โดยสวนใหญจะ อยูทางตอนเหนือหรือรอบขั้วโลกใต หรือในเขตที่อบอุนที่หางจากขั้วโลกใตออกมาอีก

15

บริเวณที่มีความหลายหลายของชนิดนกเพนกวิน คือ ทางตอนใตของประเทศนิวซีแลนดมี นกเพนกวินอยู 7 ชนิดและที่เกาะฟอคแลนดมีนกเพนกวิน 5 ชนิด บริเวณทีม่ ีประชากรของนกเพนกวินอยูหนาแนนมากที่สุด คือ บริเวณชายฝงของ แหลม แอนตารคติก (The Antarctic Peninsula) ทางตอนเหนือของทวีปแอนตารกติก นกเพนกวินที่มีขนาดเล็กพันธุหนึ่งที่อยูในเกาะกาลาปากอส อยูทางใตของเสนศูนยสูตรลง มา คือ นกเพนกวินกาลาปากอส (Galapagos Penguin, Spheniscus mendiculus) ยังมีนกเพนกวินอีก หลายพันธุที่อยูในถิน่ ที่อยูตามชายฝงทะเลตอนใตของทวีปอเมริกาใตและตอนใตของแอฟริกาใต ที่ มีอากาศคอนขางรอนแตอาศัยกระแสน้ําเย็นเพื่อชวยใหดํารงชีวิตอยูได นกเพนกวินเปนนกที่วายน้ําเกงและใชเวลาสวนใหญอยูในน้ํา การเดินทางในระยะทางยาว โดยการดําน้ํา การเคลื่อนที่โดยการใชครีบที่มีลักษณะคลายใบพายและใชเทาที่มพี ังพืดทําหนาที่เปน หางเสือ การกระโดดเคลื่อนตัวเหนือผิว น้ําเพื่อหายใจ การเคลื่อนที่บนบกโดยการเดินเตาะแตะ สวนบนพื้นหิมะบางครั้งอาจใชสวนทองแลวไถลตัวไปขางหนาโดยใชครีบปกชวย นกเพนกวินทุกชนิดจะกินอาหารในน้ํา อาหารที่กินเชนปลา ปลาหมึกและกุง โดยการหา อาหารกินจะวายน้ําใกลผิวน้ําและเคลื่อนตัวอยางรวดเร็วเพื่อจับเหยื่อ การผสมพันธุ การสรางรัง การวางไข พฤติกรรมการจับคู ผสมพันธุ สิ่งเหลานี้เกิดขึ้น บนพื้นดิน พฤติกรรมทั้งหมดจะเกิดขึ้นเปนระยะเวลาประมาณมากกวา 100 วันซึ่งในชวงนี้นก เพนกวินจะไมกลับไปที่ทะเลเพื่อหาอาหาร มีนกเพนกวินบางชนิด เชน นกเพนกวินอะดีเลยที่ สามารถสูญเสียน้ําหนักถึง 30 เปอรเซ็นต นกเพนกวินหลายชนิดที่จะมีการสรางรังรวมกันตั้งแต นอยกวา 100 คูจนถึงหลายพันคูใ นบริเวณเดียว ซึ่งพบวาในหนึ่งตารางเมตรจะมีคูนกสรางรังวางไข ถึง 3 คู แตนกเพนกวินบางชนิดจะวางไขแยกอยูคูเดียวคือ Fiordland Penguin (Eudyptes pachyrhynchus) และ นกเพนกวินตาเหลือง (Yellow–eyed Penguin, Megadyptes antipodes) การที่นกเพนกวินอยูรวมกันเปนกลุมเพื่อดําเนินพฤติกรรมเพื่อขยายพันธุ ทําใหนกเหลานี้ ไดเรียนรูพฤติกรรมในฝูงและการกระตุนจากพฤติกรรมของตัวอื่นในฝูง นกเพนกวินจะมีการแสดง ทาทางและเสียงรองหลากหลายเพื่อปกปองรังวางไขของตัวเองและเพื่อหานกที่เปนคูของตน นกเพนกวินสวนใหญจะทํารังวางไขบนพื้นดินในที่โลง ซึ่งรังจะเปนแองที่อยูระหวางกอน หิน ขนาดใหญห รือหญา รองรังดว ยหิน กอนเล็ก หรื อหญา ในนกเพนกวิ น ขนาดเล็ก เช น นก

16

เพนกวิน ฮัมโบลท และนกเพนกวิน แมคเจนเลนนิค จะขุด เปน โพรงลงไปในดินซึ่งมีค วามยาว ประมาณ 1 เมตร ซึ่งอาจเปนบริเวณใตพุมไม หรือเปนรูในชองหิน นกเพนกวินคิงสและนก เพนกวินเอ็มเพอเรอจะไมสรางรัง แตจะวางไขไวที่ดานบนของเทาและปกคลุมไขดวยสวนลางสุด ของทอง นกเพนกวินสวนใหญจะวางไขที่มีขนาดเทากันซึ่งอาจเป นสีขาวหรือเขียว มีนกเพนกวิน คิงสและนกเพนกวินเอ็มเพอเรอที่วางไขครั้งละ 1 ฟอง นกเพนกวินที่มีหงอนที่หัว (The Crest penguin) จะวางไข 2 ฟอง โดยฟองแรกจะใหญกวาฟองที่สองและลูกนกฟองที่สองจะเติบโต แต ลูกนกที่เกิดจากฟองแรกมักจะตาย ลูกนกที่ออกจากไขใหมจะมีขนเสนเล็กๆ ลูกนกไมสามารถสรางความรอนใหกับรางกาย ของตัวเองอยางเพียงพอ รวมทั้งตองรับอาหารจากพอแม พอและแมนกจะสํารอกอาหารที่ยอยแลว ปอนใหที่ปากลูก ลูกนกจะอยูที่รังเพื่อรับความอบอุน รับอาหารและการปกปองจากพอและแมนก ซึ่งจะกินเวลาหลายสัปดาห โดยชวงของการปกปอง (Guard period) จะมีความแตกตางกัน เชน นก เพนกวินลิตเติ้ลจะใชเวลา 15 วัน ในนกเพนกวินคิงสและนกเพนกวินเอ็มเพอเรอจะใชเวลา 40-50 วัน ในชวงนี้แมและพอนกจะสลับกันกกลูกนกเพื่อใหความอบอุนแกลูกนก และลงทะเลเพื่อหา อาหารใหลูกนก ในนกเพนกวินอะดีเลย นกเพนกวินเกนโตจะแบงเวลาเทากันตัวละหนึ่งถึง สองวัน สวนในเครทดเพนกวินจะมีเฉพาะตัวผู และนกเพนกวินเอ็มเพอเรอจะมีเฉพาะตัวเมียที่ทําหนาที่กก ลูกนก ในนกเพนกวินที่มีขนาดกลาง พอและแมนกจะเริ่มกลับไปหากินในทะเลเมื่อลูกนกอายุได 20-30 วัน เหลาลูกนกจะมีการรวมตัวกันอยางหลวมๆ ที่เรียกวา “Creches” ซึ่ง พอและแมนกจะ กลับมาปอนอาหารแกลูกนกทุกวันหรือทุก 2-3 วัน เมื่อพอแมนกมาที่ฝงก็จะสงเสียงรองหาลูกและ รอการตอบกลับจากลูกนก ซึ่งทั้งพอ แมนกและลูกสามารถรับรูซึ่งกันและกันไดจากเสียงรอง ทําให ทั้งสองฝายมาหากันไดอยางถูกตองถึงแมวาจะมีลูกนกนับเปนพันตัวที่อยูรวมกันก็ตาม ชวงตอมาคือระยะที่พอและแมนกจะเริ่มลดปริมาณอาหารที่ปอนนกลงจนกระทั่งหยุดปอน อาหาร ตอมาก็จะเปนชวงระยะลูกนกหมดชวงอยูรวมใน Creche ซึ่งลูกนกจะมีอายุในราว 20-30 วัน ขน down หลุดไปและขนชุดแรกขนเต็มกอนที่ลูกนกจะลงทะเลเพื่อหาอาหารกินดวยตนเอง มีนกเพนกวินหลายชนิด ที่เมื่ออายุ 1 หรือ 2 ป จะกลับมาที่ฝูงนกเดิมเพื่อผสมพันธุ ในนก เพนกวินพันธุ Macaroni และ King จะเริ่มผสมพันธุเมื่ออายุ 5-8 ปและอายุขัยของนกเพนกวินอยูที่ 15-20 ป

17

เมื่อลูก นกออกจากฝูงที่เกิดแลว นกที่โตแลวเชน พอและแมน กจะกลับไปหากินในทะเล และเก็บสะสมไขมันในรางกายเพื่อที่จะกลับมาที่ฝูงเดิมของตัวเองอีกครั้งเพื่อผลัดขน นกเพนกวิน จะใชเวลาประมาณ 2-4 สัปดาหที่ขนจะงอกใหมจนกระทั่งขนเต็มตัวอีกครั้ง ในชวงที่มีการผลัดขน นกเพนกวินจะยืนนิ่งไมคอยเคลื่อนไหว ไมลงน้ําเพื่อหาอาหารกิน บางครั้งอาจเสียน้ําหนักไป 50 เปอรเซ็นต สถานการณของจํานวนประชากรนกเพนกวิน ประชากรของนกเพนกวินสวนใหญมีจํานวน มาก ยกเวน นกเพนกวิน Erect-crested, นกเพนกวินตาเหลืองและนกเพนกวินกาลาปากอส ที่อยูใน Red List of Threatened of The World Conservation Union นกเพนกวินมีศัตรูตามธรรมชาติไมมากนัก บนพื้นดินจะมีนกนางนวล นกพีทริล จะมากิน ไขและลูกนกเพนกวิน ในทะเลจะโดน แมวน้ําเสือดาว(Leopard seal) ลานกเพนกวินที่โตเต็มที่แลว หรือในบางพื้นที่รังของนกเพนกวินอยูในพื้นเดียวกันกับพื้นที่ผสมพันธุของแมวน้ํา ซึ่งแมวน้ําตัวผู จะทําลายรังหรือแมกระทั่งฆานกเพนกวินที่โตเต็มที่ เนื่องดวยบริเวณที่เปนแหลงผสมพันธุของนกเพนกวิน มักจะเปนเกาะที่ไมมีผูคนอาศัยอยู ในครั้งอดีตที่ผานมากลาสีเรือจะฆานกเพนกวินโดยเฉพาะนกเพนกวินคิงสที่อยูบนเกาะฟอคแลนด เกาะ Macquarie เพื่อใชเปนน้ํามันหลอลื่นและเปนเชื้อเพลิง ในบางเกาะซึ่งแตเดิมเปนเกาะที่ไมมี คนอยู แตในเวลาตอมามีคนเขาไปอยูอาศัย เชน เกาะกาลาปากอสและบางสวนของนิวซีแลนด มี การนําเอาสัตวเลี้ยงเขาไป เชน สุนัข แมว หนู จะเขาไปกินไขและลูกนกของนกเพนกวินหรือเขา ไปรบกวนฝูงนกเพนกวิน ในปจจุบันปญหาที่คนสรางขึ้น เชน ปญหาจากน้ํามันจากเรือขนสงน้ํามันรั่ว โลกรอน การ ทําประมงที่มากเกินไป ซึ่งปญหาเหลานี้สงผลกระทบตอจํานวนของนกเพนกวิน เพนกวินที่แสดงในสวนสัตวนครราชสีมาเปนเพนกวินชนิดที่เรียกวา ฮัมโบลดเพนกวิน หรือมีชื่อวิทยาศาสตรวา Spheniscus humboltdi เปนเพนกวินที่มีรูปราง ลําตัวรูปกระสวย หรือ ลูกปนตอรปโด มีขนสีขาวที่หนาทองและอก สวนดานขางลําตัวและหลังเปนสีดํา ซึ่งขนจะสั้นและ กันน้ําได โดยสวนปกจะมีการพัฒนามาเปนครีบเพื่อเหมาะกับการวายน้ํา มีครีบอกที่แข็ง และแคบ ยาว มีนิ้วเทาที่มีหนังเปนพังพืดคลายเทาเปด ไมสามารถแยกเพศไดจากการดูจากลักษณะภายนอก (ดูภาพในภาคผนวก ข)

18

การเคลื่อนที่ นกเพนกวินฮัมโบลดสามารถวายน้ําไดอยางคลองแคลว โดยความเร็วปกติอยู ที่ 7 กิโลเมตรตอชั่วโมง แตในกรณีที่วายอยางรวดเร็วความเร็วจะอยูที่ 14 กิโลเมตรตอชั่วโมง เนื่องจากรูปรางที่เหมาะกับการเคลื่อนที่ในน้ํา แตการเคลื่อนที่บนบกจะชาซึ่งจะเดินเตาะแตะเหมือน เปด แตความสามารถในการกระโดดจะทําไดดีอยางไมนาเชื่อโดยสามารถกระโดดไดเทากับความ สูงเมื่อนกอยูในลักษณะยืน ถิ่นที่อยู จะอาศัยอยูในชายฝงทะเลดานตะวันตกของทวีปอเมริกาใต ในประเทศเปรู และ ตอนเหนือของประเทศชิลี พฤติกรรม จะอยูกันเปนฝูงใหญ รวมกับนกน้ําชนิดอื่นๆ โดยนอกฤดูผสมพันธุจะอาศัยอยู ในทะเลเปนสวนใหญ ขึ้นมาบนฝงนอยมาก อาหารที่นกเพนกวินฮัมโบลด กินเปนปลาขนาดเล็กที่อยูรวมกันเปนฝูง เชน ปลากระตัก ปลาซารดีน โดยหากินใกลชายฝงไมออกไปไกลถึงทะเลลึก การหาอาหารจะลาเหยื่อเปนกลุมเล็กๆ โดยการดําน้ําอยางรวดเร็วเพื่อจับปลา ความลึกที่นกชนิดนี้ดําลงไปคือที่ 15 เมตร สามารถอยูในน้ํา ไดนาน 2 นาที การสืบพันธุ เริ่มผสมพันธ เมื่ออายุ 3 ป จะผสมพันธุกับคูนกเดิมในปกอน ตัวผูจะมาถึง บริเวณที่ผสมพันธุกอนตัวเมียเพื่อสรางรัง ทํารังเปนโพรงดินหรือโพรงหินที่อยูใกลทะเล โดยการ สรางรังจะทํารังใกลกับสมาชิกตัวอื่นในฝูง และตัวเมียจะมาถึงพอดีในชวงที่สรางรังเสร็จ ตัวเมียจะ ฟกไขนาน 39 วัน โดยทั้งสองตัวชวยกันฟกไข ลูกนกที่ออกมาใหมจะเปนสีเทา ทั้งตัวผูและตัว เมียจะชวยกันดูแลลูกที่เกิดใหม เมื่ออายุได 6 สัปดาห สีขนจะเริ่มเปลี่ยนไปคลายกับตัวเต็มวัย และสมบูรณเต็มที่เมื่ออายุ 1 ป ลูกนกจะอยูกับพอ แมตัวเองจนกระทั่งอายุ 3 เดือน

19

4. การจัดการคุณภาพน้ําในสวนแสดงสัตวเลี้ยงลูกดวยนม (Water Quality in Management in Aquatic Mammal Exhibit) คุณภาพน้ําในสวนพื้นที่สําหรับการแสดงสัตวถือวาเปนสิ่งสําคัญ เพราะเปนแหลงน้ําให สัต วไดใ ชประโยชนใ นชีวิต ประจําวัน นอกจากคุณ ภาพน้ําแลว สภาพภูมิทัศนที่สวยงามไดถู ก ออกแบบใหเหมาะสมกับการใชงาน เชน การทําคูน้ําหรือลําธารเพื่อกันสัตวหลุดออกมานอกบริเวณ หรือสวนแสดง ก็เปนสิ่งสําคัญดวย อันจะทําใหเหลงน้ําสามารถใชงานไดหลายอยาง การจัดการคุณภาพน้ําในชวง 10-15 ปกอนที่ผานมา การบําบัดน้ําในสวนแสดงนั้นยังไมเปน ที่รูจัก จะใชการเปลี่ยนถายน้ํา โดยปลอยน้ําเกาออกทั้งหมดและเติมน้ําใหมเขาไป ซึ่งการเปลี่ยนน้ํา นั้น ไมไดมีการตรวจวัดคุณภาพน้ํา แตใชวิธีการสังเกตดวยสายตา เมื่อน้ําเริ่มเปนสีเขียวมาก หรือได กลิ่นของน้ําวาเหม็นเนา และเห็นวาสมควรที่จะตองเปลี่ยน จึงทําการเปลี่ยน นอกจากนั้น ยังไมรูถึง วิธีการประเมินคุณภาพน้ํานั้นทําดวยวิธีการใด (Daryl J. Boness,1996) ในอดีต การนําสัตวมาแสดงในสวนสัตว จะเนนใหความสําคัญกับชนิดสัตวเปนหลัก แต การใหความสําคัญกับสุขภาพ การจัด การสวนแสดง และสิ่งแวดลอมรอบรอบตัว สัต ว เปนเรื่อง รองลงมา แตในปจ จุบัน สวนสัตวจํานวนมากที่ ได ใ หค วามสําคัญกับการจัด การสว นแสดงและ สิ่งแวดลอมสัต ว ซึ่งรวมทั้งการจัด การที่จ ะใหน้ําในสว นแสดงสัต วมีคุณ ภาพดี ที่จ ะสงผลดีตอ สุข ภาพของสัต วและสรางความพึงพอใจแกผูเที่ยวชมดว ย ในสว นแสดงที่มีคูน้ํา บอน้ําเพื่อใช ตกแตงสวนแสดง มีการใชไมบอยครั้งนักจากสัตว ปริมาณเชื้อโรคที่สะสมอยูจะไมมาก การใชงาน สวนใหญจึงอยูที่การเปนสวนตกแตงมากกวา แตหากการดํารงชีวิตของสัตวมีกิจกรรมที่ตองใชงาน แหลงน้ําบอยครั้ง การสะสมของเชื้อโรคและของเสียก็จะมากขึ้นดวย มีสิ่งแวดลอมหลายดานที่มีผล ตอสัตวดังจะไดกลาวตอไป 4.1 เชื้อโรคที่มีผลตอสุขภาพสัตว ในการจัดการพื้นที่แสดงสัตวใหมีคุณภาพจําเปนตองคํานึงถึงการจัดการสิ่งแวดลอมให เหมาะสม เพื่อใหสัตวมีสุขภาพดีคือการจัดการสิ่งแวดลอมใหปราศจากเชื้อโรค นอกจากนี้ยังตอง เลียนแบบธรรมชาติโดยการจัดสภาพแวดลอม ใหสารเคมี สภาพทางกายภาพ เชน (แสง อุณหภูมิ) ใกลเคียงกับถิ่นที่อยูเดิม ในกรงเลี้ยงการเกิดเชื้อโรคอาจไมเหมือนกับการเกิดเชื้อโรคในปา ตัวอยางเชน เชื้อรา Fusarium solani ซึ่งมีอยูทั่วไปในน้ํา แตปรากฏวาไมทําใหเกิดโรคผิวหนัง แตถาน้ํามีอุณหูมิที่อุน

