Zoo Animal Management[1]

  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Zoo Animal Management[1] as PDF for free.

More details

  • Words: 12,089
  • Pages: 135
1

การจัดการสัตวในสวนสัตว แปลจาก ANIMAL MANAGEMENT , Volume 1 , NATIONAL EXTENTION COLLEGE CAMBRIDGE A course for people who look after animals in zoos, wildlife parks, wildlife collections, dolphinaria and aquaria.

โดย. น.สพ. วิชิต กองคํา แผนกบํารุงรักษาสัตว สวนสัตวนครราชสีมา องคการสวนสัตว ในพระบรมราชูปถัมป การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

2

คํานํา ผมเริ่มทํางานในองคการสวนสัตว ในพระบรมราชูปถัมภ สังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ ม เมื่อวัน ที่ 1 เมษายน 2537 ซึ่งตอนนั้นยังสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี เริ่ม งานครั้งแรกที่ สวนสัตวดุสิต โดยชวงนั้น น.สพ. อลงกรณ มหรรณพ เปนผูอํานวยการสวนสัตว เปนเวลา 6 เดือ น กอนที่จะไดไปทํางานที่สวนสัตวนครราชสีมา เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2537 ซึ่งชวงเวลาที่ผ มทํางานอยูในชวง การทํางานของ ผูอํานวยการ 2 ทานคือ ผอ. ประยุทธ นาวาเจริญและ ผอ.นาวาอากาศโท กระวี กรีธาพล รวมเวลาเกือบ 10 ปจนกระทั่งถึงวันที่ 3 กันยายน 2547 ผมก็ยายมาปฏิบัติงานที่สวนสัตวสงขลา ซึ่งมี ผอ. บัญญัติ อินทรสุวรรณ เปนผูอํานวยการสวนสัตว วันที่ผมเขียนคํานํานี้เปนวันที่ 12 มีนาคม 2548 ผมไดสําเนาหนังสือจาก อ.พรชัย สัญฐิติเสรี คณะสัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ที่สําเนาเอกสารจากสวนสัตวเปดเขาเขียวชื่อหนังสือ ANIMAL MANAGEMENT มี 129 หนา เปน หนังสือ ที่เขียนในประเทศอังกฤษ โดยหนวยงานที่ทํางานเกี่ยวกับสวนสัตวหลายแหงชว ยกัน จั ดทํา เปน หนังสือ ที่เขียนตั้งแตป คศ 1980 หรือป พ.ศ. 2533 พิมพม าแลว 14 ป แตเนื้อหายังทันสมัยอยู อาจจะมี เนื้อหาเรื่อง อาหารที่ตองหาอานเพิ่มเติมจากนี้ สวนเรื่องอื่นยังเปนเนื้อหาที่ยังเปนแนวในการปฏิบัติงานได ผมใชเวลากับงานแปลนี้เปนเวลา 1 ป ก็เปนเสร็จ เปนรูปเลมออกมา ไมไดทํางานอยางตอเนื่อง อะไร หยุดพักเมื่อมีงานอื่นๆเขามาสอดแทรก เปนงานฉบับแรกที่ผมเข็นออกมาได ผมหวังกับตัวเองวางาน ชิ้นนี้จะเปนกําลังใจใหผมทํางานแบบนี้ตอไป เพราะเปนการแสดงวาเราเข็นออกมาไดดว ยตัว เราคนเดียวซึ่ง เหงาจัง ผมแอบฝนในใจวาทุกสิ้นป ผมจะสามารถรวมผลงานการแปลในปนั้น ๆ ไดเปน จํานวนหนาที่หนา พอสมควรเมื่อ วางอยูบนชั้น หนั งสือ แล ว หนัง สือจะไมโดนหนัง สือ เลม อื่น บังจนหมด งานแปลชิ้ นนี้ มี ขอผิดพลาดอยูพอสมควร เนื่อ งจากความจํากัดในเรื่องของภาษาของผูแปลเอง ในการทํางานครั้งนี้ถือ เปน ครั้งที่ 1 ของหนังสือการจัดการสัตวในสวนสัตว ถามีโอกาสเวียนมาทําอีก มีขอมูลจากแหลงอื่นๆ ใน เนื้อหาเดียวกัน จะกลับมาเพิ่มขอมูลขึ้นมาอีกถาขอ มูลสว นไหนที่ผิดพลาดก็จะมีการเอาออกในการแกไข งานครั้งตอไป งานแปลนี้คงเปนประโยชนกับผูที่เขาทํางานสวนสัตวใหม ๆ โดยเฉพาะแผนกบํารุงรักษา สัตว ของสวนสัต วตางๆ ที่กรุณาเอางานนี้ ไปอาน ความลึกซึ้งของเนื้อหาก็ เปน เพียงเนื้อ หาในระดั บ เบื้องตนเทานั้น สวนความลึกซึ้งตองผานเหตุการณจริงเอาเอง น.สพ. วิชิต กองคํา นักบริหาร 6 หัวหนางานรักษาพยาบาลสัตว สวนสัตวสงขลา 12 มีนาคม 2548

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

3

เนื้อหา หนา บทนํา บทที1่ การเริ่มตน บทที่ 2 จุดประสงคของการมีสวนสัตว บทที่ 3 การเงินและการจัดการ บทที่ 4 การบันทึกขอมูล บทที่ 5 สวนแสดงสัตวและการ4สวนสัตว บทที่ 6 อาหาร บทที่ 7 อาหารของสัตวปา บทที่ 8 ความปลอดภัย บทที่ 9 ความสะอาดและการทําความสะอาด บทที่ 10 การควบคุมสัตว

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

4 12 24 32 42 61 74 101 113 124

4

ZOO ANIMAL MANAGEMENT บทที่ 1 บทนํา เนื้อหา - สิ่งควรรูกอนที่เริ่มเขาสูเนื้อหา - ชื่อสัตว - ทําไมในยุคปจจุบันตองมีสวนสัตว - การเปลี่ยนแปลงทัศนคติที่มตี อสัตวปา