20

ขึ้นพบวาเชื้อราชนิดนี้จะทําใหเกิดโรคขึ้นได เมื่อมาพิจารณาชนิดของเชื้อโรคตางๆแลว เรายังไม สามารถคาดเดาวาเชื้อโรคใดจะทําใหเกิดโรคได ดังนั้นจึงเปนการยากที่เราจะกําหนดตัววัดคุณภาพ น้ําวาควรจะใชแบคทีเรียตัวใดเปนตัวบงชี้ได จากขอกําหนดโดยกระทรวงสาธารณสุข กําหนดมาตรฐานคุณภาพน้ําสําหรับสระวาย น้ํา ไดกําหนดใหใชแบคทีเรียโคลิฟอรมเปนตัวชี้วัดวามีเชื้อโรคมากถึงระดับที่ทําใหเกิดโรคหรือไม โดยการทดสอบสัปดาหละหนึ่งครั้ง ในระดับคุณภาพน้ําที่ยอมรับไดคือไมเกิน 1,000 โคโลนีตอน้ํา 100 ลิตร (Daryl J. Boness,1996) ซึ่งตัวของแบคทีเรียชนิดนี้เองก็ยังมีขอสงสัยเชนเดียวกันวามี เหตุผลเพียงพอที่จะใชเปนตัววัดหรือไม แตเนื่องจากยังไมมีตัวบงชี้ตัวอื่นที่ดีกวา ในสวนสัตวบางแหงไดนําเอาแบคทีเรียโคลิฟอรมไปใชวัดในสัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่อยู ในน้ําตลอดเวลาหรืออยูบางเวลา รวมทั้งในบอน้ําหรือคูน้ําที่มีสัตวถายของเสียลงไป 4.2 สารเคมีและดัชนีทางกายภาพ ในขอกําหนดที่ออกโดย USDA ไมไดมีการระบุถึงระดับมาตรฐานของสารเคมีและ ตัวชี้วัดทางกายภาพ รวมทั้งขอมูลในดานสารเคมีที่มีผลเปนอันตรายตอตัวสัตวยังมีนอยอยู (ในสัตว เลี้ยงลูกดวยนมที่อยูในน้ํา) มีสารเคมีหลายตัวที่เชนแอมโมเนีย ไนเตรท ไนไตรท ที่เราพบในน้ําธรรมชาติที่จะ นํามาเปนน้ําดื่มหรือน้ําในสระน้ํา เราตองมีการตรวจวัดเสียกอนเนื่องจากตองทราบ ถึงระดับของ มลภาวะหรือระดับของความเปนพิษวาสูงเกินไปหรือไม The U.S Environmental Protection Agency’s recommend ไดกําหนดระดับสูงสุดของ สารทั้ง 3 ตัวที่ผสมในน้ําไวที่แอมโมเนีย 0.05 มิลลิกรัมตอลิตร ไนเตรท 10 มิลลิกรัมตอลิตร และไนไตรทที่ 1 มิลลิกรัมตอลิตร ซึ่งสารเหลานี้เกิดจากสิ่งปฏิกูลที่สัตวขับถายออกมา สิ่งเนาเปอย ที่เกิดตามธรรมชาติ ยังไมมีขอมูลที่แสดงวาสารเหลานี้มีผลอยางไรกับสัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่อยูใน น้ํา และในสวนสัต ว สว นใหญ ก็ไม ไดมี ก ารติด ตามที่จ ะวัด ปริมาณสารเคมีเหลานี้ (Daryl J. Boness,1996) ตัวอยางของสารเคมีที่มีพิษตอตัวสัตว เชน ทองแดง ซึ่งมีก รณีที่เกิดขึ้น ในแหลงน้ํา ธรรมชาติ และมีการใชทองแดงในสระน้ําเพื่อใชเปนตัวกําจัดสาหราย

21

ในการใชคลอรีน เพื่อทําน้ําประปา เปน วิธีการที่ปฏิบัติกันมานานและเปน ที่ยอมรับ แตก็มีคําถามเกิดขึ้นเชนกันในกรณีสารเคมีที่เปนอันตรายที่เกิดขึ้นจากตัวของคลอรีนเองทําปฏิกิริยา กับสารที่มีอยูสิ่งแวดลอมนั้น การใชค ลอรีนในสระน้ํา โดยทั่ว ไปจะควบคุมไมใ หสูงกวา 1.0 มิลลิกรัมตอลิตร (ในชวงที่มีคนมาใชบริการ) ซึ่งถาสูงกวานี้จะเกิดการระคายเคืองตอผิงหนังและ ดวงตาได ในสวนของสัตวที่อยูในน้ําอาจใชระดับที่สูงกวานี้ได เนื่องจากสัตวอยู ในน้ําเปนระยะ เวลานาน สามารถปรับตัว ได ซึ่งนอกจากที่กลาวมานี้จ ะไดนําเสนอขอมูลตางๆ ของดัชนีทาง กายภาพ และเคมีที่มีผลตอสิ่งมีชีวิตในน้ําดังจะไวในขอตอไป 4.3 ปริมาณของเกลือของน้ําและความเค็ม ความเค็ม ของน้ําหมายถึง ปริมาณของของแข็ง(Solid) หรือเกลือแรตางๆโดยเฉพาะ โซเดียมคลอไรดที่ละลายอยูใ นน้ํา การวัด คิด เปน หนว ยน้ําหนักของสารดังกลาว เปน กรัมตอ กิโลกรัมของน้ําหรือสวนในพันสวน (part per thousand , ppt) (สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตลําปาง, มปป) ความเค็มของน้ํามีคาแตกตางกันไป ทางดานการประมง แบงประเภทน้ํา ตามระดับความเค็มดังนี้ น้ําจืด (Fresh water) มีความเค็มระหวาง 0-0.5 ppt น้ํากรอย (Brackish water) มีความเค็มระหวาง 0.5-30 ppt น้ําเค็ม (Sea water) มีความเค็มมากกวา 30 ppt ขึ้นไป (ชาญยุทธ คงภิรมยชื่น, 2533) ปริมาณความเค็มของน้ํามีผลตอระบบการควบคุมปริมาณน้ําภายในรางกาย เนื่องจาก ผลของความแตกตางของแรงดันออสโมติค ระหวางภายในตัวสัตวน้ําและน้ําภายนอก สัตวน้ําจืดจะ มีแรงดันออสโมติคภายในตัวสูงกวาน้ําที่อยูภายนอก ดังนั้น น้ําภายนอกจึงสามารถแทรกซึมเขาสู รางกายไดงาย สัตวน้ําจืดจึงตองพยายามขจัดน้ําสวนเกินออกไป ในทางตรงกันขามกับสัตวน้ําเค็มที่ อยูในทะเลจะมีแรงดันออสโมติคต่ํากวาน้ําทะเล ดังนั้น น้ําภายในตัวก็จะออกนอกรางกายไดงาย สัตวทะเลจึงตองพยายามเก็บรักษาปริมาณน้ําไวใหมาก สําหรับสัตวน้ําที่อาศัยบริเวณน้ํากรอยจะมี การปรับ ตัว ใหทนทานกับสภาพความเค็มไดหลากหลาย หรื อมีชว งความทนทานที่ก ว าง จึง มี ความสามารถในการปรับตัวและทนทานตอการเปลี่ยนแปลงแรงดันออสโมติคไดดี โดยปกติสัตว น้ําจืดจะมีเลือดที่มีความเขมขนสูงกวาน้ําภายนอกประมาณ 6 เทาของแรงดันออสโมติค หรือ เทากับความเขมขน 7 ppt ของเกลือโซเดียมคลอไรด ดังนั้นสัตวน้ําจืดทั่วไปจะสามารถอยูในน้ําที่มี

22

ความเค็มไดประมาณ 7 ppt และบางชนิดสามารถอาศัยอยูในน้ําที่มีความเค็มสูงกวานี้ได (ไมตรี ดวงสวัสดิ์ และคณะ, 2528) มีรายงานการเกิดกระจกตาหรือแกวตาขุนในสัตวกลุมแมวน้ํา (Pinniped) ที่อยูในน้ําจืด ความขุ น ของตาจะลดลงที่ อ ยู ใ นน้ํ า ที่ มี ก ารผสมของเกลื อ ทะเลลงไป มี ร ายงานอี ก ว า มี 67 เปอรเซ็นต คือ 100 ตัวใน 149 ตัวที่แสดงอาการตาขุนเมื่ออยูในน้ําจืดและ 22 เปอรเซ็นต แสดง อาการตาขุนเมื่ออยูในน้ําเค็ม ในสวนสัตว 5 ใน6 แหงที่มีบอขนาดเล็กผสมเกลือทะเลลงไปพบวามี ผลในการลดอาการขุนของตาได แตปญหาการเกิด กระจกตาขุน ในสัตวกลุม Pinniped ที่อยูในกรงเลี้ยงยังเปนปญหาที่ เกิดขึ้นจากหลายปจจัยรวมกัน อีกปจจัยที่พูดถึงคือ แสงสะทอนที่เกิดจากกนสระและผนังดานขาง ของสระ จึงมีคําแนะนําใหใชสีที่มืดทากนสระเพื่อลดแสงสะทอน อุณหภูมิก็เปนสิ่งที่มีผลตอตัวสัตว ถึงแมเราจะทราบอุณหภูมิของน้ํา ในถิ่นที่อยูของ สัตวชนิดนั้นๆ แตเราไมทราบถึงความทนทานของสัตวแตละชนิดวามีมากนอยเพียงใด ตัวอยางเชน ถานําหมีขาวมาเลี้ยงในสถานที่ที่อุณหภูมิสูงกวาถิ่นที่อยูเดิมจะเกิดอาการขนรวง 4.4 ความโปรงแสงและความขุนของน้ํา ความโปรงแสงของน้ําจะชวยใหการมองตัวสัตวขณะอยูในน้ําชัดเจนขึ้น และแสดงถึง ปริมาณของสารแขวนลอยที่มีอยูในน้ํา ความขุน เปน วิธีการวัดเชิงปริมาณของของวัตถุที่ มีการ แขวนลอยอยูในน้ํา โดยการวัดมี 2 วิธีคือ Nephelometric turbidity unit (NTU) และ Jackson turbidity unit (JTU) สิ่งที่เกี่ยวของที่ทําใหการมองผานน้ําดูดีขึ้นคือ การแยกเอาสารแขวนลอยออกจากน้ํา มุมที่มอง ความเขมของแสงที่สองผานลงมา การมองจากดานบนลงลางตองการระดับของความใส ของน้ํานอยกวาการมองจากดานขางผานกระจกเขามา มีการวัดในสระน้ําที่มีภาพการมองผานน้ําที่สวยงามโดยมองเห็นกนสระที่ลึก 6 เมตร ที่ National Zoo รัฐวิชิงตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา วัดระดับของความขุนพบวามีคาที่ 3-4 NTU และในมุมมองดานขางที่มองผานกระจกระดับของความขุนจะตองไมม ากกวา 2 NTU (Daryl J. Boness,1996)

23

4.5 ความนําไฟฟา จากการรวบรวมของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตลําปาง กลาววา ความนํา ไฟฟาเปนการวัดความสามารถของน้ําที่จะใหกระแสไฟฟาไหลผาน คุณสมบัติขอนี้ขึ้นอยูกับความ เขมขน ชนิด ของอิออนที่มีอยูใ นน้ํา และอุณหภูมิที่ทําการวัด สารตางๆ ที่ใ หอิออนแกน้ํา ไดแก สารประกอบอนินทรียสาร เชน กรดอนินทรีย เกลือและดาง ความนําไฟฟาไมไดเปนคาเฉพาะอิออนตัวใดตัวหนึ่งแตเปนคารวมของอิออนทั้งหมด ในน้ํา คานี้ไมไดบอกใหทราบถึงชนิดของสารในน้ํา บอกแตเพียงวามีการเพิ่มหรือลดของอิออนที่ ละลายน้ําเทานั้น กลาวคือ ถาคาความนําไฟฟาเพิ่มขึ้นแสดงวาสารที่แตกตัวในน้ําเพิ่มขึ้น หรือคา ความนําไฟฟาในน้ําลดลงแสดงวาสารที่แตกตัวไดในน้ําลดลง คาความนําไฟฟา สามารถชี้วัด ถึง ความเขมข น ของแรธาตุหรือสารประกอบ หรื อ ปริมาณของแข็งที่ละลายน้ํา (Total Dissolved Solids, TDS) อยางไรก็ตามคาความนําไฟฟาไมได แสดงใหทราบถึงชนิดของสารในน้ํา เพียงแตแสดงใหเห็นวามีการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของสารอิออน ที่ละลายในน้ําเทานั้น คาความนําไฟฟาจะเปนสัดสวนและเปนปฏิภาค โดยตรงกับปริมาณของแข็ง ทั้งหมดที่ละลายน้ํา ในแหลงน้ําแหลงใดแหลงหนึ่งจะมีคาความนําไฟฟาที่คอนขางคงที่ นอกจากนี้ยังทําใหทราบถึงความเปลี่ยนแปลงของความเขมขนของสารละลายที่มีอยู ในน้ํา ซึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล หากมีการเปลี่ยนแปลงเร็วเกินไป ก็แสดงวามีสิ่งผิดปกติ เกิดขึ้น ถาในแหลงน้ําธรรมชาติมีคาความนําไฟฟาสูงจะมีผลทั้งทางตรงและทางออมตอการ บริโภค การเพาะปลูกและการเลี้ยงสัตว โดยจะไปทําใหโครงสรางและหนาที่ของระบบนิเวศใน แหลงน้ํานั้นๆเปลี่ยนแปลงไปดวย กลาวโดยสรุปแลวคาความนําไฟฟามีความสัมพันธกับปริมาณ ความเขมขนของของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้ํา (TDS) รวมทั้งความเค็มของน้ําดวย 4.6 ไนโตรเจน (Nitrogen) สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตลําปาง (มปป.) กลาววา สารประกอบไนโตรเจน ในแหลงน้ํา มีความสําคัญในวงจรชีวิตของพืชและสัตว เคมีของไนโตรเจนคอนขางยุงยาก เนื่องจาก ไนโตรเจนมีว าเลนซีไดหลายคา การเปลี่ยนวาเลนซีนี้ เกิด ขึ้น โดยสิ่งที่มีชีวิต แบคทีเรียสามารถ เปลี่ยนแปลงวาเลนซีของไนโตรเจนใหมากขึ้นหรือนอยลงขึ้นอยูกับสภาวะที่มีออกซิเจนหรือไมมี

24

ออกซิเจน ในแงของอนินทรียเคมีสารประกอบไนโตรเจนไดมากมายหลายรูปในวาเลนซีที่แตกตาง กันถึง 7 คา คือ NH3 (-3), N2 (0), N2O (+1), NO (+2), N2O3 (+3), NO2 (+4), N2O5 (+5) สําหรับทางดานสัตวน้ํามีการศึก ษาไนโตรเจนใน 3 รูปแบบ คือ แอมโมเนีย (NH3) ไนไตรท (NO-2) และ ไนเตรท (NO-3)สารประกอบพวกนี้อ ยูใ นรูป ปุยหรื อ เกลือ ปสสาวะ สว น สารประกอบพวกอินทรียไนโตรเจน ไดแก โปรตีน กรดอะมิโน กรดนิวคลีอิค ซึ่งเปนสวนประกอบ ของรางกายพืชและสัตว ในอุจจาระ ในปุยคอก ซึ่งแอมโมเนีย (NH3) มักพบอยูในรูปของเกลือแอมโมเนียมคลอไรด และเกลือของ แอมโมเนียมซัลเฟต ซึ่งเมื่อถูกยอยสลายจะใหกาซแอมโมเนีย รูปแบบของแอมโมเนียที่เปนพิษตอ สัตวน้ํา จะอยูในรูปที่ไมแตกตัว(NH3) สวนแอมโมเนียในรูปที่แตกตัวนั้น(NH+4) จะไมมีพิษตอสัตว น้ํา นอกจากจะมีความเขมขนสูงมากๆ สําหรับแอมโมเนียในรูปไมแตกตัวนั้น จะสามารถในการ แพรกระจายผานผนังเซลลไดดี เนื่องจากไมมีประจุไฟฟา และสามารถละลายไดดีในไขมัน ซึ่งเปน องคประกอบสวนหนึ่งของผนังเซลล ไนไตรท (NO-2) พบในรูปของ สารประกอบโซเดียมไนเตรท หรือแคลเซียมไนเตรท สารประกอบเหลานี้เปนผลพลอยไดจากการยอยสลายแอมโมเนีย ไนไตรทเปนสารที่เกิดขึ้นจาก กระบวนการ Nitrification โดยมีการเปลี่ยนแปลงมาจากแอมโมเนีย ในสภาวะที่มี pH ต่ําหรือเปน กรด จะมีปริมาณไฮโดรเจนอิออนสูง ซึ่งไฮโดรเจนอิออนจะทําปฏิกิริยากับไนไตรทไดกรดไนตรัส (Nitrous acid) ซึ่งจะมีพิษตอสัตวน้ําสูง ไนเตรท (NO-3) ไนเตรท ไนเตรทมีความสําคัญตอการเจริญของแพลงกตอนพืชและ พืชน้ํา ดังนั้น ปริมาณไนเตรทจึงสามารบอกกําลังการผลิต (Productivity) ของแหลงน้ําได ซึ่ง แพลงกตอนพืชจะใชไนเตรทในการสรางโปรตีน การเกิดไนเตรท เกิดจากกระบวนการออกซิเดชัน ไนไตรทเปนไนเตรท นอกจากนี้ยังไดมาจากการใสปุยซึ่งมีธาตุไนโตรเจนเปนองคประกอบ จาก การชะลางซึ่งจะพบวาบริเวณปากอาวหรือปากน้ําจะพบไนเตรทในปริมาณที่สูง ทางดานประมงไน เตรทไมถือวามีค วามเปน พิษ ตอสัต วน้ําโดยตรงนอกเสียจากมีค วามเขมขน สูงมาก สําหรับการ บริโภคน้ําที่มีไนเตรทสูง จะกอใหเกิดอันตรายตอรางกาย โดยจะทําใหเกิดโรคตอระบบโลหิต ซึ่ง เรียกวา Methemoglobinemia (ชาญยุทธ คงภิรมยชื่น, 2533) ปฏิกิริยาเคมีข องสารเหลานี้ จะผานกระบวนการ Mineralization เพื่อเปลี่ยนรูป จาก สารอินทรียไปเปนอนินทรียสาร ซึ่งมีแบคทีเรียเปนตัวสําคัญในการทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง และ อาจเปลี่ ยนกลั บไปมาไดโ ดยแบคทีเ รีย โดยกระบวนการ Ammonification, Nitrification และ