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

5

สิ่งควรรูกอนที่เริ่มเขาสูเนื้อหา สิ่งที่ตองมีกอนที่จะใชหนังสือเลมนี้เพื่อในการศึกษาคือ เตรียมปากกา ดินสอ สมุดสําหรับ บันทึก 2 เลม โดย 1. สมุดบันทึกเลมที่หนึ่ง สําหรับจดการบันทึกแบบยอสําหรับความคิดที่เกิดจากขอสังเกตที่เกิดขึ้น จากการทํางาน ควรเปนสมุดเลมเล็ก ๆ ที่คุณสามารถพกติดตัวไปได เมื่อเกิดความคิดใหมคุณสามารถ จดบันทึกไดทันที 2. สมุดบันทึก สําหรับจดขอความสําคัญที่เก็บเอาไวอานเปนขอมูลกระตุน เตือนใจ สัญลักษณในหนังสือเลมนี้ เปนเครื่องหมายที่ใหจดขอความภายในกรอบลงในสมุดบันทึกขอความสําคัญ

Q เปนเครื่องหมายคําถาม ที่มีในหนังสือเลมนี้ที่ตั้งคําถามขึ้นมาเพื่อตรวจสอบความเขาใจของคุณ ลองเขียนคําตอบของคุณเองกอนที่จะตรวจสอบความถูกตองของคําถาม

A เปนเครื่องหมายของคําถามที่ตั้งขึ้นในขณะที่คุณกําลังอานหนังสือนี้อยูในฐานะที่คุณเปนผูเลี้ยง สัตว โดยที่คําถามนี้เพื่อชวยเสริมในการเรียนรูและ ทําใหเรียนรูนั้นสนุกสนานขึ้น ในบางครั้งผูสอน จะใหคุณแสดงงานนั้นใหดูดวย หมายถึง กิจกรรมที่คุณตองทํากับสัตวที่อยูในสวนสัตว เชนการสังเกตสัตวหรือแผนงานที่ เกี่ยวของกับสัตวที่คุณตองการทํา ถาคุณเปน ผูเลี้ยงสัตวในสวนสัตวคุณควรจะตองมีที่ปรึกษาในสวนสัตวของคุณเพื่อจะชวยใน เรื่องของการใหความคิดเห็นในเรื่องตางๆ ได จุดประสงคของงานสอนครั้งนี้เพื่อตองการปรับปรุงมาตรฐานของการจัดแสดงสัตว โดยเปน ขอมูลในงานของสวนสัตวในระดับที่สามารถปฏิบัติงานในหัวขอตอไปนี้ได - ทราบถึงสิ่งจําเปนพื้นฐานที่ตองใหแกสัตวในสวนสัตว - เทคนิคที่ใชในการจัดการสวนสัตว - การจัดการเรื่องความปลอดภัยและสุขภาพสําหรับผูเลี้ยงสัตว รวมถึงผูเที่ยวชมดวย - สามารถบันทึกขอมูลและการเขียนรายงานได - การทํางานอยางมีประสิทธิภาพและปลอดภัยเมื่อทํางานรวมกับผูอื่น การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

6

- ในชวงการทํางานตองรูขั้นตอนการทํางานและสามารถหาทางแกไขปญหาที่เกิดขึ้นใน ขณะการปฏิบัติงานได ชื่อสัตว เนื่องจากในการเรียนจากหนังสือเลมนี้จะพูดถึงเรื่องสัตว และสัตวแตละชนิดจะมีชื่อประจําตัว อยู เมื่อเราพูดถึงชื่อสัตว พวกเราทั้งหมดตองมีความเขาใจถึงสัตวชนิดเดียวกัน สัตวทุกชนิดจะมีชื่อ ไทย ( ชื่อในภาษาของตนเอง ) ชื่อสามัญ และชื่อวิทยาศาสตร เชน ชื่อไทย ยีราฟ ชื่อสามัญ Giraffe ชื่อวิทยาศาสตร Giraffe camelopardalis หรือ Giraffe camelopardalis ( การเขียนชื่อวิทยาศาสตรมี สองวิธีคือ ใชตัวอักษรเอียงใหเห็นความแตกตางจากตัวหนังสือทั่วไป หรือใชการขีดเสนใตตัวอักษร ในลักษณะปกติ ) มีปญหาอันหนึ่งคือ สัตวที่มีในสวนสัตวบางชนิดมีชื่อสามัญที่แตกตางกันไปทองถิ่น ดังนั้นการแกไขปญหาดังกลาวโดยการใชชื่อวิทยาศาสตร ( scientific name ) เพื่อลดการสับสนในกรณี ที่สัตวชนิดเดียวกันแตใชชื่อสามัญแตกตางกันตามทองถิ่น เชนคําวา bison ( ชื่อสามัญ ) นั้นหมายถึง bison ใด ซึ่งมี 2 ชนิดคือ ไบซันอเมริกา ( Bison bison ) หรือ ไบซันยุโรป ( Bison bonasus ) การใหชื่อสัตวนั้นตองการความชัดเจน ชื่อหนึ่งชื่อตองหมายถึงสัตวชนิดหนึ่ง และสามารถให เกิดความเขาใจกับทุกๆคนไมวาจะเปนที่แหงใด นักวิทยาศาสตรจึงไดมีการรวมกันกําหนดกฏ ที่เรียก ชื่อของสัตวและพืช เปนชื่อวิทยาศาสตร ( Scientific name ) ตัวอยางเชน คํา วา Homo sapiens ซึ่ง หมายถึงมนุษย

Q

.ใหคุณเขียนชื่อวิทยาศาสตรของสัตวที่คุณคุนเคยมา สัก 2 ชื่อ แลวตั้งขอสังเกต เชน ชื่อ

วิทยาศาสตรประกอบดวยกี่สวน เปนภาษาอังกฤษหรือเปนภาษาอื่น ในแตละสวนนั้นมีความหมายวา อยางไร

สิ่งที่ผูเขียนตั้งขอสังเกตไดจากชื่อวิทยาศาสตรคือ (ซึ่งผูอานอาจมีความเห็นแตกตางออกไปได ) 1.จะเห็นไดวาประกอบดวย 2 สวน 2.ไมใชภาษาอังกฤษ เปนภาษาที่ไมมีการเปลี่ยนแปลงความหมาย ซึ่งมักเปนคําจากภาษา ลาติน