25

Denitrification กระบวนการดั ง กล าวมีค วามสํ า คัญ เกี่ ยวกับ วัฏ จั ก รเคมีข องน้ํา เพราะทํ าให มี สารอาหารของพืชน้ําและสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ สามารถนําไปใชได ในสภาพกรดโดยกลุมแบคทีเรียที่ เรียกวา Nitrifying bacteria จะทําการยอยสลายแอมโมเนียโดยแบคทีเรีย เรียกวา กระบวนการ Nitrification และจากไนไตรท ไม ส ามารถอยูใ นสภาพคงที่ เพราะถู ก แบคทีเ รี ยย อ ยสลายต อ กลายเปนไนเตรท ดังนั้นจึงมักพบไนไตรทในปริมาณต่ํา ดังสมการ NH3

Acid solution

NH+4

2NH+4+3O2

Nitrosomonas

2NO-2+4H+ + energy + 2H2O

2NO-2+ O2

Nitrobacter

2NO-3 + energy

เมื่อมีสภาพขาดออกซิเจน (Anaerobic) หรือในสภาพที่มีออกซิเจนแตมีอินทรียวัต ถุ มากพอ จะเกิดกระบวนการ Denitrification เนื่องจากแบคทีเรีย ซึ่งทําหนาที่ลดออกซิเจนในไนเตรท ใหเปนไนไตรท จากไนไตรทใหเปนไนตริกออกไซด และกาซไนโตรเจน ตามลําดับ กาซไนโตรเจน จะระเหยขึ้นสูอากาศ ดังสมการ NH3 2NH+4 + 3O2 2NO-2 + O2

Acid solution Nitrosomonas Nitrobacter

NH+4 2NO-2 + 4H+ + energy + 2H2O 2NO-3 + energy

นอกจากนี้ น้ํา จะสู ญเสี ยไนโตรเจน โดยการะเหยในรู ปของก าซแอมโมเนี ย ซึ่ ง แอมโมเนียเราจะพบได 2 แบบ คือแอมโมเนียมอิออนซึ่งแตกตัวไดงาย (Ionized Ammonia) สวน ใหญจะพบในสภาพน้ําเปนกรด กับกาซแอมโมเนีย ซึ่งไมแตกตัว (Unionized Ammonia) ซึ่งมักจะ พบในสภาพน้ําเปนดาง ดังสมการ NH3 + H2O

2 NO+4 + OH-

การใหอาหารที่มีโปรตีนสูงในบอเลี้ยงปลา เศษอาหารหรือของเสียที่มีอยู จะทําให ปริมาณแอมโมเนียในน้ําสูงขึ้น ซึ่งจะเปนพิษตอสัตวน้ําได โดยจะมีผลทําใหการเจริญเติบโตของ ปลาลดลงเนื่องจากเหงือกถูกทําลาย คือบริเวณเหงือกจะมีการเพิ่มจํานวนของเซลล (Hyperplasia) เซลลบางเซลลจะมีการขยายใหญขึ้น มีการรวมตัวกัน (Hypertrophy) เซลลบวมน้ํา(Edema) และ การเสื่อมสภาพของเซลล(Cellular degeneration) ทําใหความสามารถในการนําออกซิเจนเขาสู

26

รางกายนั้นลดลง โดยฮีโมโกลบินของเลือด จะสูญเสียความสามารถในการรวมกับออกซิเจน และ มีผลทําใหการกําจัดคารบอนไดออกไซดของรางกายไดนอยลง (ชาญยุทธ คงภิรมยชื่น, 2533) 4.7 คลอรีน (Chlorine) ปกติ ใ นแหลง น้ํา ธรรมชาติจ ะไม มีค ลอรีน ปะปนอยู แตใ นการเพาะเลี้ ยงสัต วน้ํ า บางครัง้ มีความจําเปนตองมีการใชคลอรีนในการฆาเชื้อโรค หรือโรคพยาธิในบอปลา หรือบางครั้ง ผูเพาะปลาจะใชน้ําประปาซึ่งมีค ลอรีน ปะปนอยู เพื่อฆาเชื้อ โรค ปริม าณคลอรีน เพียงเล็ก นอ ย สามารถฆาเชื้อโรคได จากการทดลองในหองปฏิบัติการกับปลากะพงขาว และกุงกามกราม พบวา คลอรีนในระดับความเขมขนประมาณ 0.2-0.5 มิลลิกรัม/ลิตร สามารถทําใหสัตวทดลองตายภายใน 48 ชั่วโมง และถาอุณหภูมิสูงขึ้น ความเปนพิษของคลอรีนก็จะสูงขึ้นดวย ดังนั้น น้ําที่จะนํามา เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา จึงไมควรหลงเหลือคลอรีนอยูเลย ถาหากมีก็ไมควรเกินกวา 0.01 มิลลิกรัม/ ลิตร การกําจัดคลอรีนทําไดโดยพักน้ําไวซักระยะหนึ่ง และมีการใหอากาศ คลอรีนที่หลงเหลืออยูจะทํา ปฏิกิริยากับสารประกอบอื่นๆ ในน้ําและจะถูกทําลายโดยแสงสวางหรืออาจะกําจัดโดยการเติมสาร โซเดียมไทโอซัลเฟต (Na2S2O3) คลอรี น สามารถละลายน้ํ า ได แ ละเกิ ด กรดไฮโปรคลอรั ส (Hypochlorous acid) ดังสมการ Cl 2 + H2 O

HOCl + H+ + Cl-

Hypochlorous acid จะแตกตัวออกไปไดอีกเปน Hypochlorite ion ดังสมการ HOCl

H+ + OCl-

ปฏิกิริยาดังกลาวถูกควบคุมโดยความเปนกรดเปนดาง(pH) และอุณหภูมิข องน้ําแต ปฏิกิริยาดังกลาวเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว (ไมตรี ดวงสวัสดิ์ และคณะ, 2528) นอกจากนี้การเติมคลอรีนลงไปเพื่อการกําจัดเชื้อโรคในกระบวนการบําบัดน้ํา ยังคงมี สว นที่ต กคางอยู ซึ่งตองมีความเชี่ ยวชาญและระมัด ระวังในการเติม เนื่องจากการใชคลอรีน ใน ปริมาณที่มากอาจทําปฏิกิริยากับอินทรียวัตถุ ซึ่งในการใชคลอรีน สามารถบําบัดแบคทีเรียได การ ใชคลอรีนในสระน้ํา โดยทั่วไปจะควบคุมไมใหสูงกวา 1.0 มิลลิกรัมตอลิตร

27

4.8 อุณหภูมิ Leslie A. Dierauf (1990) กลาววา อุณหภูมิมาตรฐานสําหรับสัตวกลุม Pinniped ใน คอกกักจะไมมีการกําหนดแตอุณหภูมิที่สูงเกินไปเปนสิ่งที่ตองใหความสําคัญ ในพื้นที่นอกอาคาร เชน สระน้ําสําหรับสวนแสดง การเตรียมรมเงา เชน หลั งคาคลุม หรือการลดอุณหภูมิอื่นๆ เชน การพนละอองน้ําฝอย ระดับอุณหภูมิที่เริ่มเปนอันตรายสําหรับสัตวกลุมนี้คือ มากกวา 79 องศา ฟาเรนไฮต การแสดงพฤติก รรมของสัต วก ลุมนี้บนพื้น ที่บนบกในระดับของอุณ หภูมิตาง เชน ชว ง อุณหภูมิที่เปนชวงสบายคือ 10-15 องศาเซลเซียส ในชวงอุณหภูมิ15-20 องศาเซลเซียสจะเริ่มใช ครีบยกลําตัวขึ้น ถาอุณหภูมิมากกวา 30 องศาเซลเซียสแมวน้ําชอบที่จะดําน้ําเลน 5. ปลาและการใหอาหารแมวน้ํา การใหอาหารจะตองคํานวณปริมาณอาหารที่จะใหกับสัตวกลุม Pinniped (กลุมพวกแมวน้ํา วอลรัส สิงโตทะเล) ซึ่งจะคิดเปนประมาณ 8-10 เปอรเซ็นตของน้ําหนักตัว โดยแบงอาหาร ออกเปน 2-3 มื้อ และอาจตองเพิ่มเปน 5-6 มื้อ สําหรับสัตวที่อายุยังนอยรวมทั้งปริมาณที่ใหตอง ใหเปน 12-15 เปอรเซ็นต และเนื่องจากวิตามินและเกลือสูญเสียไปในชวงการละลายน้ําแข็งจึง จําเปนตองมีการเพิ่มเกลือและวิตามินเขาไปดวย ไดแก ใหวิตามินบี 1 ไทอามีนที่ปริมาณ 100-500 มิลลิกรัมตอวัน หรือให 25-39 มิลลิกรัมตอปลา 1 กิโลกรัม โดย Thiaminase activity จะทําลาย วิตามินบีหนึ่ง 25 มิลลิกรัมตอปลา 1 กิโลกรัม อาจการเพิ่มเกลือใหสําหรับสัตวในกลุม Pinnipeds ที่อยูในน้ําจืด มีบางรายงานที่กลาววา Northern Fur Seal ไมตองเติมเกลือแมวาอาศัยอยูในน้ําจืด แตมีรายงานกอนรายงานฉบับดังกลาว นั้นใหขอมูลโดยใหคําแนะนําวาตองเติมเกลือในปลาที่จะเปนอาหารแกแมวน้ําในปริมาณ กรัมของ เกลือตัวปลาหนึ่งกิโลกรัมตอวัน ปลาที่ใ หค วรเปน ปลาหลายชนิด คละกัน จะดีกวาการใหปลาเพียงชนิด เดียว ปลาเฮอริง (Herring) ปลาเมคเคอเรล(Mackerel) ปลาสเมลท(Smelt) และปลาหมึก คือ ชนิดของปลาที่ ใหกับ สัตวในกลุมแมวน้ํา (Pinnipeds) อาจจะใหไดตอเนื่อง กัน 4-5 วัน และควรจะมีการการเปลี่ยนชนิด อาหารเพื่อใหการยอยอาหารของแมวน้ําเปนปกติ

28

สําหรับคุณภาพของปลา ปลาที่มีคุณภาพดี มีลําดับในการพิจารณา คือ มีปริมาณของไขมัน สูง ลําดับตอมาเปนพลังงาน หมายถึงความมากหรือนอยของแคลอรีตอน้ําหนัก 1 กรัม และถัดมา คือปริมาณของน้ําที่ไดจากกระบวนการออกซิเดชัน เปอรเซ็นตของไขมันที่มีในปลาแตละชนิดจะมี ความผันแปรไปตามชนิดของปลา ฤดูกาล อายุ เพศ สิ่งแวดลอมของถิ่นที่อยูของปลาชนิดนั้นๆ อุณหภูมิที่หนาวเย็นของน้ําจะยิ่งทําใหไขมันที่ไมอิ่มตัวที่มีในปลามีมากขึ้น มีสัตวในกลุม Penniped ที่มีความไวตอคารโบไฮเดรต โดยเฉพาะกับไดแซคคาไลดแลคโตส (Disaccharide Lactose) ในสิงโตทะเลแคลิฟอรเนีย(California Sea Lion) ที่กินอาหารที่มีปริมาณ ของคารบอไฮเดรตสูง เชน ปลาหมึก จะทําใหเกิด อาการถายเหลว เนื่องจากอาหารดังกลาวมี ปริมาณของแลคโตส ซึ่งสิงโตทะเลชนิดดังกลาวไมมีเอนไซมแลคเตส ดังนั้น การเลือกชนิดปลาที่มี ปริมาณของคารโบไฮเดรตนอยจึงเปนอีกปจจัยที่ตองใหความสําคัญ การเตรียมปลา ซื้อปลาทีม่ ีการควบคุมคุณภาพ ซึ่งเปนมาตรฐานเดียวกับนํามาใหคนกิน ปลาสดเก็บในถุงพลาสติคที่มีปริมาณของอากาศนอย เก็บไวในอุณหภูมิ -20- -30 องศาเซลเซียส ไมควรเก็บอาหารไวนานเกิน 6 เดือน และในปลาเมคเคอเรล ไมควรเก็บไวนานเกิน 3 เดือน ในขั้นตอนการเตรียมปลาเพื่อใหสัตวกิน เชนในการละลายน้ําแข็งออกจากตัวปลา ตองทํา ใกลเคียงกับเวลาที่ใหอาหารมากที่สุด การละลายน้ําแข็งใหใชหองที่มีความเย็นหรือแชในน้ําเย็น ไมควรแชในน้ําระดับอุณหภูมิหอง การเก็บปลาที่สัตวไมกินแลวใหรีบเก็บภายใน 24 ชั่วโมงหลัง การใหปลา อาการอาหารเปนพิษจากการกินเนื้อปลาที่มีสีดํา (Scombroid Poisoning) เนื่องจากการเก็บ ปลาที่ไมดีพอ อาการที่แสดงคือ กระหายน้ํา วิงเวียนศีรษะ ปวดทอง อาเจียน ถายเหลว คัน บวม น้ําทั่วตัว การหายใจผิดปกติ เยื่อเมือกคล้ํา ช็อกและตายติดตามมา ซึ่งอาการที่เกิดขึ้นในคนจะเปน อาการเชนเดียวกันกับที่เกิดในแมวน้ําที่กินปลา Atlantic Mackerel ที่คุณภาพไมดี แนวทางการ ปองกันการเกิด Scrombroid Poisoning จากปลา Mackerel เชน เก็บปลาออกจากคอกสัตวภายใน 12 ชั่วโมงหลังจากที่ละลายน้ําแข็งออกจากตัวปลา ในกระบวนการละลายน้ําแข็งออกจากตัวปลาไม ควรใชวิธีการละลายที่ปลอยใหกระบวนการละลายถึงอุณหภูมิหอง สิ่งสําคัญอีกอันหนึง่ ในการนําปลาเมคเคอเรล คือ การตัดเอาครีบตางๆ ออก ซึ่งครีบเหลานี้ จะทําใหเกิดการเจ็บภายในปากของสัตวและอาการที่เกิดตามมาคือการเบื่ออาหาร

29

การใหอาหารสําหรับแมวน้ําซึ่งอยูร วมกัน เปน ฝูง ตองมั่นใจวาน้ําในสระสะอาดและพื้น สะอาด ชั่งน้ําหนักปลาทั้งหมดและใสไวในถัง ยัดวิตามินตามปริมาณที่คํานวณโดยใสที่เหงือกของ ปลา โยนปลาที่ละตัวโดยใหตัวจาฝูงกอน พยายามที่จะใหแมวน้ําแตละตัวไดรับอาหาร โยนปลาที่ เหลือทั้งหมดลงที่พื้นหรือลงในสระน้ํา โดยกระจายหลายที่เพื่อใหทุกตัวไดรับอาหาร ซึ่งการให อาหารดวยวิธีนี้ใชการสัตวที่มีสุขภาพดี ซึ่งจะใชเวลาไมนาน หลังจากนั้นเก็บเศษปลาที่เหลือเปน ชิ้นแลวชั่ง ทําความสะอาดถังน้ําใหเรียบรอย บันทึกการใหอาหารเชนปริมาณอาหารที่ให ปริมาณที่ เหลือ พฤติกรรมที่สังเกตได สวนการใหอาหารกับสัตวเฉพาะตัว ในกรณีการใหอาหารกับสัตวฝูง และมีสัตวบางตัวที่ ลังเลที่จะออกจากสระน้ํา เพื่อมากินอาหาร ซึ่งอาจโดนขมจากสัตวตัวอื่นหรือความแข็งแรงไมเพียง พอที่จะแยงชิงอาหารได ควรตองใชวิธีการใหอาหารแบบเฉพาะตัว โดยกําหนดปริมาณปลาที่จะให สัตวกินโดยดูจากประวัติการกินอาหารของสัตว จากนั้นชั่งน้ําหนักของปลาที่ละลายน้ําแข็งออกแลว ใสอาหารไวในถาดอาหารซึ่งตองใชถาดเดิม สําหรับสัตวตัวเดิม ใสเกลือ หรือวิตามิน หรือในกรณี สัตวปวยการใสยาเม็ดไวที่เหงือกของปลา ใชน้ําเย็นราดที่ตัวปลาเพื่อเพิ่มความนากินมากขึ้น ผูที่จะ นําอาหารไปใหสัตวกินใหสวมถุงมือและนําอาหารยื่นใหสัตวกิน ถาสัตวรับอาหารไปกิน ปลาตัวถัด มาจึงยื่นตัวที่สอดยาไวใตครีบเหงือก ถาสัตวกินอาหารใหเอาอาหารทั้งหมดวางลงในน้ําบริเวณที่ สัตวอยู ถาสัตวลงั เลที่จะกินอาหารอาจจับตัวปลาไปมาเพื่อใหแมวน้ําสังเกตเห็นอาหาร ถาสัตวไม กินอาหารตอแลวก็เก็บปลาทั้งหมดขึ้นมา แลวนําปลาที่เหลือไปชั่งน้ําหนัก จดบันทึกปริมาณอาหาร ที่สัตวกิน พฤติกรรที่สัตวแสดง สําหรับน้ําสัตวในกลุม Pinniped ไดน้ําจากสองแหลง คือ หนึ่งจากปลาที่กินเขาไปโดยที่ ประมาณน้ําที่ไดจากปลาประมาณ 60-85 เปอรเซ็นต สองจากกระบวนการเบตาออกซิเดชันไขมัน (beta oxidation of dietary fats) การกินน้ําทะเลจึงมิใชแหลงน้ําสําคัญที่สัตวไดรับ สัตวที่เลี้ยงใน กรงเลี้ยง เชน California sea lion และ northern elephant seal จะกินน้ําจากพื้นของคอกกักหรือ ดังนั้น การเตรียมน้ําจืดไวใหสัตวกินจึงเปนสิ่งที่จําเปนดวย 6. สภาพแวดลอมของ Aquatic Birds สําหรับสภาพแวดลอมของนกน้ํา (Aquatic birds) นั้นประกอบดวย 6 ออเดอร 23 แฟมิลี Michale K. Stoskopf และ Suzanne Kennedy-Stoskopf(1986) ไดศึกษาและกลาวไวดังตอไปนี้ สิ่งแวดลอมของนกน้ําขนาดของพื้นที่ สวนใหญของนกในออเดอรนี้จะเปนนกที่อยูเปนฝูง พฤติกรรมการทํารังอยูภายในฝูง พฤติกรรมการผสมพันธุจะมีสวนในการกระตุนนกตัวอื่นๆ ภายใน

30

ฝูง ความตองการพื้นที่ในสวนแสดงนั้นมีความแตกตางกับตามชนิดของนกและการออกแบบพื้นที่ ของสวนแสดง โดยสวนประกอบที่สําคัญ เชน บริเวณทํารังวางไข (Nesting Area) บริเวณที่กําบัง สายตาจากผูเที่ยวชม (Sight Barrier) ทางลงไปยังสระน้ําของนก(Water Access Route) ซึ่งถาทําได อยางเหมาะสมจะเปนการลดพฤติกรรมการถือครองพื้นที่ระหวางนกได มีสูตรการคํานวณบริเวณที่ ใชเปนที่วางไขในนกเพนกวิน (The smallest appropriate area for nesting) ดังนี้ SA = (1.5 h)2 x N/2 โดยที่ SA เปนพื้นที่ที่ตองการ h เปนความสูงของนกชนิดนั้นๆ N เปนจํานวนนกเพนกวินที่มีสูงสุดในสวนแสดงนั้นๆ ความตองการพื้นที่น้ําในสวนแสดงในนกเพนกวิน ตองการความลึกอยางนอย 1 เมตร และตองการพื้นที่น้ํามากกวาพื้นที่บนบก 2-3 เทา พื้นผิว (Substrate) น้ําเปนพื้นผิว ที่มีความสําคัญในสวนแสดง ถึงแมวานกเพนกวินจะ สามารถดํารงชี วิต ในน้ําจืด ได แตก ารเพิ่มเกลือทะเลในอาหารที่ใ หแกน กเป น สิ่ งที่ตองปฏิบั ติ เพื่อใหตอมเกลือ (Salt Gland) ยังทํางานเปนปกติ ปญหาที่มักเกิดขึ้นในมุมมองภาพใตน้ําผานกระจก คือ นกเพนกวินเปนนกที่มีการถายมูล จํานวนมากและมีการปลอยขนเสนเล็กๆ ออกเกือบตลอดเวลา การแกไขปญหา เพื่อใหไดภาพที่ สวยงามตองมีการจัดการกับสิ่งที่เกิดขึ้นจากตัวสัตว เชน การทําใหตกตะกอน การทําใหรวมกันเปน กอน ความถี่ที่เพียงพอในการหมุนเวียนน้ําเพื่อเขาสูกระบวนการกรองดวยระบบแบบอัดแรงดัน นอกจากนั้น ยังมีน้ํามันที่ออกจากตัวปลาซึ่งจะลอยอยูเหนือผิวน้ํา ซึ่งน้ํามันนี้จะทําใหการ ปกกันการเปยกน้ําของตัวนกลดลง ถาปลอยใหน้ํามัน ของปลามีการสะสมมากขึ้น จะสงผลตอ ระบบการรักษาอุณหภูมิของรางกายนก การใชสกิมเมอรเพื่อดูดเอาน้ํามัน ที่อยูที่ผิวน้ํานี้ออกไปจะ เปนวิธีการชวยที่ดี น้ํามันที่เกิดจากมูลของนก เศษปลาที่นกกินไมหมดจะมีผลกระทบตอระบบกรองทั้งแบบที่ กรองดวยทรายหรือกรองดวยปะการัง ทําใหการเปลี่ยนตัวกรองตองทําบอยครั้งขึ้นซึ่งเปนคาใชจาย

31

ที่สูง หรือแมแตในระบบกรองที่มีคุณภาพการเปลี่ยนน้ําทั้งหมด(ประมาณสัปดาหละหนึ่งครั้งเปน สิ่งที่ตองทําเพื่อคงคุณภาพน้ําที่ดีไว พื้นที่บนบกเปนสิ่งที่จําเปนตองมีไวเพื่อใหนกตัวแหงอยางสมบูรณ รวมทั้งสวนของเทาดวย พื้นที่ปกกันการเกิดบาดแผลที่เทาไดดีเชน กรวดกอนเล็ก ทราย ทรายสําหรับใหแมวถายปสสาวะ บริเวณที่นกจะลงสูน้ําตองมีความชันที่พอเหมาะ ซึ่งตองทําไวหลายๆจุด อุณหภูมิที่มากกวาเกิน 30 องศาเซลเซียสจะมีผลกระทบตอตัวนก ถึงแมวาจะเตรียมรมเงา น้ําที่พนเปนละอองฝอย น้ําสําหรับวายน้ําที่ปรับอุณหภูมิใหเย็น เนื่องจากนกชนิดนี้ตองมีการควบคุมอุณหภูมิ ทําใหนกเพนกวินตองอยูในหองที่คอนขาง มิดชิดเพื่อใหรักษาอุณ หภูมิในไวได นกเพนกวินเปน นกที่มีก ารถายมูลเปนจํานวนมาก ถาหอง ดังกลาวมีการระบายอากาศที่ไมดี การระบายอากาศจึงเปนปญหาที่เกิดขึ้น และที่จะสรางปญหาแก นกเพนกวินและผูเลี้ยงสัตวคือสปอรของเชื้อรา การใชเครื่องกรองอากาศจึงเปนทางเลือกที่จะเปน ตัวชวยได โดยตองเปนแบบ 95 เปอรเซ็นต Effective Biological HEPA Filter แตถาหองมีการ ระบายอากาศที่เพียงพอและมีการจัดการเรื่องการทําความสะอาดที่เพียงพอ เครื่องกรองอากาศอาจ ไมจําเปนตองใชก็ได ในการติดตั้งเครื่องกรองอากาศตองติดตั้งในจุดที่จะสามารถที่จะเปลี่ยนแผนกรองอากาศได งาย โดยเฉพาะในพื้น ที่บกที่ใ ชดินเหนียว เครื่องกรองอากาศตองสามารถจับแอมโมเนีย เพื่อ ควบคุมระดับของแอมโมเนีย ซึ่งจะเปนสาเหตุของทางเดินหายใจเรื้อรังที่จะเกิดกับนกที่อยูในหอง และผูเลี้ยงสัตว แสงและเสียง นกที่อยูในทะเลทุกชนิดจะมีความไวกับชวงแสงในบางชวงแสง ในชนิดที่ อาศัยอยูที่ขั้วโลกชวงแสงจะมีความสําคัญอยางมาก ตอความสําเร็จในการสืบพันธุ ในสวนของ เสียงไมวาจะเปนเสียงของคนหรือเสียงอื่นๆ เชนเครื่องจักรจะมีผลตอนกกลุมนี้ทุกชนิด การสุขาภิบาล สิ่งที่ตองระวังมากในการจัด การนกกิน ปลาคือ การเตรียมปลาที่ จ ะเปน อาหารแกนกเนื่องจากอาหารจะเปนสาเหตุสําคัญในโรคติดเชื้อในระบบทางเดินอาหาร

32

ในการทําความสะอาดสวนตางผูเลี้ยงสัตวตองสวมถุงมือและใสหนากากปดปากจมูก และ ในชวงที่กําลังทําความสะอาดอยูตองทําดวยความนิ่มนวลเนื่องจากมีนกบางชนิดที่ตื่นตกใจไดงาย สาเหตุการเกิดโรคระบาดสวนใหญในนกเพนกวินคือบริเวณที่นกวางไขและน้ําที่มีในคอก อาหาร อาหารเปนเรื่องที่มีความสําคัญ เนื่องจากเปนสาเหตุประการหนึ่งที่ทําใหเกิดการ ปว ยพรอมๆ กัน ของนกหลายๆ ตัว พบวาในถิ่น ที่อยูตามธรรมชาติก ารตายของนกกลุมนี้จ ะมี สาเหตุเริ่มตนจากเรื่องของอาหาร โดยปจจัยในเรื่องของอาหารเชน คุณคาทางอาหารของชนิดปลา ที่ใหกับนก การใหชนิดปลาที่หลากหลายจะทําใหคุณคาทางอาหารที่ใหกับนกมีความสมดุลมากกวา จากปลาชนิดใดชนิดหนึ่ง สิ่งที่มักเกิดขึ้นกับการใหปลาชนิดใดชนิดหนึ่งติดตอกันเปนชวงเวลานาน จะทําใหนกติดปลาชนิดนั้นเมื่อมีการเปลี่ยนชนิดปลาทําใหนกไมยอมกินปลาชนิดอื่นๆ ซึ่งอาจเกิด ปญหาในกรณีที่ปลาบางชนิดจะมีปริมาณมากหรือนอยที่ขึ้นกับฤดูกาลเชนกัน การใหวิตามินและเกลือแรเสริมเขาไปในอาหารเปนเรื่องที่มีความจําเปน มีตัวอยางกรณีเกิด การปว ยเนื่ องจากผลเรื่องอาหารเชน การขาดวิต ามิน ในกลุมที่ละลายในไขมัน ได (Fat-soluble Vitamins) มีผลใหเกิดโรคกลามเนื้อตาย (Muscular Necrosis)ในฝูงนกกระทุงสีน้ําตาล ในนก Alcids การตายของลูกนกเนื่องจากการขาดวิตามินบี โดยที่ลูกนกเหลานี้กินปลา Smelt และนกชนิดนี้ตายเนื่องจากน้ําหนักที่ลดลง เนื่องจาก ปลา Smelt จะขาดกรดไขมัน 2 ตัว ที่มีความจําเปนในการผลัดขนและตอระบบสืบพันธุของนกเพนกวินและเกิดขึ้นกับนกชนิดอื่นอีก หลายชนิด การจดบันทึกขอมูล นกเพนกวินเปนนกที่อยูกันเปนฝูง การจดบันทึกขอมูลและติดตามการ เปลีย่ นแปลงในนกแตละตัวเปนสิ่งที่เปนปญหา โดยปญหาคือการที่จะสามารถรูวานกตัวใดคือตัวใด โดยมองจากระยะไกล เมื่อไมสามารถวานกตัวใดคือตัวใดการจะติดตามผลเรื่องการรักษา เรื่องราว ในระยะยาวจึงไมเกิดขึ้น ในนกที่มีขายาวการใชหวงขาเหนือสวน Tibiotarsal Joint แตนกเพนกวิน เปนนกที่ขาสั้นและอวน การใชหวงที่ขาจึงไมเหมาะ การทําหวงที่ครีบจึงเปนบริเวณที่เหมาะสม กวา ซึ่งแบบหวงที่ทําใหการมองจากระยะไกลชัดเจนมากขึ้นคือการใชหวงที่มีแถบสี เมื่อเราสามารถบอกไดวานกตัวใดเปนตัวใดแลว เราจะสามารถติดตามสุขภาพนกแตละตัว ได การจดบันทึกปริมาณอาหารที่สัตวกินไดแตละวัน ก็จะเปนตัวเลขที่ชวยใหเราสามารถคํานวณ ปริมาณปลาที่จะตองสั่งในแตละวัน เมื่อเราทําการวิเคราะหอาหารที่ใหกับนก ก็จะเปนการติดตาม สภาพของนกในฝูงวามีการเปลี่ยนแปลงวาเปนอยางไรบาง

33

การจดบัน ทึก ในเรื่ องพฤติก รรม เรื่องการเปลี่ยนแปลงของรางกายสัต ว ทําใหสามารถ จัดการกับสัตวไดถูกตองมากขึ้น เชนวงจรการผลัดขน การฟกไข การเลี้ยงลูกออน และที่สําคัญอีก หัวขอหนึ่งคือน้ําหนักของนกแตละตัว ซึ่งควรทําสัปดาหละหนึ่งครั้ง การทําที่ชั่งน้ําหนัก โดยให พื้นที่สวนหนึ่งสามารถสามารถวางแทนที่ดวย เครื่องชั่งน้ําหนัก ไดและไลนกใหรวมอยูจุดหนึ่ง และใหนกผานจุดตาชั่งครั้งละ 1 ตัว การชั่งน้ําหนักซึ่งทําสัปดาหละหนึ่ง โดยทําในชวงที่เขาไปทํา ความสะอาด น้ําหนักจะเปนตัวบงชี้ที่สําคัญเนื่องจาก น้ําหนักจะไมมีความเกี่ยวเนื่องกับการผลัดขน และชวงฤดูผสมพันธุ ซึ่งถาน้ําหนักนกลดลงแสดงถึงความผิดปกติ ที่อาจเริ่มเกิดขึ้นกับตัวนกแลว ซึ่งแนวทางการแกไขก็อาจจะมามองที่สภาพสิ่งแวดลอมภายในคอกและอาหารที่ใหปลากินทุกวัน (Michale K. Stoskopf และ Suzanne Kennedy-Stoskopf,1986)

34

วิธีการศึกษา อุปกรณ 1. เครื่องวัดความเขมแสง 2. เครื่องวัดความชื้นสัมพัทธ 3. เทอรโมมิเตอร 4. เครื่องมือ Multifunction analysis 5. เครื่องมือ UV Visible spectrophotometer 6. เครื่องมือ Turbidity meter 7. เครื่องแกววิทยาศาสตร 8. สารเคมีสําหรับการวิเคราะห บีโอดี ดีโอ ไนไตรท แอมโมเนีย คลอรีน และโคลิฟอรม แบคทีเรีย 9. ขวดเก็บตัวอยางน้ําพลาสติก และขวดแกวปลอดเชื้อ 10. กระดาษกรอง 11. ลังน้ําแข็ง/กลองโฟม 12. ถุงพลาสติกและยางรัด 13. กระดาษกาวยน และปากกาเคมีชนิดถาวร 14. เครื่องเขียน

35

วิธีการ ในการศึกษาการจัดการคอกแมวน้ําและเพนกวินของสวนสัตวนครราชสีมาไดมีวิธีการศึกษา ดังนี้ 1. ทําการศึกษาสภาพทั่วไปของคอกแมวน้ําและเพนกวิน โดยการศึกษาจากลักษณะพื้นที่ การกอสราง และการศึกษาจากเอกสารการดําเนินงานที่ผานมา 2. การศึกษาการจัดการทั่วไป เชน การใหอาหาร การเลี้ยง การฝก ทําการศึกษาโดยใช วิธีการสัมภาษณจากผูเลี้ยงประจําคอกตางๆ 3. การศึกษาดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทําการศึกษาโดยการเก็บตัวอยางและตรวจวัดคุณภาพ สิง่ แวดลอม โดยมีวิธีการดังนี้ 3.1 การตรวจวัดคุณภาพน้ํา 3.1.1 ตรวจวัดคุณภาพน้ําในสวนของแมวน้ํา ทําการเก็บตัวอยางคุณภาพน้ําในบอ กักแมวน้ําทั้ง 2 บอ ตามระยะเวลาการกักและปลอยน้ํา โดยคอกกักใหญมีระยะเวลาการกักและปลอย ที่ระยะเวลา 2 วัน และคอกกักเล็ก ที่ระยะเวลา 3 วัน เพื่อใหทราบวาน้ํามีความสกปรกมากหรือนอย เมื่อมีกิจกรรมของแมวน้ํา และสวนแสดงจะทําการเก็บตัวอยางเพื่อวิเคราะหคุณภาพน้ําเชนเดียวกัน กับคอกกัก แตทําการติดตามเปนระยะเวลา 7 วันครั้ง เนื่องจากในสวนแสดงไมมีการเปลี่ยนน้ํา แตจะ ใชการบําบัดน้ําและน้ําที่บําบัดแลวจะหมุนเวียนกลับเขาบอแสดงเชนเดิม 3.1.2 การตรวจวัดคุณภาพน้ําในสวนของเพนกวิน ทําการเก็บตัวอยางคุณภาพน้ําใน สวนแสดงเพนกวิน ตามระยะเวลาการกักและปลอยน้ําเชนกัน โดยมีระยะเวลาการกักและปลอยที่ ระยะเวลา 7 วัน 3.1.3 ดัชนีที่ตรวจวัด ไดแก คาออกซิเจนที่ละลาย ความเปนกรด-ดาง คาความนํา ไฟฟา คาบีโอดี อุณหภูมิ ไนไตรท แอมโมเนีย ความเค็ม ความขุน โคลิฟอรม และคลอรีน ซึ่งจะวัด ในสวนแสดงแมวน้ําเทานั้น เนื่องจากมีการเติมเพื่อการบําบัด แตในสวนอื่นๆ มิไดมีการใชคลอรีน แตอยางใด

36

3.2 การตรวจวัดสภาพอากาศ การวัดอากาศจะทําการเก็บขอมูลดานอุณหภูมิ ความชื้น ในบรรยากาศ และความเขมของแสง โดยทําการเก็บทุกวันของชวงระยะเวลาที่ทําการศึกษา จากนั้น ก็นําไปวิเคราะหขอ มูลตอไป 4. ทําการวิเคราะหและประมวลผลการศึกษา 5. เขียนและจัดทํารายงานการวิจัย