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

7

3.ชื่อ แรก เชนคํา วา Homo หรือ คําวา Ursus ซึ่งจะใชในชนิดสัตวที่อยูใน genus ( จีนัส ) เดียวกัน โดยคําวา Ursus เปนชื่อจีนัสของหมี ( bear ) ซึ่งมีดวยกันหลายชนิด ทําไมในปจจุบันจึงมีสวนสัตว (มาถึงขอความนี้เลยเนื่องจากตนฉบับขาดหายไป ) จากขอความขางบนเราพอจะสรุปสาเหตุของการเลี้ยงสัตวปาในสมัยโบราณนั้นมาจาก สอง สาเหตุหลักคือ การแสดงอํานาจของชนชั้นปกครองและลักษณะพิเศษของสัตวปาชนิดนั้น ๆ - การมีสัตวปาหลากชนิดจํานวนมาก มาจากดินแดนหางไกล จะมีไดเฉพาะชนชั้นปกครองเทานั้นซึ่ง เปนการแสดงถึงพลังอํานาจ - เกิดจากความอยากรูอยากเห็นของมนุษย สัตวปาเหลานี้มีลักษณะที่ไมคุนตา นาสนใจ มีความ พิเศษ ไมไดพบเห็นกันบอย ๆ  ละครสัตวและการสวนสนาม ในยุคโรมันเมื่อ 2 พันกวา ปที่แลว กษัตริยจัดใหมีก ารพาเหรดสัตว เชน แรด ชา ง ฮิปโปโปเตมัส สิงโต การจัดใหมีสถานที่ตอสูกันระหวางทาสกับสัตวดุรา ย สาเหตุที่จัดสิ่งตื่นเตน ใหกับประชาชนชมโดยชนชั้นปกครอง เมื่อตอ งการเบี่ยงเบนความสนใจของประชาชนจากปญหา บานเมือง โดยเฉพาะชวงที่ชนชั้นปกครองแกไขปญหาบานเมืองไมได ประชาชนเริ่มไมพอใจรัฐบาล ( มีตัวอยางในเมืองไทยที่เวลามีแขงขันฟุตบอลโลกหรือเอเชี่ยนเกมส คนไทยก็เบี่ยงเบนความสนใจ ไป ติดตามดูการถายทอดสดทางโทรทัศน ลืมเหตุการณบานเมืองไปชั่วขณะ ) ความจริงอันหนึ่งที่ผูอานตองทําความเขาใจสิ่งหนึ่งคือ ในยุคโรมันความบันเทิงที่มีในขณะนั้น ไมไดมีมากมายหลากหลายเหมือนในยุคปจจุบัน

A

คุณคงไมเห็นดวยกับการใชสัตวเหลา นี้ไปเพื่อ ความบันเทิงในยุค โรมัน ทํา ไมมายุค นี้จึงมี ความคิดที่แตกตางจากยุคนั้นและทําไมเราไมคิดเหมือนกับคนยุคนั้นหละ อะไรคือสิ่งที่เกิดขึ้นจากการ ฆาสัตวในยุคโรมัน มีความคลายคลึงกันกับยุคปจจุบันอยางไร (จดบันทึกความคิดของคุณลงในสมุด บันทึก)

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

8

สัตวปาที่อยูพื้นที่ของกษัตริย ขุนนาง เจาชาย กษัตริย ขุนนาง เศรษฐี เจาของที่ดิน มีการเลี้ยงสัตวปาไวในพื้นดินของตัวเอง บางครั้งมีการ แลกเปลี่ยนสัตวกัน ตัวอยางเชน - พระเจาเฮนรี่ ที่ 1 แหงประเทศอังกฤษเลี้ยงสัตวไวในสถานที่ที่เรียกวา Woodstock เมื่อราชสํานัก ของอังกฤษยายไปที่เมืองลอนดอน สัตวก็ถูกนําไปเลี้ยงในบริเวณที่เรียกวา Tower of London - ในกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย มีสวนที่ชื่อวา The Great Park of Schonbrunn กอตั้งในป คศ. 1752 เปนสวนที่กษัตริยใชเพื่อดูสัตวปา - สถานที่ที่ Carl Linnaeus นักวิทยาศาสตรที่เปนผูริเริ่มใชชื่อวิทยาศาสตร ใชเปนที่ศึกษาพืชและสัตว ไดเริ่มนําเสนอผลงานที่เขาศึกษาพืชและสัตวในสวนที่มีทั้งพืชและสัตวในประเทศ Sweden

( บันทึกขอความนี้ลงในสมุดบันทึก) การรวบรวมสัตวไวตองมีผูจัดการโดยมี keeper ( ที่เรา คุนเคยกับคํา วา zoo keeper ) ความหมายของคํา วา keeper แปลวา to observe ( การสังเกต ) และ curator ( ที่เราใหความหมายวา หัวหนางานในสวนนั้นๆ เชนคํา วา bird curator ที่หมายถึงหัวหนา หมวดสัตวปก ) ที่มาจากคําวา curate ที่แปลวา การดูแล ซึ่งทั้งสองคําไดใหความหมายในหนา ที่ไว แลว การเลี้ยงสัตวปาเพื่อการศึกษา - ในประเทศกรีก เมื่อ 2000 ปกอน มีการเลี้ยงสัตวปาเพื่อการศึก ษา โดยในเมืองใหญ ๆ จะมี สถานที่เลี้ยงสัตวปาของตัวเอง ปราชญชาวกรีกมีการเขียนหนังสือเกี่ยวกับสัตว ชาวอาหรับเขียนเรื่อง เหยี่ยวและมา การศึกษาเรื่องสัตวมีการศึกษาอยางแพรหลาย และมีการพบปะเพื่อแลกเปลี่ยนความรูกัน มี เหตุการณที่นาสนใจเชน - ในประเทศฝรั่งเศส ทีเ่ มืองปารีสมีส วนพฤษศาสตร โดยในในสมัยของพระเจาหลุยสที่ 15 จะมี สวนสัตวอยูภายในสวนพฤษศาสตรดังกลาว - มีการกอตั้ง The Zoological Society of London เปนที่พบปะพูดคุยเกี่ยวกับเรื่องสัตว ในป ค.ศ. ไดมีการกอสรางสวนสัตว และเปดใหเฉพาะสมาชิกไดชมสัตว เมื่อ มีสัตวปาที่ไดมาใหมที่มีลักษณะ แปลกตา เมื่อนําสัตวเหลานี้มาเลี้ยง ก็เกิดความกาวหนาในวิชาชีววิทยาและการจัดการสัตวขึ้น เริ่มมี การตีพิมพขอมูลเกี่ยวกับการจัดการ ขอสังเกตอื่นๆ ที่มี การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