37

ผลและวิจารณ ในการศึกษาการจัดการคอกแมวน้ําและเพนกวินในสวนสัตวนครราชสีมาครั้งนี้นั้น ไดทํา การเก็บขอมูลในดานตางๆ ไมวาจะเปนดานสภาพทั่วไปของพื้นที่คอกแมวน้ํา และนกเพนกวินที่ทาง สวนสัตวไดจัดสรางขึ้นใหสัตวไดอาศัย ทั้งในสวนคอกกัก และสวนแสดง นอกจากนี้ยังมีการศึกษา เกี่ยวกับการ ดานการจัดการคอก การดูแลทําความสะอาด ดานการดูแลสัตว การใหอาหาร รวมถึง การศึกษาดานสภาพแวดลอมที่สัตวไดอาศัยอยู ทั้งสภาพอากาศ น้ํา เปนตน ซึ่งสิ่งตางๆ เหลานี้ลวน สําคัญกับการดํารงชีวิตของสัตวที่ไดนํามาแสดงไวในอาคารหรือคอก อันจะนําไปสูการจัดการที่ เหมาะสมกับสัตวเหลานี้ในอนาคตดวย ทั้งนี้ การวิจัยครั้งนี้ไดแสดงผลการศึกษาดังตอไปนี้ 1. การศึกษาสภาพทั่วไป สวนที่ใ ชแสดงแมวน้ําและเพนกวินนั้น ทางสวนสัต วนครราชสีมาไดสรางเปนอาคารที่ ออกแบบมาเพื่อเปนที่อยูอาศัยและแสดงโดยเฉพาะ มีการจัดบริเวณพื้นที่เปนหลายสวนดวยกัน โดย จะแยกสวนเปนสวนของแมวน้ําและเพนกวินคนละสวนแตอยูในอาคารหลังเดียวกัน ซึ่งในสวนของ แมวน้ํานั้นจะประกอบไปดวยสว นที่เปนคอกกักเล็ก คอกกักใหญ และสวนแสดง นอกจากนี้ยังมี ทางเดินอยูระหวางกลางดวย สวนของนกเพนกวินก็จะมีสวนแสดงและหองกักขนาดเล็กที่เชื่อมตอ กัน ดังแสดงแบบกอสรางอาคารในภาพที่ 1 และมีรายละเอียดเพิ่มเติมในภาคผนวก ก ซึ่งสามารถ แสดงลักษณะของพื้นที่แตละสวนดังนี้ 1.1 คอกแมวน้ํา คอกแมวน้ําแบงออกเปน 3 สวนดวยกัน ไดแก คอกกักแมวน้ําเล็ก คอกกักแมวน้ําใหญ และสวนแสดง ซึ่งแตละสวนก็มีความแตกตางกัน ดังตอไปนี้ 1.1.1 คอกกักแมวน้ําเล็ก เปนหองมีประตูเขาออก มีขนาด พื้นที่ 4 x 4 ตารางเมตร มี พื้นที่สวนที่เปนบอน้ํา 2 x 2 ตารางเมตร สามารถกักเก็บน้ําไดประมาณ 4 ลูกบาศกเมตร ในน้ํามีการ เติมเกลือเพื่อปรับระดับความเค็มของน้ํา บอน้ําในคอกกักเล็กจะมีการเปลี่ยนน้ําทุก 3 วัน เปนพื้นที่ที่ แมวน้ําใชอาศัยอยูในชีวิตประจําวัน พื้น ของคอกปูดวยกระเบื้องโมเสคแกว ดังแสดงในภาพที่ 2 เพื่อใหแมวน้ําเคลื่อนที่ไดงายและไมระคายผิวของแมวน้ํา มีเครื่องปรับอากาศจํานวน 1 เครื่อง และ พัดลมดูดอากาศ จํานวน 1 เครื่อง ซึ่งพัดลมดูดอากาศจะเปดเฉพาะตอนที่พนักงานเขาไปทําความ สะอาด เปนระยะเวลาประมาณ 10 นาที สวนในชวงเวลาอื่น ไมเปด เนื่องจากตองควบคุมอุณหภูมิ ในหอง ซึ่งการเปดพัดลมดูดอากาศจะทําใหความเย็นลดลง และสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟา แตการที่ไม

38

ระบายอากาศจะทําใหระบบการหมุนเวียนอากาศไมดี ดังนั้น การพิจารณาติดพัดลมดูดอากาศขนาด เล็กอาจจําเปนตองทํา ดังแสดงภาพลักษณะภายในหองในภาพที่ 3

ภาพที่ 1 แปลนกอสรางอาคารแสดงแมวน้ําและเพนกวินในสวนสัตวนครราชสีมา

39

ภาพที่ 2 ลักษณะกระเบื้องโมเสคแกวที่ใชปูพื้นสวนแสดง และคอกกักแมวน้ํา

ภาพที่ 3 ลักษณะภายในหอง ของคอกกักแมวน้ํา 1.1.2 คอกกักแมวน้ําใหญ ลักษณะภายในหองจะคลายกับคอกกักเล็ก แตมีขนาดใหญ กวา โดยเปนหองมีประตูเขาออก ขนาดพื้น ที่ 8 x 4 ตารางเมตร มีพื้นที่สว นที่เปนบอน้ํา 2.5 x 4 ตารางเมตร สามารถกักเก็บน้ําไดประมาณ 10 ลูกบาศกเมตร ในน้ํามีการเติมเกลือเพื่อปรับระดับ ความเค็มของน้ํา บอน้ําในคอกกักเล็กจะมีการเปลี่ยนน้ําทุก 2 วัน เปนพื้นที่ที่แมวน้ําใชอาศัยอยูใน ชีวิต ประจําวัน พื้น ของคอกปูดว ยกระเบื้องโมเสคแกว และในคอกกัก ใหญมีเครื่องปรับอากาศ

40

จํานวน 2 เครื่อง และพัดลมดูดอากาศ 1 เครื่อง เชน กัน ตั้งอุณ หภูมิไวที่ 20 องศาเซลเซียส ทําให ภายในหองมีอุณ หภูมิเฉลี่ยที่ 24.8 องศาเซลเซียส การเปดพัดลมดูดอากาศจะเปด เฉพาะในชวงที่ พนักงานเขาไปทําความสะอาด ประมาณวันละ 30 นาที 1.1.3 สวนแสดง สวนแสดงเปนสวนที่ใชในการแสดงความสามารถของแมวน้ํา เปนบอ น้ํา และลานแสดงซึ่งลานแสดงนั้นออกแบบเพื่อใหการเคลื่อนไหวของแมวน้ําเปนไปตามธรรมชาติ จึงปูพื้นดวยกระเบื้องโมเสคแกว มีการสรางหินเทียมเพื่อเลียนแบบธรรมชาติและสรางความสวยงาม ขณะที่ชมการแสดง สวนบอน้ํา เปนบอที่รูปรางไมแนน อนแตโคงมน เพื่อไมใ หเกิดอันตรายตอ แมวน้ํ า ทั้ ง ยั ง ช ว ยลดแรงกระแทกได อี ก ด ว ย ซึ่ ง การก อ สรา งนี้ ส อดคล อ งกั บ ข อ มู ล ของ J.R. GERACI(1986) ที่กลาววาสระน้ําที่เปนรูปทรงกลมจะดีกวามีเหลี่ยมมุม ซึ่งมีผลดีตอการตอการไหล ของน้ํา โอกาสที่จะเกิดการเสียดสีกับผนังสระจะนอยลง และการเลือกวัสดุและวิธีการกอสรางที่ ตองเก็บน้ําได ไมระคายเคืองสรางบาดแผลแกตัวสัตว ทําความสะอาดไดงาย ทนตอแรงกระแทก สวนแสดงมีพนื้ ที่บกประมาณ 80 ตารางเมตร พื้นที่น้ําประมาณ 90 ตารางเมตร มีความลึก ประมาณ 2.3 เมตร ซึ่งสวนแสดงนี้สรางใหชมไดทั้งการนั่งชมบนอัฒจรรย และเคลื่อนไหวใตน้ําที่ สามารถชมผานกระจกได เมื่อดูจากทางเดินดานลาง ดังแสดงในภาพที่ 4 นอกจากนี้มีระบบบําบัด น้ําติดตั้งไวเพื่อใหน้ํามีคุณภาพดี และมีโปรแกรมการแสดง โดยในวันปกติมีการแสดง 2 รอบ และ วันหยุด เสารอาทิตยมีการแสดง 4 รอบ

ลานแสดง ลานแสดง

ลานแสดงและบอน้ํา อัฒจรรยนั่งชมการแสดง

จุดชมภาพใตน้ําขณะแสดง ภาพใตน้ําขณะแสดง

ภาพที่ 3 ลักษณะของสวนตางๆ ในบริเวณสวนแสดงแมวน้ํา และภาพจากการมองผานกระจกใส ขณะชมแมวน้ําใตน้ํา

41

การสรางสวนแสดงของสัตวนั้น Leslie A. Dierauf (1990) กลาววา ขนาดของสระน้ํา ของ สัตวในกลุม Pinniped จะใชความยาวลําตัวเฉลี่ยเปนตัวเลขที่ใชคํานวณขนาดของสระน้ําและพื้นที่ บก (Dry Resting Area , DRA ) จากสูตรตอไปนี้ DRA สําหรับสัตวหนึ่งตัวคือ ความยาวเฉลี่ยของตัวเต็มวัยยกกําลังสอง x 1.5 DRA สําหรับสัตวตัวที่สองคือ ความยาวเฉลี่ยของตัวเต็มวัยยกกําลังสอง x 1.4 DRA สําหรับสัตวตัวที่สามคือ ความยาวเฉลี่ยของตัวเต็มวัยยกกําลังสอง x 1.3 พื้นที่ของสระน้ํา = 2/3 ของ DRA ขนาดเสนผานศูนยกลางของสระน้ําอยางนอย = 1.5*ความยาวลําตัวเฉลี่ย พื้นที่บก (DRY RESTING AREA) ยกตัว อยางเชน Northern fur seal ( NFS ) ขนาดความยาวลําตัวเฉลี่ยที่ 5.5 ฟุต DRA สําหรับ NFS = 36.3+33.3+30.2 = 268 ตารางฟุต สระน้ําควรมีเสนผานศูนยกลางอยางนอย 12 ฟุต ความลึกของสระน้ําอยางนอย 3 ฟุต ความลึกของสระน้ําอยางนอย 3 ฟุต หรือ ½ ของความยาวลําตัวโดยเฉลี่ย แตถาลึกกวานี้ก็ ได ซึ่งหากเมื่อเปรียบเทียบกับแมวน้ําในสวนสัตวนครราชสีมาที่มีแมวน้ํา จํานวน 8 ตัว ขนาด ลําตัว เฉลี่ยเมื่อโตเต็มที่ 1.2 เมตร หรือ 4 ฟุต จากการคํานวณ พบวา แมวน้ําตองการพื้น ที่บก (DRA)เทากับ 147.2 ตารางฟุต หรือ 13.25 ตารางเมตร พื้นที่สระน้ํา เทากับ 98.13 ตารางฟุต หรือ 8.83 ตารางเมตร มีขนาดเสนผาศูนยกลาง 6 ฟุต หรือประมาณ 1.8 เมตร ซึ่งพื้นที่ที่ทางสวนสัตว ออกแบบมานั้นมีพื้นที่บกประมาณ 80 ตารางเมตร พื้นที่น้ําประมาณ 90 ตารางเมตร มีสวนแหลงน้ํา ที่กวางที่สุด 10.3 เมตร สวนที่แคบที่สุด 6.5 เมตร ดานยาว มีสวนที่ยาวที่สุด 18.0 เมตร ซึ่งเมื่อ เปรียบเทียบกับขนาดที่แมวน้ําตองการถือวา การออกแบบนั้นสามารถออกแบบไดอยางเหมาะสม 1.2 คอกแสดงเพนกวิน สําหรับคอกเพนกวิน เปนหองระบบปด ที่มีกระจก เพื่อใหผูเขาชม ไดมองผานเขาไปได หองมีขนาดประมาณ 5x12 ตารางเมตร พื้นที่ในหองมีทั้งสวนที่เปนบก และ แหลงน้ํา ซึ่งเมื่อกักน้ําสูงสุดสวนที่ลึกที่สุดจะลึกประมาณ 2.8 เมตร มีการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ขนาด 25,000 บีทียูพรอมระบบฟอกอากาศจํานวน 3 ชุด ซึ่งจะทําใหมีการปรับอุณหภูมิภายในหอง

42

ใหเหมาะสมกับการอยูอาศัยของเพนกวิน ซึ่งภายในหองจําลองลักษณะสภาพแวดลอม เชน โขดหิน แหลงน้ํา เพื่อใหสภาพแวดลอมที่อาศัยของนกมีความใกลเคียงกับธรรมชาติมากที่สุดดังแสดงในภาพ ที่ 5 นอกจากนี้ยังเชื่อมกับหองกัก แตในการดําเนินชีวิตสวนใหญของเพนกวิ นจะอยูในหองแสดง สําหรับแสดง สวนหองกักในขณะนี้ไมคอยไดใชงาน เนื่องจากตองการใหนกเพนกวินผสมพันธุจึง ใหอยูแตในสวนแสดง ซึ่งมีการติดตั้งเครื่องปรับอากาศขนาด 12,000 บีทียู พรอมระบบฟอกอากาศ และพัดลมดูดอากาศไว เพื่อใหอากาศถายเทไดสะดวกดวย อยางไรก็ตาม ภายในหองยังตองประสบปญหาอยูบาง อันไดแก การสรางหินเทียมที่มี ความลาดชันสูง ทําใหไมสะดวกในการปน ปายของนก และการสรางหินเทียมจะทําใหทําความ สะอาดไดยาก เนื่องจากพื้นไมเรียบ และเมื่อนกถายมูลออกมาจะทําใหเกิดการขังของมูลในรองหิน เทียม ทําใหเกิดการสะสม หมักหมม และสงกลิ่นเหม็น ซึ่งการเปดพัดลมดูดอากาศเฉพาะในชวงทํา ความสะอาดพอชวยลดกลิ่นไดบาง หากเปดทั้งวันจะทําใหอากาศดี แตสิ้นเปลืองพลังงาน

ภาพที่ 5 ลักษณะภายในคอกแสดงนกเพนกวิน และการดํารงชีวิตภายในคอกแสดง

43

คอกนกเพนกวินมีการออกแบบใหสอดคลองกับหลักวิชาการ ที่นกตองการแหลงน้ําที่ลึก มากกวา 1 เมตร และมีพื้นที่พอเพียง เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบกับการศึกษาของ Michale K. Stoskopf and Suzanne Kennedy-Stoskopf (1986) แตอยางไรก็ตามการออกแบบยังไมไดคํานึงใหมีพื้นที่น้ํา เปน สองในสามสวนของพื้นที่ทั้งหมด 2. การจัดการคอก ในสวนของการจัดการคอกนั้นทําการศึกษาการบําบัดของเสีย การทําความสะอาดคอก รวมถึงการปฏิบัติงานในพื้นที่ ซึ่งสามารถแสดงผลการศึกษาไดดังตอไปนี้ 2.1 การบําบัดน้ําในแตละคอก ในพื้นที่แตละสวนมีการบําบัดของเสียที่สัตวปลดปลอย ออกมา ซึ่งมีทั้งการใชเทคโนโลยีในระดับสูง และระดับอยางงาย ดังนี้ 2.1.1 การบําบัดน้ําในคอกกักแมวน้ําใหญ ไมมีระบบบัดน้ําแตจะใชการเปลี่ยนน้ําทุก 3 วัน เนื่องจากวา น้ําในคอกกักใหญจะปนเปอนดวยมูลจําปริมาณมาก ในขณะที่เครื่องกรองน้ํา มี ขนาดเล็กและจะตันเมื่อผานน้ําเขาไป จึงประยุกตใชระบบทอและเครื่องสูบน้ําในกรณีที่สูบน้ําออก แทนการผานถังกรอง มีการเติมเกลือทะเลเพื่อปรับความเค็มของน้ํา ในการปลอยน้ําออกจะปลอย ออกสูบอเกรอะเพื่อรองรับน้ํากอนระบายทิ้ง 2.1.2 การบําบัดน้ําในคอกกักแมวน้ําเล็ก จะมีการเปลี่ยนน้ําทุก 2 วัน ไมมีการบําบัดน้ํา เนื่องจากเปนคอกที่มีลักษณะของของเสียเชนเดียวกันกับคอกกักใหญ ในการปลอยน้ําออกจะปลอย ออกสูบอเกรอะเพื่อรองรับน้ํากอนระบายทิ้ง 2.1.3 การบําบัดน้ําในบอแสดงแมวน้ํา มีระบบบําบัดที่ดี โดยมีระบบบําบัด จะดูดน้ํา จากบอ เขาสูต ะกรากรองกอนจากนั้น น้ําจะไหลเขาสูถังกรองซึ่งเปน ระบบการกรองดว ยทราย จากนั้นน้ําจะไหลเขาไปปรับอุณหภูมิของน้ําดวยชิลเลอร แลวผานระบบการเติมคลอรีนเพื่อฆาเชื้อ โรคและสาหราย จากนั้นเขาสูระบบการปรับพีเอช ใหอยูในชวง 7.4-7.6 จากนั้นน้ําก็จะถูกปลอย กลับเขาสูบอดังเดิม ซึ่งสามารถดูลักษณะของระบบบําบัดไดในภาคผนวก ข ซึ่งจะประมวลภาพการ วิจัยไว 2.1.3 การบําบัดน้ําในคอกแสดงนกเพนกวิน ในชวงแรกยังไมมีระบบการบําบัดใชการ ถายน้ําทิ้งอยางเดียว ทุก 3 วัน ในชวงป 2545 ไดทําการปรับปรุงระบบการบําบัดน้ําโดยเพิ่มถัง กรองขนาดเล็ก 1 ถัง และเพิ่มโอโซน ทําใหยืดการถายน้ําเปน 7 วัน โดยน้ําจากบอในสวนแสดง

44

เพนกวินจะถูกดูดไปผานตะกรากรองกอนแลวจึงไหลเขาสูถังกรองทราย จากนั้นจึงไหลเขาระบบ โอโซนเพื่อฆาเชื้อโรค แลวจึงไหลกับเขาสูบอเพนกวินดังเดิม ซึ่งสามารถดูลักษณะของระบบบําบัด ไดในภาคผนวก ข เชนกัน อยางไรก็ตามในการปลอยน้ําทิ้งจากคอกกักเล็ก คอกกักใหญและสวนคอกแสดงเพนกวินสู สิ่งแวดลอม โดยที่มิไดผานการบําบัดนั้นจะทําใหมีผลตอสิ่งแวดลอมภายนอก โดยเฉพาะอยางยิ่ง คุณ ภาพน้ําในบริเวณใกลเคียง ซึ่งจะสงกลิ่น เนาเหม็น และรบกวน ผลกระทบตอดิน ทั้งยังเปน ผลกระทบตอเนื่องถึงสัต วประเภทอื่น และการเกิดโรคได ดังนั้น ควรมีการบําบัดกอนที่จ ะปลอย ออกไป หรือสรางระบบบําบัดในสวนที่จะปลอยออกมาดวย ซึ่งหากมีการบําบัดที่ดีน้ําจะสามรถ นําไปหมุนเวียนใชใหมได หรืออาจใชในการทํารดน้ําตนไมได 2.2 การทําความสะอาดคอก ในแตละคอกจะมีพนักงานที่เปนทั้งผูเลี้ยง ครูฝก ดูแลพื้นที่ ที่จะคอยปฏิบัติหนาที่ของ ตนโดยมีตารางการปฏิบัติงานในวันปกติ ดังตอไปนี้ เวลา 08.00-08.15 08.15-09.00 09.00-09.30 09.30-09.45 09.45-10.00 10.00-11.00 10.30-11.00 14.00-14.30 14.30-15.00 15.00-15.30 15.30-16.30 16.30-16.40