9

- ตอมาไมนาน Zoological Society garden ก็มีการกอตั้งขึ้นในเมืองตางๆ เชน ดลับบลิน บริสตอล เบอรลิน แมดริด อัมสเตอรดัม และเมืองอื่นๆอีกหลายเมือง โดยมีจุดประสงคเพื่อการเผยแพรความรู และตีพิมพขอมูลตางๆ เพื่อเผยแพรแกบุคคลทั่วไป - ในป คศ. 1847 สวนสัตวลอนดอน (The London Zoological Garden) ไดเปดใหประชาชนไดชม ซึ่งไดรับการตอนรับจากประชาชนทั่วไปในยุโรป - ในอเมริกาเหนือ สวนสัตวไดเริ่มขึ้นในชวง 100 ปที่ผานมา และมีการจัดตั้งอยางแพรหลายในชวง 50 ปที่ผานมานี้เอง

( จดบันทึกลงในสมุด ) วาสวนสัตวของคุณเองมีจุดประสงคพิเศษอื่น ๆ หรือไม กลับไป ดูสาเหตุที่เราเลี้ยงสัตวปาในสวนสัตวชนิดตาง ๆ เพื่อจุดประสงคใด การเกิดขึ้นของสวนสัตว ตารางเวลา : ประวัติของสวนสัตว - มนุษยถ้ํา 3000 ป กอนคริสตศักราช มีการเลี้ยงสัตวเพื่อเปนอาหารหรือเปนเพื่อน - ที่อียิปต 2900 ปกอนคริสตศักราชและ 1000 ปกอนคริสตศักราช การเลี้ยงสัตวปาเพื่อ เปนสิ่งแสดงถึงอํานาจของชนชั้นปกครอง - ที่เปอรเซีย (ประเทศอิหรานในปจจุบัน) 974 ปกอนคริสตศักราชมีการเลี้ยงสัตวปาเนื่อง จากสัตวปาเหลานี้มีลักษณะนาสนใจ - ทีก่ รีก 300 ปกอนคริสตศักราชมีการเลี้ยงสัตวปาเพื่อการศึกษา - ที่กรีก 285 ปกอนคริสตศักราช มีการเลี้ยงสัตวปาเพื่อความสนุกสนานโดยนําสัตว เปนขบวนแหสัตวปา ในอาณาจักรโรมัน คริสตศักราช 1 ใชสัตวปาในการตอสูกับคน - ที่โรม ปคริสตศักราช 2 ในเอเชียปคศ. 1200 และ ที่ Tower of London อังกฤษมีการเลี้ยงสัตวปาเปนสมบัติสวนตัวของกษัตริย ขุนนาง - ที่เวียนนา ปคศ. 1752 ที่ปารีส ปคศ. 1793 มีสัตวปาอยูในสวนเพื่อจัดแสดงให ประชาชนทั่วไปไดดู - ที่ลอนดอน ปคศ. 1826 ที่บริสตอล ( เปนเมืองทาแหงหนึ่งของประเทศอังกฤษ ) ป คศ. 1845 มีการจัดการอยางเปนวิทยาศาสตร เพื่อการจัดแสดงสัตวปาใหประชาชนไดชม - ในป คศ.1871 สหรัฐอเมริกา ประกาศจัดตั้งเขตอนุรักษพันธุสัตวปา ที่อุทยานแหงชาติ การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

10

เยนโลสโตน - สวนสัตวที่มีโครงการเพาะขยายพันธุสัตวหายาก เชนที่ Whipsnade ในปคศ. 1931 - สวนสัตวที่มีการจัดแสดงแบบขับรถเขาชมในทุงกวาง (safari park) ที่ Lions of Longleat ในป คศ. 1966 - สวนสัตวที่มีสัตวจําเพาะกลุม เชน จัดแสดงปลา (aquarium) ที่ Blackpool ในป คศ. 1874 จัดแสดงเฉพาะนกแกวที่ cotswolds ในปคศ. 1975

ใหคุณเขียนจุดประสงคของการกอตั้งสวนสัตวที่คุณทํางานอยูวามีจุดประสงคอยา งไร วันที่ เริ่มกอตั้ง อาจใชเหตุผลที่มีในตารางเวลา ( time chart )เปนตัวชวย และเขียนขอ สรุปของการตั้งของ สวนสัตวของคุณลงในสมุดจดขอความสําคัญ ( neat book )

A ทําไมสวนสัตว เขตรักษาพันธุสัตวปา จึงเปนสิ่งที่มีในชวง 150 ปที่ผานมานี้เอง จุดมุงหมายของการเลี้ยงสัตวปาไดมีการเปลี่ยนแปลง แตยังมีบางประเทศที่การเลี้ยงสัตวปา ยังใหความสนในระดับที่เปนเพียงสิ่งที่นาสนใจ (เพราะไมคอยไดพบเห็นบอย ๆ ) ในคนบางกลุม ที่ มีการศึกษามากขึ้นก็มีความสนใจสัตวปามากขึ้น โดยการใหความสนใจในเรื่องชีววิทยา การจัดการ สัตวใหมีสุขภาพที่ดียิ่งขึ้น การเปลี่ยนแปลงทัศนคติที่มีตอสัตวปา การลดลงของจํานวนสัตวปา การเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษยมีอยางรวดเร็วในชวง 200 ปที่ผา นมา เมื่อ 150 ปที่ผา นมาที่ สวนสัตวลอนดอนไดเริ่มเปดทําการ ในชวงเวลาดังกลาวมีเพียงบางพื้นที่ข องโลกที่ประชากรสัตวปา เริ่มลดลง นักสํารวจที่เขาไปยังสวนกลางและตอนใตของทวีปแอฟริกาบรรยายวา สามารถเห็นกลุม ของสัตวนั้นมากมายยาวไปจนสุดแนวขอบฟา สามารถนับจํานวนควายปาไบซันและกวางไดเปน จํานวนหลายลานตัวในเขตอเมริกาเหนือ ในฤดูอพยพยายถิ่นของนกพิราบเห็นทองฟาดํามืดเต็มไปดวย นกตอเนื่องกันเปนเวลาหลายวัน แสดงถึงชวงเวลากอนหนา นั้นสัตวปาไดรับการรบกวนจากมนุษย นอยมาก การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