การปฏิบัติงาน นับจํานวนสัตว กวาดทางเทา ถนน ลางคอกเพนกวิน ลางคอกแมวน้ํา เตรียมอาหาร หั่นปลา ทําความสะอาดสวนแสดง ดูดตะกอน ดูระบบเครื่องกรอง แสดงรอบแรก ฝกแมวน้ําชุดเล็ก โชวแมวน้ํารอบที่ 2 ฝกแมวน้ํารอบที่ 2 เปลี่ยนน้ํา ตกแตงสถานที่ภายนอก นับจํานวนสัตว สับเปลี่ยนแอร เปดไฟ สลับเครื่องกรอง

45

สําหรับในการทําความสะอาดคอกนั้นจะทําโดยเก็บมูลหรือเศษอาหารออก จากนั้นลาง บริเวณนั้นดวยน้ําที่มีแรงดัน ใชน้ํายาฆาเชื้อโรคราดที่พื้นซึ่งเปนระดับความเขมขนที่เหมาะสมรอ อยางนอย 10 นาที หรือขึ้นกับชนิดและความเขมขนของน้ํายาฆาเชื้อโรคแลวลางพื้นอีกครั้งดวยน้ํา สะอาด ซึ่งคนที่ทําความสะอาดตองระวังละอองของน้ําที่กระเด็นขึ้นมาตองใชผาปดจมูกใหเรียบรอย และในการเลือกน้ํายาฆาเชื้อโรค ตองคํานึงถึง ประสิทธิภาพในการฆ าเชื้อโรค พิษ ตกคาง การกัดกรอนวัสดุในคอก ราคา ความกวางขวางในการฆาชนิดของเชื้อโรค ความเขมขนที่ พอเหมาะในการใช สามารถใชไดอยางตอเนื่องโดยไมทําใหเชื้อโรคเกิดการดื้อยา ซึ่งการทําความ สะอาดนี้สอดคลองกับวิธีการของ Leslie A. Dierauf(1990) และนอกจากนี้สวนสัตวนครราชสีมามี สัตวแพทยคอยดูแลอยางสม่ําเสมอ จากรายละเอียดทําใหทราบถึงลักษณะการจัดการคอกซึ่งเจาหนาที่ไดมีการแบงงานกัน ทําอยางเปนระบบทําใหสัตวที่อยูในพื้นที่มีความคุนเคย และสามารถใชชีวิตอยูในคอกไดอยางปกติ 3. การใหอาหาร การใหอาหารจะทําโดยการเลือกซื้อปลาที่มีก ารควบคุมคุณ ภาพ ไดมาตรฐาน และเปน มาตรฐานเดียวกับนํามาใหคนกิน เก็บปลาสดในถุงพลาสติกที่มีปริมาณของอากาศนอย เก็บไวใน หองเย็นอุณหภูมิ -20- -30 องศาเซลเซียส ในขั้นตอนการเตรียมปลาเพื่อใหสัตวกิน ตองทําในชวง ที่ใกลกับการใหอาหารปลามากที่สุด โดยการละลายน้ําแข็งออกจากตัวปลา ทําการละลายน้ําแข็งใน น้ําเย็น โดยพนักงานจะละลายน้ําแข็งในกระติก เมื่อละลายจะทําความสะอาดปลาแลวจึงนําไปให สัตวกิน เมื่อสัตวกินอาหารเสร็จแลว จะทําการเก็บปลาที่สัตวไมกินแลวใหรีบเก็บภายใน 24 ชั่วโมง หลังการใหปลา ในการใหอาหารแมวน้ําจะใหอาหาร 30 กิโลกรัมตอวัน สําหรับแมวน้ํา 8 ตัว ที่ทางสวนสัตว มีอยู ซึ่งในการใหอาหารเมื่อละลายอาหารเสร็จแลวจะใหอาหารโดยแมวน้ําที่ยังไมผานการฝกจะให โดยโยนปลาทั้งตัวให สวนแมวน้ําที่ฝกแลวจะใหอาหารตามโปรแกรมการฝกโดยจะหั่นปลาเปน ทอ นก อ น ซึ่ งช ว งเวลาการให อาหารจะ มี 2 ช ว งคื อ เวลา 10.30 นาฬิ ก า และ 16.00 นาฬิ ก า นอกจากนี้ มีการใหวิตามินโดยการยัดไวในปลาที่จะใหดวย การใหอาหารเพนกวิน สวนสัตวมีนกเพนกวิน จํานวน 10 ตัว จะใหอาหารโดยการใหปลา ทั้งตัว วางใสถาด แลวนําไปไวในสวนแสดงนกเพนกวิน โดยปริมาณอาหาร 2.5 กิโลกรัมตอวัน มี

46

ระยะเวลาการใหอาหาร 2 ครั้ง คือ เวลา 10.30 นาฬิกา และ 15.00 นาฬิกา ซึ่งวิธีการเตรียมปลา ดัง แสดงในภาพที่ 6 ก-ช ตอไปนี้

ก.

ข.

ค.

ง.

จ.

ฉ.

ช.

ภาพที่ 6 การเตรียมปลาเพื่อใหอาหารแมวน้ําและเพนกวิน ก. ตูแชปลาในคลังอาหาร ข. ปลาแชแข็งกอนละลายน้ําแข็ง ค. การละลายน้ําแข็งในกระติกน้ําแข็ง ง. ปลาภายหลังแช ตัวบนปลาทูสําหรับแมวน้ํา ตัวลางปลาทูขางเหลืองสําหรับเพนกวิน จ. การหั่นปลาสําหรับฝกแมวน้ํา ฉ. วิตามินเสริม ช. การยัดวิตามินในปลากอนใหสัตวกิน

47

4. การฝกและการแสดง การฝกแมวน้ําทําไดโดยการใชวิธี บริช ใชอาหารเปนตัวกระตุนใหแมวน้ําทํางาน ซึ่งเปน วิธีการสื่อสารกับสัตวเลี้ยงลูกดวยนม จะเปนตัวบอกและควบคุมพฤติกรรมที่ถูกตองที่ผูฝกตองการ ใหสัตวทํา ซึ่งในวิธีการจะตองมีสัญญาณบอกวาสัตวทําถูกตองกอน จึงจะใหรางวัล จะไมใหเลยใน ขณะที่ทําถูก สัญญาณนี้จะเปนตัวถวงเวลาในชวงที่แมวน้ําแสดงพฤติกรรมและครูฝกใหอาหาร เรียก สัญญาณนี้วา สัญญาณบริช เพราะมันเปนตัวที่ทําใหแมวน้ําไดเรียนรูพฤติกรรม สัตวจะเรียนรู สัญญาณวาเมื่อมันทําถูกจะตองกลับไปหาครูฝกเพื่อรับรางวัล วิธีที่จะสอนใหสัตวเรียนรูสัญญาณนี้ กอนที่จะใหอาหารนั้น จะแนะนําใหสัตวไดรูถึงสัญญาณนั้น เชน เปานกหวีด หลังจากนั้นเวลาเราให สัญญาณกับสัตวเราจะใชสัญญาณควบไปดวย ในเวลาไมนานสัตวจะเริ่มเรียนรูวาเมื่อไดยินสัญญาณ นี้มันจะไดทําใหถูกตองและไดรับรางวัล การฝกใหสัตวมีพฤติกรรมใหม เริ่มจากการการใชมือฝกพฤติกรรมในระยะใกลๆ กอน จากนั้นเพิ่มระยะเปาหมายใหไกลออกไปโดยการใชไมตอแลวแขวนเปาหมายไว เริ่มโดยการแตะ เปาหมายบนสัตวเบาๆ หลังจากนั้นจากนั้นก็เปานกหวีดพรอมกับใหสัญญาณ และก็ใหรางวัล ทํา อยางนี้หลายๆ รอบ ขั้นตอไปถือเปาหมายใหหางไกลขึ้นแลวรอใหสัตวเขามาแตะเปาหมายพอถึง ชวงนี้แลวสัตวจะรูวาเมื่อมันมาแตะเปาหมายแลวจะไดรางวัล ดังนั้นมันจะเขามาแตะเปาหมาย แลว ครูฝกจึงเปานกหวีดทันทีแลวใหรางวัลกับสัตวทันที ฝกหลายหลายหน แลวคอยๆ เพิ่มระยะทาง สัตวก็จะปรับพฤติกรรมไปเรื่อย ๆ การฝกที่ซับซอนขึ้น เชน การฝกใหแมวน้ํากระโดด เริ่มจากการที่ครูฝกใชไมแตะที่ปลาย จมูกแลวเพิ่มความสูงขึ้นเรื่อยๆ เมื่อแมวน้ํากระโดดสูงขึ้น และสูงถึง 3 เมตร ใหนําลูกบอลไปแขวน ไว พอสิ้นสุดการฝกแลวแมวน้ําควรที่จะมายืนบนกอนหินขางครูฝกได การฝกตองอาศัยระยะเวลา และตองคอยปรับพฤติกรรมไปเรื่อย ๆ หากมีการผิดพลาดก็จะเริ่มจากขั้นตอนแรกใหม ในการแสดง สัตวจะตองมีการแสดงที่หลากหลาย เพราะฉะนั้น การฝกจึงจําเปนตองใหสัตวเรียนรูสัญญาณของ พฤติกรรมดวย ใหสัตวรูวาเมื่อเห็นสัญญาณที่ครูฝกแสดงออกและอาจใชอุปกรณชวยควบคูกันไป เมื่อสัตวจําได ก็จะแสดงพฤติกรรมและทาการแสดงที่ถูกตองออกมา และในการที่สัตวไมตอบโตจะ ไมบังคับหรือลงโทษสัตว จะเริ่มฝกใหมเชนกัน ดังแสดงภาพการฝกในภาพที่ 7

48

ภาพที่ 7 การฝกแมวน้ําของครูฝก สวนสัตวนครราชสีมา สวนการแสดงของแมวน้ํา ในการแสดงแมวน้ํา ที่ผานการฝกแลวของสวนสัตวนครราชสีมา ประกอบดวยแมวน้ํา 4 ตัว จากแมวน้ํา 8 ตัว ไดแก แมวน้ําชื่อ ฟาฟา แดง อวน และปุกกี้ ซึ่งในการ แสดงนั้นมีความยาวประมาณ 30 นาที ประกอบดวยการแสดง หลายรายการ อาทิเชน แมวน้ําเลี้ยง บอล โดยแมวน้ําชื่อฟาฟา โดยครูฝกจะโยนบอลลงน้ําแลวใหแมวน้ําไปเก็บลูกบอลแลวเลี้ยงลูกบอล มาสงใหครูฝก ทาเลี้ยงตะกรอ โดยแมวน้ําชื่อฟาฟา เชนกันโดยแมวน้ํายืนอยูที่แทนแลวครูฝกจะโยน ลูกตะกรอใหแมวน้ํารับและสงกลับมาใหครูฝก ทาหาของใตน้ําโดยแมวน้ําชื่ออวน ครูฝกจะโยนของ ลงไปในน้ําโดยกอนโยนจะแตะของที่จมูกแมวน้ํากอนแลวจึงโยนลงไปในน้ําใหแมวน้ําไปหาของมา ให ทาหามกินปลา โดยแมวน้ําชื่ออวน ครูฝกจะใหแมวน้ํานอนดูชิ้นปลาที่วางไวบนโขดหิน แตหาม กินจนกวาครูฝกจะสั่ง และทานี้ใหผูชมมีสวนรวมในการสั่งดวยการปรบมือ แตแมวน้ําจะไมกิน จนกวาครูฝกจะปรบมือ 1 ครั้ง ทาแขงเก็บบอลโดยแมวน้ําปุกกี้ อวนและฟาฟา โดยครูฝกจะโยนบอล ลงน้ําแลวใหทั้ง 3 ตัวลงไปเก็บบอลแขงกัน ทารับจานรอนของแมวน้ําชื่ออวน ครูฝกจะโยนจานรอน ใหแมวน้ํารับมาคืน ครู โดยจะรับทั้งบนบกและในน้ํา ทาเลี้ยงลูก บอลขามสิ่งกีด ขวาง ทาการเลน วอลเลยบอลกับครูฝก การรับหวง การกระโดดลอดหวง การยืนสองขาโดยใชครีบหาง ซึ่งการแสดง ตางๆ จะแสดงประกอบการบรรยายที่สรางบรรยากาศสนุกสนาน ทําใหผูชมไดรับความบันเทิงอยาง เต็มที่ ในการแสดงนั้นไดแสดงภาพการแสดงในภาพที่ 8 ในการเขาชมการแสดงแมวน้ํามีคาเขาชม ในราคาเด็ก คนละ 5 บาท ผูใหญคนละ 20 บาท

49

ภาพที่ 8 ตัวอยางการแสดงความสามารถของแมวน้ําในสวนสัตวนครราชสีมา

50

5. คุณภาพสิ่งแวดลอมในคอกแมวน้ําและเพนกวิน การศึกษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแบงออกเปน 2 ดานดวยกัน ได แกการศึกษาคุณภาพน้ํา และ การศึกษาลักษณะอากาศบางประการดังตอไปนี้ 5.1 คุณภาพน้ํา 5.1.1 คุณภาพน้ําในคอกกักแมวน้ําใหญ จากการศึกษาคุณภาพสิ่งแวดลอมในคอกกักแมวน้ําใหญโดยการศึกษาคุณภาพน้ํา พบวามีผลการศึกษาดังนี้ คุณภาพน้ํา พบวาน้ําในคอกกักแมวน้ําใหญมีคุณภาพน้ําที่ปลอยเข าคอนขางดี เนื่องจากเปนน้ําใหม ที่ยังไมมีกิจ กรรมใด ๆ ของแมวน้ํา แตภ ายหลังจากกักน้ําไวต ามระยะเวลา พบวาน้ํามีคาความสกปรกมากขึ้น โดยพบวาคามีคาไนโตรเจน-แอมโมเนีย คาแบคทีเรียโคลิฟอรม คาบีโอดี และคาความขุนของน้ําสูงขึ้นจนเกินคามาตรฐานของแหลงน้ําผิวดินประเภทน้ําทะเล คา ออกซิเจนละลายก็ลดต่ําลงมากจนแทบไมเหลืออยูเลย จึงทําใหคุณภาพน้ําในคอกกักมีคุณภาพต่ํา และอาจเปนอันตรายตอแมวน้ําได ดังแสดงคาคุณภาพน้ําในตารางที่ 1 ซึ่งจากตารางที่ 1 จะพบวาคาออกซิเจนละลายที่เหลืออยูมีคาเฉลี่ยเพียง 0.24 มิลลิกรัมตอลิตรเทานั้น ในขณะที่ปริมาณออกซิเจนละลายน้ําควรมีไมต่ํากวา 3 มิลลิกรัมตอลิตรจึง จะทําใหสิ่งมีชีวิตสามารถดํารงชีวิตอยูได อยางไรก็ตาม แมวน้ําเปนสัต วที่ไมไดใชชีวิตอยูในน้ํา ตลอดเวลา ดังนั้น การขาดออกซิเจนของน้ําจึงไมมีผลตอการหายใจ แตจะมีผลกับความสกปรกของ น้ําที่อาจทําใหเกิดความเปลี่ยนแปลงในดัชนีอื่นๆ เชน ปริมาณกาซ แบคทีเรีย เปนตน สําหรั บคา ไนโตรเจนในรูปของไนไตรท นั้น ไมเกิ น คามาตรฐาน เนื่อ งจาก กระบวนการที่แบคทีเรียนําไปใชประโยชน แตพบวามีปริมาณ ไนโตรเจน-แอมโมเนียที่สูงมาก ซึ่ง คาที่ควรพบกําหนดไวไมเกิน 0.05 มิลลิกรัมตอลิตร ในขณะที่คาเฉลี่ยของแอมโมเนียที่พบสูงถึง 17.69 มิลลิกรัมตอลิตร รูปแบบของแอมโมเนียที่เปนพิษตอสัตวน้ํา จะอยูในรูปที่ไมแตกตัว (NH3) ซึ่งสามารถในการแพรกระจายผานผนังเซลลไดดี เนื่องจากไมมีประจุไฟฟา และสามารถละลายได ดีในไขมันซึ่งเปนองคประกอบสวนหนึ่งของผนังเซลล สวนแอมโมเนียในรูปที่แตกตัวนั้น (NH+4) จะไมมีพิษตอสัตวน้ํา นอกจากจะมีความเขมขนสูงมากๆ

51

ขอควรระมัดระวังอีกประการสําหรับไนโตรเจนในน้ํา คือ หมั่นตรวจคาความ เปนกรด-ดางของน้ํา ไมใหน้ําเปนกรด เพราะจะทําใหเกิดพิษได ซึ่งเมื่อพิจารณาจากตารางที่ 1 แลว ถือวาน้ํา ยังมีคุณภาพดี เนื่องจากมีสภาวะคา pH ใกล 7 คือเปนดางออน และกรดออน ตารางที่ 1 คุณภาพน้ําในคอกกักแมวน้ําใหญ ดัชนี

รอบที่ 1

รอบที่ 2

รอบที่ 3

เฉลี่ย

น้ําเขา

น้ําออก

น้ําเขา

น้ําออก

น้ําเขา

น้ําออก

น้ําเขา

น้ําออก

อุณหภูมิ ( C)

28.20

24.80

27.10

24.10

28.00

24.10

27.77

24.33

ความเปนกรด-ดาง

6.92

8.49

6.77

7.77

6.51

8.24

6.73

8.17

ออกซิเจนละลาย 6.40 (มก./ล.) ความนําไฟฟา (ไมโคร 31900 ซีเมนต) ของแข็งละลายทั้งหมด >2000 (มก./ล.) ความเค็ม(ppt) 20.00

0.24

3.51

0.36

4.14

0.34

3.51

0.24

147400

172800

97600

93800

106100

99500

117030

>2000

>2000

>2000

>2000

>2000

>2000

>2000

35.00

126.60

140.00

68.80

70.00

71.80

81.67

บีโอดี(มก./ล.)

9.64

9.70

3.70

20.00

1.60

20.50

4.98

16.73

ไนไตรท(มก./ล.)

0.25

0.03

0.08

0.17

0.11

0.01

0.11

0.07

แอมโมเนีย(มก./ล.)

7.25

0.26

0.30

32.47

2.25

20.35

2.52

17.69

ความขุน (NTU) โคลิฟอรม แบคทีเรีย (MPN/100ml)

8.16 14000

1.44 490000

1.76 3300

9.89 49000

4.08 1100

12.30 4900

4.67 6133

7.88 181300

นอกจากนี้ปริมาณโคลิฟอรมแบคทีเรียที่พบในน้ํา พบวามีคาสูง ซึ่งเกิดจากการ ที่น้ํามีค วามสกปรก มีก ารปนเปอนของอุจจาระของสัตว และเศษอาหาร ซึ่งแบคทีเรียพวกนี้จ ะ กอใหเกิดโรค เชนโรคทองรวง โรคไขไทฟอยด และอหิวาตกโรค ฉะนั้นการมีโคลิฟอรมแบคทีเรีย สูงจึงเปนสิ่งไมดีตอสุขภาพสัตวดวย หากพิจารณาตามมาตรฐานน้ําทะเลแลวควรมีไมเกิน 20,000 เอ็มพีเอ็นตอ 100 มิลิลิตรในน้ําผิวดินที่มิใชทะเล และไมเกิน 1,000 เอ็มพีเอ็นตอ 100 มิลลิลิตรในน้ํา ทะเล (กรมอนามัย,2539) ดังนั้น ในการดูแลคอกตองมีการจัดการที่สะอาดมากขึ้น

52

5.1.2 คุณภาพน้ําในคอกกักแมวน้ําเล็ก จากการศึกษาคุณภาพสิ่งแวดลอมในคอกกักแมวน้ําเล็กโดยการศึกษาคุณภาพน้ํา พบวา ผลการศึกษาใกลเคียงกันกับคอกกักแมวน้ําใหญ ทั้งนี้เนื่องจากทั้ง 2 บริเวณมีกิจกรรมของ แมวน้ําที่คลายกัน แตอยางไรก็ตามในภาพรวมคอกกักแมวน้ําใหญมีแนวโนมความสกปรกที่สูงกวา ทั้งนี้อาจเปนเพราะในคอกกักใหญมีกิจกรรมมากวา เนื่องจากมีแมวน้ําอาศัยอยู ถึง 5 ตัว แตในคอก กักเล็กมีแมวน้ําเพียง 3 ตัวเทานั้น ดังไดแสดงขอมูลคุณภาพน้ําในตารางที่ 2 ตารางที่ 2 คุณภาพน้ําในคอกกักแมวน้ําเล็ก ดัชนี

รอบที่ 1

รอบที่ 2

รอบที่ 3

เฉลี่ย

น้ําเขา

น้ําออก

น้ําเขา

น้ําออก

น้ําเขา

น้ําออก

น้ําเขา

น้ําออก

อุณหภูมิ ( C)

27.30

-

28.10

23.10

28.20

22.30

27.87

22.70

ความเปนกรด-ดาง

6.28

-

6.04

8.12

6.48

8.25

6.27

8.19

ออกซิเจนละลาย 7.83 (มก./ล.) ความนําไฟฟา 20900 (ไมโครซีเมนต) ของแข็งละลายทั้งหมด >2000 (มก./ล.) ความเค็ม(ppt) 12.60

-

3.31

0.92

3.38

2.02

4.84

1.47

-

90100

91100

86300

90600

65770

90850

-

>2000

>2000

>2000

>2000

>2000

>2000

-

65.30

65.70

61.90

65.50

46.60

65.60

บีโอดี(มก./ล.)

0.78

-

3.90

18.80

3.30

11.83

2.66

15.32

ไนไตรท(มก./ล.)

0.04

-

0.01

0.20

0.00

0.24

0.02

0.22

แอมโมเนียม(มก./ล.)

4.85

-

0.42

4.02

0.00

20.31

1.76

12.16

ความขุน (NTU) โคลิฟอรม แบคทีเรีย (MPN/100ml)

5.56 16000

-

0.87 7900

31.70 23000

3.00 2300

8.43 11000

3.14 11633

20.07 17000

53

5.1.3 คุณภาพน้ําในสวนแสดงแมวน้ํา จากการศึกษาคุณภาพน้ําในสวนแสดงแมวน้ํา ซึ่งเปนสวนที่ประชาชนจะไดชม การแสดงและการปรากฏตัวของแมวน้ํา ดังนั้น บอน้ําจึงมีความจําเปนตองดูดีอยูเสมอ ทําใหน้ําใน บอนี้จะมีการบําบัดและหมุนเวียนอยูตลอดเวลา ซึ่งจากการตรวจสอบคุณภาพน้ํา พบวาน้ํามีคุณภาพ ดีมาก ทุก ดัชนีอยูในสภาวะปกติและไมเกินคามาตรฐานแหลงน้ําผิวดิน ยกเวนคาแอมโมเนียที่มี คาเฉลี่ยเทากับ 1.32 มิลลิกรัมตอลิตร นอกจากนี้ในคอกแสดงยังไดทําการตรวจสอบปริมาณคลอรีน เนื่องจากมีการเติมจากระบบบําบัดน้ําเสีย โดยคาที่พบมีคาเฉลี่ยเทากับ 0.11 มิลลิกรัมตอลิตร ซึ่งเปน ปริมาณที่สูง จากการศึกษาของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตลําปาง (มปป.) พบวาคลอรีน ในระดับความเขมขนประมาณ 0.2-0.5 มิลลิกรัมตอลิตร สามารถทําใหสัตวทดลองตายภายใน 48 ชั่ว โมง และถา อุณ หภูมิสู งขึ้น ความเปน พิษ ของคลอรีน ก็จ ะสูงขึ้น ด ว ย ดัง นั้น น้ําที่ จ ะนํามา เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา จึงไมควรหลงเหลือคลอรีนอยูเลย ถาหากมีก็ไมควรเกินกวา 0.01 มิลลิกรัมตอ ลิตร ซึ่งการกําจัดคลอรีนทําไดโดยพักน้ําไวซักระยะหนึ่ง และมีการใหอากาศ อยางไรก็ตาม แมวน้ํา อาจทนทานตอคลอรีนไดสูงกวานี้ เนื่องจากมิไดใชชีวิตในน้ําตลอดเวลา แตมีการใชในลักษณะของ สระวายน้ํา ซึ่งการใชคลอรีนในสระวายน้ํา โดยทั่วไปจะควบคุมไมใหสูงกวา 1.0 มิลลิกรัมตอลิตร ซึ่งถาสูงกวานี้จะเกิดการระคายเคืองตอผิงหนังและดวงตาได และสัตวที่อยูในน้ําอาจใชระดับที่สูง กวานี้ได เนื่องจากสามารถปรับตัวได ซึ่งในกรณีของสวนสัตวนครราชสีมาการมีคลอรีนในน้ํานั้น ยังไมเกินมาตรฐานของสระวายน้ํา แตเกินมาตรฐานของการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ดังนั้น จึงไมสงผลตอ แมวน้ํา อีกทั้งพื้นที่เปนลักษณะเปด มีลมพัดผาน การระเหยของคลอรีนในสระน้ําจึงเปนไปไดงาย ดังนั้น โดยสภาพพื้นที่ก็สามารถลดปริมาณคลอรีนไดในระดับหนึ่ง

54

ตารางที่ 3 คุณภาพน้ําในสวนแสดงแมวน้ํา ดัชนี

รอบที่ 1

รอบที่ 2

รอบที่ 3

เฉลี่ย

อุณหภูมิ ( C)

28.60

27.30

27.10

27.67

ความเปนกรด-ดาง

6.72

6.74

6.89

6.78

ออกซิเจนละลาย (มก./ล.)

9.97

6.84

5.82

7.54

ความนําไฟฟา (ไมโครซีเมนต)

10970

52000

49500

37490

ของแข็งละลายทั้งหมด (มก./ล.)

>2000

>2000

>2000

>2000

ความเค็ม(ppt)

6.30

34.30

32.50

24.37

บีโอดี(มก./ล.)

6.70

0.50

2.31

3.17

ไนไตรท(มก./ล.)

0.121

0.155

0.137

0.14

แอมโมเนียม(มก./ล.)

1.431

1.176

1.344

1.32

ความขุน (NTU)

0.78

0.50

0.43

0.57

โคลิฟอรม แบคทีเรีย (MPN/100ml)

>2

>2

>2

>2

คลอรีน (มก./ล.)

0.13

0.12

0.09

0.11

5.1.4 คุณภาพน้ําในคอกเพนกวิน สําหรับคอกเพนกวินนั้นเนื่องจากมีการขังน้ําเปนระยะเวลานานถึง 7 วันตอ รอบ การเปลี่ยนถายน้ํา จึงทําการเก็บตัวอยางขณะที่น้ําเขาในวั นแรก เมื่อระยะเวลาผานไปถึงชวงกลาง ของการกักเก็บคือในวันที่ 4 ของรอบ และวันที่ 7 ซึ่งเปนวันปลอยน้ําออก พบวา คุณภาพน้ําในบอ แสดงเพนกวินนั้นมีคาออกซิเจนในชวงแรกคอนขางสูง ทั้งนี้เนื่องจากการปลอยน้ําเขาไปจะปลอย ในลักษณะที่น้ํากระเซ็น ตกกระทบพื้น ทําใหปริมาณออกซิเจนในน้ําเพิ่มขึ้น ภายหลังจากกักน้ําไว แลว ออกซิเจนลดลงเหลือนอยตั้งแตใ นชว งวัน ที่ 4 ทั้งนี้เนื่องจากออกซิเจนในน้ําถูก ใชไปกับ กระบวนการยอยสลายสารอินทรียที่ปนเปอนมากับการใหอาหาร เศษอาหาร อีกทั้งน้ํายังเปนน้ํานิ่ง อยูภายใตหองปด ทําใหโอกาสการไดรับออกซิเจนลดลงดวย นอกจากนี้ในบอน้ําของคอกเพนกวิน ยังพบวามีปริมาณแอมโมเนียที่สูง ควร ไดรับการบําบัดออกไป เพราะอาจทําใหเกิดอันตรายตอสิ่งมีชีวิตได ซึ่งการทําความสะอาดพื้นคอก

55

โดยลางมูลบนบกอยางระมัดระวังมิใหไหลลงไปในสระน้ําก็มีสวนชวยในการลดความสกปรกได สวนในคาดัชนีคุณภาพน้ําดานอื่นยังถือวาอยูในภาวะที่ปกติ ดังแสดงรายละเอียดในตารางที่ 4 ตารางที่ 4 คุณภาพน้ําในสวนแสดงเพนกวิน ดัชนี

รอบที่ 1

รอบที่ 2

รอบที่ 3

เฉลี่ย

น้ําเขา กลาง น้ําออก น้ําเขา กลาง น้ําออก น้ําเขา กลาง น้ําออก น้ําเขา กลาง น้ําออก อุณหภูมิ ( C) ความเปนกรด-ดาง ออกซิเจนละลาย (มก./ล.) ความนําไฟฟา (ไมโครซีเมนต) ของแข็งละลายทั้งหมด (มก./ล.) ความเค็ม (ppt) บีโอดี(มก./ล.) ไนไตรท(มก./ล.) แอมโมเนียม(มก./ล.) ความขุน (NTU) โคลิฟอรม แบคทีเรีย (MPN/100ml)

28.40 6.50 6.33

25.60 7.00 1.39

24.30 7.67 1.17

27.50 7.06 5.68

25.00 6.98 1.32

24.10 7.51 0.64

27.80 6.56 4.53

25.30 7.19 1.60

27.00 27.90 7.13 6.71 0.91 5.51

25.30 7.06 1.44

25.13 7.44 0.91

2630 15520 23000 16740 22000 28000 16960 21000 18970 12110 19507 23323 264.0 >2000 >2000 1664.0 >2000 >2000 1685.0 >2000 1895.0 1204.3 0.70 1.00 0.052 0.703 0.68 11000

0.70 1.44 0.320 1.926 0.91 -

1.10 2.20 0.035 3.930 0.58 8000

0.80 1.60 0.238 1.505 0.84 2300

1.10 2.70 0.330 5.227 1.40 -

1.40 7.20 0.236 9.577 1.54 8000

0.80 2.00 0.063 0.505 0.49

1.10 4.20 0.200 3.818 0.98

800

-

0.90 5.00 0.153 5.423 1.64 14000

-

-

0.77 1.53 0.12 0.90 0.67

0.97 2.78 0.28 3.66 1.10

1.13 4.80 0.14 6.31 1.25

4700

-

10000

อยางไรก็ตามจากผลการศึกษาของทั้ง 4 บริเวณ คือ คอกกักใหญ คอกกักเล็ก สวนแสดง แมวน้ํา และสวนแสดงเพนกวิน พบวาคาความนําไฟฟามีคาสูง ซึ่งมีผลทําใหคาของแข็งละลายมีคา สูงตามไปดวย ซึ่งคาความนําไฟฟามีความสัมพันธกับปริมาณความเขมขนของของแข็งทั้งหมดที่ ละลายน้ํา (TDS) รวมทั้งความเค็มของน้ําดวย การวัดคาความนําไฟฟาเปนการวัดความสามารถของ น้ําที่จะใหกระแสไฟฟาไหลผาน คุณสมบัติขอนี้ขึ้นอยูกับความเขมขนของอิออนที่มีอยูในน้ํา และ อุณหภูมิที่ทําการวัด สารตางๆ ที่ใหอิออนแกน้ํา ไดแก สารประกอบอนินทรีย เชน กรดอนินทรีย เกลือและดาง ความนําไฟฟาไมไดเปนคาเฉพาะอิออนตัวใดตัวหนึ่งแตเปนคารวมของอิออนทั้งหมดในน้ํา คานี้ไมไดบอกใหทราบถึงชนิดของสารในน้ํา บอกแตเพียงวามีการเพิ่มหรือลดของอิออนที่ละลาย น้ําเทานั้น กลาวคือ ถาคาความนําไฟฟาเพิ่มขึ้นแสดงวาสารที่แตกตัวในน้ําเพิ่มขึ้น หรือคาความนํา

56

ไฟฟาในน้ําลดลงแสดงวาสารที่แตกตัวไดในน้ําลดลง(สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตลําปาง ,มปป.) นอกจากนี้ น้ําที่แมวน้ําและเพนกวินใชประโยชนยังมีการเติมเกลือเพื่อใหมีความสอดคลอง หรือเปนการเลียนแบบสภาพแวดลอมที่ใหคลายพื้นที่ธรรมชาติ คือทําใหน้ํามีความเค็มดวย ความ เค็มที่วัดไดนั้นเทียบเทากับความเค็มของน้ําทะเล ยกเวนในสวนคอกเพนกวินเทานั้นที่น้ํามีความเค็ม ต่ํา จึงควรพิจารณาเพิ่มปริมาณเกลือลงไปอีก เพื่อใหใกลเคียงธรรมชาติ ทั้งนี้การเติมเกลือลงไปทํา ใหน้ํามีความเค็มจะชวยทําใหสัตวมีสุขภาพดี และลดอาการตาฝาของแมวน้ําดวย นอกจากการเติม เกลื อ ลงในน้ํ า แล ว ทางสวนสั ต ว ยั ง มี ก ารใส เ กลื อ ลงไปในอาหาร เพื่ อ ให สั ต ว ยั ง คงอยู ใ น สภาพแวดลอมที่ใกลเคียงเดิม 5.2 ลักษณะอากาศ นอกจากการตรวจวัดคุณภาพน้ําแลวยังไดทําการศึกษาลักษณะอากาศบางประการใน พื้นที่ทั้ง 4 สวน โดยการตรวจวัดเปนระยะเวลาติดตอกัน จํานวน 40 วัน ซึ่งพบวามีผลการศึกษา ดัง ตารางที่ 5 ซึ่งจากตารางจะเห็นวา อุณหภูมิของสวนที่เปนคอกกักแมวน้ําทั้งสองแหงมีอุณหภูมิที่ไม สูงนัก โดยมีคาเฉลี่ยที่ 24.8 และ 23.9 องศาเซลเซียส มีความชื้นคอนขางสูง แตมีแสงนอย ทั้งนี้ เนื่องจากเปนพื้นที่ที่อยูในหอง อยางไรก็ตามการที่มีความชื้นคอนขางสูงตองมีการระบายอากาศใหดี มิเชน นั้นอาจทําใหเกิด เชื้อราในพื้นที่ได สําหรับในพื้น ที่สวนแสดงแมวน้ํา อุณหภูมิคอนขางสูง ทั้งนี้ เนื่องจากที่บริเวณดังกลาวเปนพื้นที่คอนขางเปดโลงทําใหไดรับแสดงและอุณหภูมิเต็มที่ สวน พื้นที่ในคอกแสดงเพนกวินนั้นเนื่องจากมีการติดตั้งเครื่องปรับอากาศทําใหอากาศคอนขางคงที่ และ มีค วามชื้น นอยกวาพื้น ที่อื่น เพราะมีก ารระบายอากาศและติด ตั้งเครื่องฟอกอากาศทําใหมีก าร หมุนเวียนภายในหองดี แตอยางไรก็ตามเนื่องจากการเปนหองทําใหไดรับแสงนอยจึงมีคาของแสง สวางที่ต่ําดวย เชนกัน

57

ตารางที่ 5 ลักษณะของอากาศบางประการในคอกกักแมวน้ําใหญ คอกกักแมวน้ําเล็ก สวนแสดง แมวน้ํา และสวนแสดงเพนกวินที่ตรวจวัดในชวงเวลา 40 วัน บริเวณ คอกกักแมวน้ําใหญ คอกกักแมวน้ําเล็ก สวนแสดงแมวน้ํา สวนแสดงเพนกวิน

อุณหภูมิ ( C) ต่ําสุด สูงสุด เฉลี่ย 22 27 24.8 21 26 22

27 38 25

23.9 31.5 23.9

ความชื้น(%)