11

การเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบตอจํานวนประชากรสัตวปาที่เกิดขึ้น เมื่อการเดินทางไปยังที่ ตาง ๆ มีการพัฒนามากขึ้น อาวุธปนมีการพัฒนามากขึ้น มีการยายถิ่นฐานของมนุษย มีการพัฒนา เครื่องมือเครื่องใชมากขึ้น มีความตองการใชผลิตภัณฑที่ไดจากสัตว เชน หนัง เขาสัตว น้ํามัน จํา นวนสัตวปา ลดลงเนื่องจากถิ่นที่อยูของสัตวล ดลง เมื่อมนุษยเพิ่มจํานวนมากขึ้น ความ ตองการพื้นที่มากขึ้นเพื่อการเพาะปลูก เปนที่อยูอาศัย การเกิดขึ้นของเขตรักษาพันธุสัตวปา อุทยาน แหงชาติเพื่อเปนสถานที่ปกปองพื้นปาที่เปนบานของสัตวปา ในศตวรรษที่ 20 ความกาวหนาทางเทคโนโลยี่เชน การถา ยภาพ ภาพสี การอัดขยายภาพ ภาพยนตร โทรทัศนทําใหสัตวปาเปนที่คุนเคยมากขึ้น และดวยสิ่งเหลานี้ไดทํา หนา เสมือนพวกเราได ทองปาไปตามที่ตางๆ ซึ่งการที่เราไดชมจากสื่อตางๆ เหลานี้ก็เปนการกระตุนใหเกิดการสรางสวนสัตว ขึ้น

A ถาคุณเปนผูที่ปฏิบัติงานในสวนสัตว 1. ใหคุณบรรยายถึงสวนสัตวของคุณ เพื่อใหคนที่ไมเคยไปเที่ยวชม พอจะจินตนาการสวน สัตวของคุณได รูปแบบเปนแบบใด กอตั้งเมื่อไหร สัตวที่เปนตัวเดนของสวนสัตว 2. ในสวนตัวของคุณเอง สัตวที่คุณใหความสนใจมากที่สุดคืออะไร หรือสัตวที่คุณมีขอมูล ในเรื่องตาง ๆ มากกวาชนิดอื่น และมีสัตวชนิดนั้นในสวนสัตวของคุณหรือไม 3. ใหคุณเขียนสรุปยองานที่คุณปฏิบัติตั้งแตเชาถึงเย็น และงานทั้งสัปดาห ในงานที่เกี่ยวของ กับการดูแลสัตว

ถาคุณไมไดทํางานในสวนสัตว 1. มีสาเหตุใดที่ทําใหคุณสนใจงานในสวนสัตวและจริงๆ แลวคุณอยากทํางานในสวนสัตวหรือไม 2. งานดานใดในสวนสัตวที่คุณอยากทํา และสาเหตุใด 3. สัตวชนิดใดที่คุณอยากมีสวนรวมในการดูแล ประโยชนที่คุณไดและสิ่งที่คุณตองสูญเสียไปถา คุณเขามาทํางานในสวนสัตว

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

12

บทที่ 2 จุดประสงคของการมีสวนสัตว เนื้อหา - ทําไมตองมีสวนสัตว - จุดประสงคของการมีสวนสัตว - เนื้อหาสรุป : หัวขอเพื่อการพิจารณา

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

13

ทําไมตองมีสวนสัตว ในบทที่หนึ่งเราเรียนรูเรื่องของการพัฒนาของสวนสัตวจากอดีตจนถึงปจจุบัน รูถ ึงสาเหตุของ การเลี้ยงสัตวปาในอดีตเพื่อจุดประสงคใด ในบทนี้เราจะมาเรียนรูวาปจจุบันเรามีสวนสัตวเพื่ออะไร คําถาม ใหคิดทบทวนดูวาเหตุผลของการเลี้ยงสัตวปาในอดีตที่ผานมา ยังเปนเหตุผลที่ใชไดในปจจุบัน หรือไม

สิ่งที่คุณคิดทบทวนไดอาจมีในหัวขอตอไปนี้  การอนุรักษ เปนที่เก็บสํารองสัตวที่จํานวนลดนอยลง และถิ่นที่อยูเดิมถูกทําลาย  การศึกษา เปนสถานที่ศึกษาพฤติกรรมของสัตวปาในการเลี้ยงแบบกรงเลี้ยง รวมทั้งการ มองถึงการปลอยสัตวกลับสูถิ่นอาศัยเดิม  เปนสถานที่เพาะขยายพันธุ การเพิ่มจํานวนสัตวปา เพื่อลดการนําสัตวที่ตองจัดแสดงออก จากปา จากสาเหตุทั้ง 3 ขอ นั้นเปนการมุงประเด็นที่ตัวสัตว อีกประเด็นหนึ่งคือ การตอบสนอง ความตองการของผูเที่ยวชม ที่เปนผูสนับสนุนสวนสัตวใหอยูไดคือ  การใหการศึกษา ใหความรูดวยวิธีการที่เหมาะสมแกผูเที่ยวชมแตละกลุม  การใหความบันเทิง การพักผอน เชน การจัดสถานที่ที่สะอาด สวยงาม รมรื่น การจัด แสดงสัตวในคอกที่เปนธรรมชาติสบายตา จัดแสดงสัตวที่สุขภาพจิตและสุขภาพกายแข็งแรงสมบูรณ คําถาม จากที่อานถึงเหตุผลของการมีสวนสัตวพอสังเขปแลว คุณลองนึกถึงสาเหตุอื่นๆ ของการมี สวนสัตวหรือไม

การเลี้ยงสัตวปาเพื่อการอนุรักษและการผสมพันธุเพื่อเพิ่มจํานวน จุดประสงคข องการเลี้ยงสัตวปาและเพาะขยายพันธุเพื่อใหค งอยูตอไป เปนที่ทราบดีวาใน ปจจุบันสภาพปาธรรมชาติที่ถูกทําลาย จํา นวนสัตวปา ในปาลดจํานวนลง การพัฒนาการจัดการใน กรงเลี้ยงเพื่อใหสัตวปาสามารถขยายพันธุได รวมทั้งมีความรวมมือกับสวนสัตวอื่น ๆ ในเรื่องตัว สัตวและการจัดการ เพื่อมุงหวังที่จะลดการนําสัตวปาออกจากถิ่นที่อยูเดิม

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

14

คําถาม สวนสัตวตองเลี้ยงสัตวที่ใกลสูญพันธุเพียงกลุมเดียวใชหรือไม

การมีโครงการที่จะเพาะขยายพันธุสัตวหายากเปนสิ่งจําเปน การเลี้ยงสัตวที่เราสามารถเพาะ ขยายพันธุไดโดยไมยาก ใหมีจํานวนมากพอสมควรแลวยังตองดําเนินการตอไป เพื่อไมตองนําสัตว ชนิดนี้จากถิ่นที่อยู เพื่อการจัดการแสดงใหผูเที่ยวชมไดชม การเลี้ยงสัตวเพื่อการศึกษา - การเก็บขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวกับสัตวปาที่เราเลี้ยงในสวนสัตวเปนเรื่องจําเปนหากหวังผลในเรื่องการ เพาะขยายพันธุ - ในการเก็บขอมูลจะตองมีระบบการเก็บขอมูลที่ถูกตอง - การที่ผูเลี้ยวสัตวทํางานใกลกับตัวสัตวเปนโอกาสอันดีที่จะไดสังเกตพฤติกรรมตางๆ และจดบันทึก ขอสังเกตนั้นไว - ขอสังเกตที่ไดใหนํามาประมวลผลและเขียนเปนขอสรุปและมีการตีพิมพในวารสารทางวิชาการ - การสะสมความรูในสัตวแตละชนิดของแตละสวนสัตว จะพบวาในสัตวชนิดเดียวกัน ในตางสถานที่ กัน ปญหาและขอมูลจะมีความแตกตางกัน เนื่องจากพื้นฐานในหลายๆเรื่องที่มีความแตกตางกัน เมื่อ นําความรูมารวมกันจะไดขอมูลที่หลากหลาย - เราจะกลาวถึงการจดบันทึกในบทที่ 4 ซึ่งจะมีตัวอยางของแบบฟอรมตางๆ เชนในกรณีสัตวเกิด สัตว ปวย สัตวตาย ใบขอเพิ่มอาหาร ใบที่ใชบันทึกในการวางยาสลบสัตว การเลี้ยงสัตวเพื่อจัดแสดงในสวนสัตว ผูเที่ยวชมที่เขามาในสวนสัตวมีความมุงหวังที่จะไดรับการสนองตอบจากสวนสัตวในหลาย เรื่อง เชนเรื่องการบริการ ตั้งแตการขายบัตรผานเขาชม การอธิบายเสนทาง (ในกรณีที่ผูเที่ยวชมเขา มาในสวนสัตวเปนครั้งแรก ) ที่จอดรถ เปนตน ผูเที่ยวชมมีความตองการที่จะสัมผัสใกลชิดกับธรรมชาติ ความสนุกสนาน เพลิดเพลินที่ เกิดขึ้นจากชมสัตวที่เขาไมคุนเคย แปลกใหม มีโอกาสนอยมากที่ไดสัมผัสอยางใกลชิด ไดชมสัตวที่ มีลักษณะสวยงาม รูปราง สีสัน มีการแสดงพฤติกรรมที่คาดไมถึง ไดยินเสียงรอง สิ่งประกอบอื่นที่สําคัญไมยิ่งหยอน คือ ความสะอาด การจัดสวนที่มีสีสันสวยงาม สถานที่ อํานวยความสะดวกตาง ๆ เชน หองน้ํา โรงอาหาร ที่สะอาดเปนระเบียบ

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

15

การจัดแสดงในลักษณะความแปลกประหลาด การแสดงในอดีต มีการแสดงในลักษณะที่สรางความเขาใจผิดใหกับประชาชน เชน การ บอกวา แมวน้ํา คือ นางเงือก การนําลามาทาสีแลวบอกวาคือมาลาย คําถาม คุณมีความเห็นอยางไรในเรื่องการจัดแสดงสัตวใ นลักษณะการจัดแสดงและใหขอ มูลวา เปน สัตวที่แปลกประหลาด ในสวนสัตว

ซึ่งคําตอบสําหรับคนที่ทํางานในสวนสัตวคงเปนในแงไมเห็นดวยกับการจัดแสดงในรูปแบบนี้ โดยเนื้อหาของความเปนสวนสัตวแลว จะไมจัดแสดงสัตวหรือใหขอมูลแกผูเที่ยวชมวาสัตววาเปนสิ่ง แปลกประหลาด แตสิ่งที่ปฏิเสธไมไดเลยวาโดยตัวของสัตวเองแลวคือความแปลกประหลาด นาสนใจ ซึง่ เปน ความรูสึกที่เกิดขึ้นของผูเที่ยวชมเมื่อมีโอกาสไดมาดูสัตวปา ทําใหผูเที่ยวชมเกิดความสนุกสนาน นั่น คือเหตุผลหนึ่งที่ผูเที่ยวชมตองการมาเที่ยวสวนสัตว การจัดแสดงโชวความสามารถสัตวที่พบตามสวนสัตวตา งๆ เชน การแสดงความสามารถ ของปลาโลมา ลิงอุรังอุตัง นกแกว เปนการแสดงที่ทําใหผูเที่ยวชมเกิดความสนใจในสัตวชนิดนั้นๆ มากขึ้น เปนชองทางหนึ่งที่ทําใหคนคนควาหาขอมูลเกี่ยวกับธรรมชาติวิทยามากขึ้น และเริ่มมีแนวคิด ขึ้นมาอีกวาการใชสัตวโชวควรจะใชสัตวที่เปนสัตวเลี้ยงใหมากยิ่งขึ้นขึ้นเชนการฝกสุนัข แมว หนูให เลนละครสัตว การจัดการแสดงสัตว พรอมกับการใหขอมูลกับผูเที่ยวชม เราจะมีวิธีการใหผูเที่ยวชมเกิดความสนใจในตัวสัตวไดอยางไร (การจัดสภาพสวนแสดงสัตว สัตวใหเปนธรรมชาติล ดการใชสภาพที่คลา ยกรงขัง การจัดชวงเวลาใหอาหารสัตวพรอมทั้งจัดคน บรรยายใหความรูไปดวย) นอกจากนั้นผูเที่ยวชมยังมีจุดประสงคหรือหัวขอที่ตัวเองสนใจแตกตางกัน ไป ซึ่งเปนหนาที่ของสวนสัตวที่จะตองเตรียมขอมูลใหกับผูเที่ยวชมดวยวิธีการตาง ๆ ตัวอยาง เชน นักสัตววิทยาตองการเห็นพฤติกรรมของสัตวชนิดนั้นอยา งใกลชิด ซึ่งในการสังเกตพฤติก รรมในปา จริงไมสามารถเขาใกลสัตวไดใกลขนาดนี้ คําถาม จากประสบการณของคุณกับการพูดคุยกับผูเที่ยวชม คุณสามารถบอกไดหรือไมวา เขามาที่ สวนสัตวเนื่องดวยความตองการขอมูลในลักษณะใด