แสงสวาง

ต่ําสุด สูงสุด เฉลี่ย ต่ําสุด สูงสุด เฉลี่ย 67 95 76.92 3 7 3.6 53 60 51

92 95 91

75.38 82.05 68.64

3 44 3

7 1265 9

3.7 515.4 6.2

ดังนั้น จากผลการศึกษาจะพบวาในหองมีขอควรปรับปรุง คือ หองคอนขางมืด ซึ่งอาจ มีผลตอการดํารงชีวิตของสัตว โดยเฉพาะอยางยิ่งเพนกวินซึ่งใชชีวิตอยูในบริเวณนั้นตลอดเวลา จึง ควรมีการคํานึงถึงปริมาณแสงที่เหมาะสมดวย แตอยางไรก็ตามนกเพนกวินที่สวนสัตวก็ยังมีสุขภาพ รางกายแข็งแรง ทั้งยังมีพฤติกรรมการจับคูผสมพันธุ ซึ่งแสดงถึ งการใชชีวิตตามปกติของนก อาจ สันนิษฐานไดวา ภาวะแสงนอยยังไมมีผลตอนก 6. ปญหาและอุปสรรคจากการจัดการ จากการศึกษานอกจากทั้ง 5 ดานที่ไดรายงานมา ยังพบวาในการดําเนินการตองประสบ ปญหาหลายประการอันเนื่องมาจากการกอสรางที่เพิ่มเติมขึ้นภาพหลัง การออกแบบที่ตองการให คลายธรรมชาติ แตขาดความสะดวกในการทํางาน การที่ระบบไมทํางาน ดังจะไดกลาวตอไปนี้ 6.1 ปญหาจากการไมมีผูเชี่ยวชาญดูแลระบบบําบัดอยางตอเนื่อง จึงทําใหระบบบางสวนใช การไมได เชน บอเกรอะ ถังกรองทราย เมื่อเกิดปญหาจากการเปลี่ยนทราย การอุดตัน ซึ่งเมื่อปรับ ระบบการกรองใหม หากขาดผูชํานาญ หรือมีความรูเพียงพอ ก็ทําใหระบบที่ออกแบบมาเปนการสูญ เปลา 6.2 ปญหาการกอสรางเพิ่มเติม เปนอุปสรรคตอการทําความสะอาด และทําใหการทําความ สะอาดเปนไปไดยากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในสวนของกระจกที่สวนแสดงแมวน้ํา การเกิดรอยคราบบน กระจกเกิดจาก คราบน้ําที่กระเด็นขึ้นมา การแกไขตองลงไปขัดดวยแปรงพลาสติก ซึ่งเดิมยืนขอบ บนแลวใชแปรงดามยาวขัดลงมา เมื่อมีการสรางอัฒจรรยเพิ่ม ทําใหโครงสรางมีการเปลี่ยนแปลง ยืนบนผนังปูนเหนือกระจกไมได ตอนนี้ถาจะทําความสะอาดตองลงในน้ําอยางเดียว ใช หวงยาง

58

ไมได เมื่อออกแรงขัดหวงยางจะหนีออกจากกระจก ตองใชคนลงไปในน้ําแลวจับที่หัวนอต เปลือง แรงงานมากกวางานจะเสร็จ ดังนั้น การออกแบบตองมองถึงการทํางานใหสะดวก 6.3 ปญหาจากการรั่ว ซึมของโครงสรา ง เช น ที่ร อยตอ ของกระจก บริเ วณสว นแสดง เพนกวินและแมวน้ํา ซึ่งทําใหมีผลตอปริมาณน้ําภายใน การปนเปอน และทัศนียภาพที่ไมสวยงาม 6.4 ปญหาที่ตองประสบอีกประการก็คือการมีโครงสรางที่แมจะไมมีผลตอการดํารงชีวิต ของแมวน้ํา ก็เปนอุปสรรคตอการแสดง เชน การที่บริเวณของบอแสดงมีกอนหินเทียม ทําใหทัศนะ การชม ไมชัดเจน บดบังผูชมที่เขาชมการแสดงแมวน้ํา หรือการที่อัฒจรรยแคบเกินไป เทาของผูชม ดานบนชิดกับผูที่นั่งดานลาง เปนตน ซึ่งจากการศึกษาทั้งหมดที่ไดกลาวมานั้น ผูวิจัยไดนําเสนอภาพและขอมูลการนําเสนอไวใน ภาคผนวก ข เพื่อใหผูที่สนใจไดเห็นภาพชัดเจน ยิ่งขึ้น

59

สรุปและขอเสนอแนะ จากผลการศึกษาทั้งลัก ษณะทั่วไป การจัดการคอก การใหอาหาร การฝกและแสดง และ คุณภาพสิ่งแวดลอม จะพบวาทุกดานมีความสัมพันธซึ่งกันและกัน และสามารถสรุปผลการศึกษาได ดังนี้ ลักษณะทั่วไปของพื้นที่อาคารแสดงแมวน้ําและเพนกวิน ประกอบดวย 4 สวน ดวยกัน คือ พื้นที่คอกกักเล็ก พื้นที่คอกกักใหญ พื้นที่สวนแสดงแมวน้ํา และพื้นที่สวนของคอกเพนกวิน ซึ่งใน การชมเพนกวินผูชมสามารถชมไดตลอดเวลา ในพื้นที่ สวนคอกเพนกวินที่เปนหองกระจก ภายใน จําลองสภาพภูมิประเทศพื้นน้ํา และพื้นบก ใหคลายกับธรรมชาติ และมีการปรับสภาพอากาศใหเย็น เหมาะสมกับการดํารงชีวิตของนกได สําหรับการชมแมวน้ําผูชมปกติจะไดเห็นเมื่อแมวน้ํามีการ แสดงในสวนแสดงแมวน้ํา โดยวันปกติจะมีการแสดงวันละ 2 รอบ วันหยุดจะมีการแสดงวันละ 4 รอบ มีคาธรรมเนียมในการชม สําหรับผูใหญ คนละ 20 บาท เด็กคนละ 5 บาท หรือมองผานหอง กระจกดานลางของสวนแสดง โดยไมตองเสียคาใชจาย แตจะไมไดชมการแสดง สวนในคอกกัก ใหญและคอกกักเล็ก เปนที่อยูอาศัยของแมวน้ํา โดยคอกกักใหญมีแมวน้ํา 5 ตัว คอกกักเล็ก 3 ตัว ในขณะที่ไมไดแสดง แมวน้ํา จะใชชีวิตสวนใหญในคอกกัก ดานการจัดการคอกของแมวน้ํา และเพนกวินนั้น มีการจัดระบบบําบัดน้ําเสียที่ดีในสว น แสดงแมวน้ํา สวนในคอกกักทั้ง 2 หอง และสวนคอกนกเพนกวินยังไมดีเทาที่ควร เนื่องจากขาด ผูเชี่ยวชาญดูแลระบบ ทําใหระบบทํางานไมเต็มที่ อยางไรก็ตามถือวาทําไดมีประสิทธิภาพในระดับ หนึ่ง เนื่องจากสอดคลองกับหลักวิชาการ สวนการออกแบบคอก การเลือกใชวัสดุตางๆ การจัดสวน ใหแมวน้ําและเพนกวินอยูน ั้นมีความเหมาะสม เนื่องจากไดพิจารณาใชวัสดุอุปกรณที่ไมเกิดอันตราย ตอสัตว เชน การปูพื้นดว ยกระเบื้องโมเสคแกว เพื่อลดการระคายเคืองผิว การออกแบบใหมีพื้น ที่ ขนาดเหมาะสม เปนตน แตอยางไรก็ตามก็ยังมีโครงสรางบางสวนที่ไมสะดวกตอการปฏิบัติงาน ทําความสะอาด เนื่องจากการตอเติมในภายหลัง เชน กระจกของสวนแสดงแมวน้ํา เปนตน การใหอาหารแมวน้ําและเพนกวินมีการใหอาหาร แมวน้ําเปนปลาทู วันละ 30 กิโลกรัม ตอ แมวน้ํา 8 ตัวโดยแมวน้ําที่ยังไมฝกจะใหทั้งตัว สวนแมวน้ําที่ฝกแลวจะหั่น เพื่อใหตามโปรแกรมการ ฝก สวนเพนกวินจะใหปลาทูขางเหลือง วันละประมาณ 2.5 กิโลกรัม ตอนกเพนกวิน 10 ตัวโดยจะ วางปลาทั้งตัวไวในถาดใหนกมากินเอง โดยปลาที่ใหเปนปลาสดแชแข็ง นอกจากนี้มีการใหวิตามิน เพื่อบํารุงสัตว โดยการยัดไวในอาหารดวย

60

การฝกและการแสดงแมวน้ํา สําหรับการฝกแมวน้ําใชการฝกที่เรียกวา บริช โดยใชอาหาร เปนตัวกระตุนใหแมวน้ําทํางาน ซึ่งเปนวิธีการสื่อสารกับสัตวเลี้ยงลูกดวยนม จะเปนตัวบอกและ ควบคุมพฤติกรรมที่ถูกตองที่ผูฝกตองการใหสัตวทํา ซึ่งในวิธีการจะตองมีสัญญาณบอกวาสัตวทํา ถูกตองกอน จึงจะใหรางวัล และเมื่อควบคุมทางายๆ ที่ใหฝกได ก็จะเพิ่มความยากและสลับซับซอน ขึ้น ซึ่งในขณะนี้สวนสัตวนครราชสีมามีครูฝกที่สามารถฝกแมวน้ําเองได สวนการแสดงของแมวน้ํา ในการแสดงแมวน้ํา ที่ผานการฝกแลวของสวนสัตวนครราชสีมาประกอบดวยแมวน้ํา 4 ตัว ไดแก แมวน้ําชื่อ ฟาฟา แดง อวน และปุกกี้ ซึ่งในการแสดงนั้นมีความยาวประมาณ 30 นาที วันธรรมดา แสดงวันละ 2 รอบ วันหยุด แสดงวันละ 4 รอบ ในดานคุณภาพสิ่งแวดลอมยังไมไดมาตรฐานนัก ซึ่งพบวาคุณภาพน้ํายังไมไดมาตรฐาน โดยคุณภาพน้ําพื้นที่คอกกักแมวน้ําใหญ เปนคอกที่มีคุณภาพน้ําต่ําที่สุด พื้นที่รองลงมาเปนคอกกัก แมวน้ําเล็ก ถัดมาเปนคอกแสดงเพนกวิน ซึ่งน้ําทั้ง 3 บอตองมีการปรับปรุงคุณภาพน้ํา ในเกือบทุก ดาน ดังนั้น ควรพิจารณาการปรับปรุงระบบบําบัดที่มีอยูใหมีประสิทธิภาพ และเพิ่มระบบบัดเขาไป เพื่อชว ยในสว นของระบบที่มีอยูแลวบําบัดไมได สวนในพื้นที่สว นแสดงแมวน้ําเนื่องจากมีการ บําบัด น้ําที่มีประสิทธิภ าพหมุน เวียนตลอดเวลา จึงทําใหน้ํามีคุณ ภาพดีมาก แตตองมีก ารกําจัด คลอรีน ที่ตกคางอยูเนื่องจากมีปริมาณสูงเกินไป สําหรับลักษณะอากาศ พบวาอุณหภูมิและความชื้นอยูในภาวะปกติ แตปริมาณแสงในหองที่ เปนคอกกักแมวน้ําใหญ และคอกกักแมวน้ําเล็ก และสวนแสดงเพนกวินนั้นคอนขางมือ ควรมีการจัด แสงสวางใหพอเพียง สําหรับในการจัดการทุกดานนั้น หากมีการจัดการที่ดี ก็จะทําใหปจจัยอื่นดีตามไปดวยโดย จากการศึกษาจึงมีขอเสนอแนะในแนวทางการจัดการดังตอไปนี้ 1. มีขอเสนอแนะในการปรับเปลี่ยนการใหอาหารจากที่เคยใหสัตวกินในน้ํามากินบนบก และการทําความสะอาดอยางดีกอนจะทําใหคุณภาพน้ําดีขึ้น 2. การกวาดเศษอาหารที่ตกคางจะทําใหลดเศษสิ่งตกคางบนพื้นที่ลง พรอมทั้งชวยลดการ ทํางานของจุลินทรีย อัน ทําใหมีสิ่งที่เกิดผลดีต ามมาคือการที่ออกซิเจนจะเหลืออยูในน้ํามากขึ้น เนื่องจากกิจกรรมการยอยสลายของจุลินทรียลดลง ดังนั้น ควรเก็บเศษอาหารใหเร็วยิ่งขึ้น โดยเฉพาะ อยางยิ่งในพื้นที่เขตโซนรอน เชนในประเทศไทย จุลินทรียจะทํางานไดเร็วมาก เนื่องจากอุณหภูมิ เหมาะสม เพราะฉะนั้น การเนาของซากสัตวจะเปนไปอยางรวดเร็ว จึงตองรีบเก็บเศษอาหารกอนที่

61

จะเนา นอกจากนี้การลางทําความสะอาดพื้นผิว ตองระมัดระวังอยาใหน้ําชะสิ่งปฏิกูลลงในสระน้ํา ก็จะชวยลดการปนเปอนได 3. หากมีก ารเติมอากาศลงในน้ําที่บอน้ําในคอกกัก ใหญ กัก เล็ก และเพนกวิน จะทําให คุณภาพน้ําดีขึ้น ซึ่งการเติมอากาศอาจทําไดดวยวิธีการอยางงาย เชน การนํากังหันน้ําขนาดเล็กเขาไป ใช หรือสูบน้ําใหหมุนเวียนน้ําออกมารับออกซิเจนแลวปลอยใหไหลยอนกลับเขาไปใหม ทั้งยังชวย ลดปริมาณกาซที่เปนพิษในน้ําไดดวย หรือพิจารณาเพิม่ ระบบบําบัดเขาไป แตอยางไรก็ตาม การเพิ่ม ระบบบําบัดเขาไปตองศึกษารายละเอียดอีกครั้ง เพื่อหาระบบที่เหมาะสมที่สุด และตองใชผูที่มีความ ชํานาญดวย 4. ในบอน้ําของสวนแสดงแมวน้ํา มีปริมาณคลอรีนสูง ซึ่งมีผลตอสุขภาพตาของแมวน้ํา กอนที่แมวน้ําจะมีการแสดงควรพักน้ําไวซักระยะหนึ่ง และมีการใหอากาศเพื่อลดปริมาณคลอรีน หรือควรเติมอากาศเพื่อเรงการระเหยได ทั้งในการเติมคลอรีนเพื่อบําบัดน้ํา ควรเติมในปริมาณที่ เหมาะสมดวยเพื่อไมใหมีเหลือตกคางมากเกินไป 5. และเนื่องจากระบบระบายอากาศในคอกกักแมวน้ําทั้งคอกกักเล็กและใหญ ไมคอยดีนัก จึงควรจัดระบบระบายอากาศใหดี เพื่อปองกันปญหาการเกิดเชื้อรา การสะสมของเชื้อโรคและ จะ ชวยใหภายในหองไมมีกลิ่นเหม็น และปองกันกาซบางชนิดที่เปนอันตรายตอสุขภาพสัตวและคนได 6. ควรมีการสงเสริมความรูเกี่ยวกับระบบบําบัดน้ําเสียใหพนักงานใหมากยิ่งขึ้น ทั้ งนี้ถา เปนไปไดควรจัดพนักงานที่มีความชํานาญเฉพาะดานไว 7. หากจําเปน ตองมีการกอสรางเพิ่มเติม ควรคํานึงถึงการจัดการระบบเดิม มีการติดตาม ตรวจสอบ ปรับปรุงพื้ น ที่อย างสม่ํ าเสมอ และในสว นที่ ชํารุ ด ควรมีก ารแกไ ขเพื่อ สว นแสดงมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึน้ ควรมีที่ปรึกษาดานวิศวกรรมสิ่งแวดลอมมาชวยดูแลระบบบําบัด หากทาง สวนสัตวไมมีผูเชี่ยวชาญดานนี้โดยตรง

62

เอกสารอางอิง กรมอนามัย. 2539. คูมือการตรวจวิเคราะหคุณภาพสิ่งแวดลอม. กระทรวงสาธารณสุข, กรุงเทพฯ. 363 น. เกรียงศักดิ์ อุดมสินโรจน. 2542. การบําบัดน้ําเสีย ( WATER TREATMENT ). หจก.สยามสเตชัน นารี ซัพพลายจํากัด, กรุงเทพฯ. ชาญยุทธ คงภิรมยชื่น. 2533. คูมือปฏิบัติการคุณภาพน้ําทางการประมง. คณะเกสตรศาสตรบางพระ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, ชลบุร.ี 85 น. ไมตรี ดวงสวัสดิ์ และจารุวรรณ สมศิร.ิ 2528. คุณสมบัติของน้ําและวิธีวิเคราะหสําหรับการวิจัย ทางการประมง. ฝายวิจัยสิ่งแวดลอมสัตวน้ํา สถาบันประมงน้ําจืดแหงชาติ, กรุงเทพฯ. 115 หนา . สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตลําปาง. มปป. คุณภาพน้ําทางการประมง. แผนกประมง สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, ลําปาง. 87 น. แบบงานกอสรางสวนแสดงแมวน้ําเพนกวิน โดย อ.วีรพันธ ไพศาลนันท บ.พีแอลดีไซน Daryl J Boness . 1996. Wild Mammals in Captivity, Chapter 23, Water Quality in Aquatic Mammals Exhibits. University of Chicago Press, USA. P 231-240. J.R. Geraci.1986. Marine Mammals (Cetacea, Pinnipedia, and Sirenia ), chapter 47 Zoo and Wild Animals Medicine, 2 edition, W.B. Saunder company, Philadelphia. P 750-797. J.D. Skinner and RHN Smithers. 1990. Cape Fur Seal, The Mammals of The South African Subregion. The University of Pretoria, Republic of South Africa. P 523-526. Leslie A. Dierauf. 1990. CRC Handbook of Marine Mammal Medicine: Health, Disease, and Rehabilitation. Boca Ratom, Fla. CRC Press. 735 p. Michael K. Stoskopf and Suzanne Kennedy-Stoskopf. 1986. Aquatic Bird, chapter 23, Zoo and Wild Animals Medicine. 2 edition. W.B. Saunder company, Philadelphia. P 294-309

63

www.chiamaizoo.com www.koratsoo.or.th www.south African and Australia fur seal.com www.zoothailand.org

64

ภาคผนวก

65

ภาคผนวก ก แบบอาคารแสดงแมวน้ํา

66

67

68

69

70

71

ภาคผนวก ข ประมวลภาพงานวิจยั

72

73

74

75

76

77

78

79

80

81

82

Related Documents