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

16

พบวาผูเที่ยวชมจะมีความตองการที่แตกตางกัน คําตอบอาจจะเปน - ผูปกครองของเด็กอาจตองการขอมูลเพิ่มเติมสําหรับตอบคําถามลูก ๆ - มีผูเที่ยวชมบางกลุมตองการขอมูลเรื่องการเลี้ยงดู อาหารหรือการจัดการสัตวปาเมื่อสัตว ปาปวย - อาจารยนํานักเรียนมาที่สวนสัตวเพื่อใชตัวสัตวเปนสื่อการสอนในหลายๆ วิชา เชนภาษา อังกฤษ วิทยาศาสตร - นักเรียนที่ตองทําโครงงานหรือรายงาน เราจะกลับมาพูดเรื่องการศึกษาในสวนสัตวอีกครั้งหนึ่งและในบทที่ .3

Q

ใหคุณยอนกลับไปที่สวนสัตวของคุณวาจุดประสงคของสวนสัตวของคุณคืออะไร โดยให

ความสําคัญไปที่สัตวภายในสวนสัตว และผูเที่ยวชมซึ่งเปนผูสนับสนุนสวนสัตวใหอยูได

ถึงแมวาสวนสัตวจะมีความแตกตางกัน แตสิ่งที่เหมือนกันในเรื่องจุดประสงคข องสวนสัตว คือ 1.ใหการสนับสนุนในความพยายามในงานการอนุรักษสัตวปา 2.มีโครงงานที่จะเพาะขยายพันธุสัตวหายากขึ้นในสวนสัตว เชน สวนสัตวสงขลามีโครงการเพาะขยาย พันธนกเงือกไทย สมเสร็จ แมวปาขนาดเล็ก สวนสัตวนครราชสีมา มีโครงการเพาะพันธุนกกระเรียน พันธุไทย และสัตวกลุมชะมด อีเห็น 3.มีการจดบันทึกการดูแลสัตว ความตองการขั้นพื้นฐาน อาหาร การสุขาภิบาล โรคสัตวที่พบบอย ลักษณะทางสังคม การจัดการทางสัตวแพทย จัดพิมพเปนรายงานเปนรูปเลมแลวเผยแพรใหทราบทั่ว กัน 4.ใหความรวมมือกับสวนสัตวอื่น ๆ เชนการใหขอมูล การจัดการสัตว การแลกเปลี่ยนสัตวเพื่อการ ปรับปรุงสายพันธุ 5.การเตรียมสิ่งที่สรางความพึงพอใจแกผูเที่ยวชม สวนแสดงสัตวที่ดูเปนธรรมชาติ สัตวที่มีพฤติกรรม ปกติ สถานที่ ถนนที่สะอาด พืชพรรณที่มีสีสันสวยงาม รมรื่น 6. การใหการศึกษาแกผูเที่ยวชมทุกกลุมอายุ กลุมกิจกรรม ดวยรูปแบบวิธีการที่เหมาะสม

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

17

คุณมีขอคิดเห็นที่แตกตางจากทั้ง 6 ขอนี้หรือ ไม ที่สวนสัตวข องคุณมีเหตุผลอื่น ๆ ที่แตกตาง จากนี้หรือไม เหตุผลที่พูดถึงใชไดกับสวนสัตวของคุณหรือไม เหตุผลที่กลาวมาคุณไดทําในสวนสัตว ของคุณหรือไม

กิจกรรมที่คุณตองทําในสวนสัตว - เมื่อคุณไดมีขอสรุปสวนตัวของคุณวาสวนสัตวมีจุดประสงคอะไร คุณอาจลองพูดคุยดูถึงแนวคิด เห็นของเพื่อนของคุณวา เขามีแนวคิดอยางไรเรื่องจุดประสงคของการมีสวนสัตว - เมื่อทราบงานของสวนสัตวที่ตองทําแลว ลองเปรียบเทียบกับสวนสัตวของคุณ คุณคิดวามีงานสวน ใดที่สวนสัตวคุณยังไมไดทําหรือยังทํานอยเกินไป - มีงานขอใดที่คุณไดทําใหเกิดขึ้นจริงในสวนสัตวของคุณแลว - พูดคุยกับเพื่อนรวมงานของคุณถึงประเด็นที่ยังไมไดทําหรือยังไมไดใหความสําคัญ ตองทําอยางไร เพื่อใหงานที่ขาดอยูมีการเคลื่อนไหวมากยิ่งขึ้น - ภารกิจหลักเหลานี้สวนสัตวของคุณไดมีการเขียนในหลายสถานที่ที่ผูปฏิบัติงานไดอ าน ไดเห็น เสมอ จนเขาใจและเกิดเปนสามัญสํานึกในใจของทุกคนหรือไม

มาถึงตอนนี้ใหคุณเขียนจุดประสงคของสวนสัตวในความคิดของคุณวามีหัวขอใดบาง

A

( คําถามในขณะที่คุณกําลังอานหนังสือ เลมนี้ ) ตั้ง คํา ถามกับตัวเองวา ในฐานะที่คุณ เปน

ผูปฏิบัติงานในสวนสัตว คุณมีวิธีการอยางไรที่จะบอกกับผูปฏิบัติใหทราบถึงงานของสวนสัตววาคือ อะไร ใหคุณเขียนถึงวิธีการเหลานั้น

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

18

จุดมุงหมายของสวนสัตวของคุณ คุณอาจรูสึกวางานที่เปนงานหลักของสวนสัตวที่ก ลาวมาในบางขอ เปนสิ่งที่คุณยังทํานอย มาก เชน การเขียนงานการจัดการทั่วไปในรูปแบบงานวิชาการเชิงวิทยาศาสตร ในชนิดสัตวที่สวน สัตวพยายามที่จะเพาะขยายพันธุ ซึ่งเปนสิ่งที่คุณไมมีประสบการณ แตงานของสวนสัตวก็มีอยูหลาย หัวขอที่คุณ สามารถมีสว นรวมไดหรือ ในสวนงานที่ยังไมไ ดทํา ก็คอย ๆ ศึก ษาและพัฒ นา ความสามารถในสวนที่ขาดอยูขึ้นมา

Q ในสวนงานที่คุณยังไมไดทํา ใหลองทําดูอยู โดยเริ่มที่สัตวที่คุณรับผิดชอบอยู เชน เราจะทํา อยางไรใหสัตวเหลานี้มีสุขภาพที่ดีได

สิ่งที่ชัดเจนที่สุดคือ เราตองดูแลสัตวเหลา นี้อยางดีที่สุดดวยมนุษยธรรม สิ่งที่คุณตองทําให สัตวเหลานี้คือ 1. คอกและกรงสัตวที่เหมาะสมกับสัตวชนิดนั้น ๆ ในเรื่องของ สิ่งแวดลอม (ความชื้น และอุณหภูมิ) พื้นที่ วัสดุที่ใช การตกแตงคอกที่เหมาะกับพฤติกรรม 2. อาหารที่มีคุณภาพและปริมาณที่เหมาะสม ถูกตองกับความตองการสัตว 3. จัดระบบสังคมในกรงเลี้ยงใหเหมาะสมกับสัตวชนิดนั้น อยูเปนคูมีโอกาสไดผสมพันธุ 4. การสุขาภิบาล เรื่องความสะอาด กรงคอกสัตว อาหาร เมื่อคุณตองรับผิดชอบสัตวเหลานี้ใหมีสุขภาพดี ในสวนของงานการอนุรักษ ถาสัตวเหลานี้มี สุขภาพเปนปกติ โอกาสที่สัตวเหลา นี้จะมีโอกาสที่อ อกลูก ได สิ่งที่คุณตองทํา คือการจดบันทึก การ จัดการสัตวไวสําหรับเปนขอมูลพื้นฐาน สําหรับเปนแนวทางในการจัดการสัตวชนิดนี้ตอไปในอนาคต ตอไปเราจะไปพูดอีกสวนหนึ่งของสวนสัตวที่สําคัญคือ ผูเที่ยวชม ( visitor ) อะไรคือสิ่งที่ผูเที่ยวชมตองการชม สวนสัตวมีสวนประกอบหลายอยา งที่ตอบสนองความตอ งการของผูเที่ยวชม สวนสัตวบาง แหงมีสวนของทางเทาเพื่อสามารถเที่ยวชมโดยการเดินเทา ซึ่งมักพบในสวนสัตวใ นเมืองที่มีพื้นที่ไม มากนัก บางแหงที่เที่ยวชมโดยการนั่งรถในรูปแบบซาฟารี หรือสวนสัตวที่มีความเชี่ยวชาญในสัตว บางชนิด มักจะมีการจัดแสดงสัตวชนิดนั้นมากเปนพิเศษ เชนนกแกว ปลา

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

19

A 1. สัตวชนิดใดที่สวนสัตวของคุณ ทีผ่ ูเลี้ยงสัตวที่มีความชํานาญเปนพิเศษ 2. สัตวชนิดนั้นสามารถขยายพันธุไดในสวนสัตวของคุณใชไหม 3. สัตวชนิดใดที่คุณคิดวาเปนสัตวที่เปนที่ชื่นชอบสําหรับผูเที่ยวชม

ในฐานะที่คุณเปนพนักงานเลี้ยงสัตว มีพนักงานในสวนสัตวคนใดหรือไมที่เปนผูเผยแพรงาน อนุรักษ งานวิจัย ตอสื่อมวลชนไมวาจะเปนสื่อสิ่งพิมพ โทรทัศนหรือการออกพูดในงานสัมมนาทาง วิชาการ เราคือบุคคลที่ตองมีหนาที่ที่จะสื่องานของสวนสัตวออกสูภายนอกโดยใชสื่อเหลานี้

Q

ใหคุณเขียนคําถามที่มันไดรับจากผูเที่ยวชมเสมอ ๆ และคําตอบที่คุณใหแกผูเที่ยวชมคืออะไร

การใหการศึกษาในสวนสัตว คุณอาจไมรูวางานในสวนสัตวนั้นมีความเกี่ยวขอ งอยางมากกับงานใหก ารศึกษา แตการให การศึก ษาแบบการสอนในโรงเรียนอาจมีนักทองเที่ยวบางคนไมคอยชอบในวิธีการแบบนั้น ที่อาจ สรางความรูสึกเหมือนอยูภายใตกฎระเบียบแบบเดียวกับโรงเรียน ดังนั้นการใหการศึกษาในสวนสัตว ตองเปนในลักษณะสรางสนุก ความพึงพอใจ กระตุนความสนใจใหอยากเรียนรู ตัวอยางสําหรับวิธีการใหการศึกษาในสวนสัตว - การจัดแสดงสัตวที่มีสุขภาพจิตและรางกายที่สมบูรณแข็งแรง - การจัดสภาพสวนแสดงสัตวในลักษณะที่เปนธรรมชาติ ถาสามารถจัดใหถูกตองตาม ลักษณะถิ่นที่อยูเดิมไดจะเปนเรื่องที่ดีมาก - การพูดถึงสัตวที่เปนสัตวหายาก - ปายใหการศึกษาที่บริเวณจุดชมตามสวนแสดง - มุมใหการศึกษาตามสวนแสดงสัตว ซึ่งปจจุบันวิทยาการของวัสดุ วิธีการนําเสนอไดมี การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

20

ความกาวหนาไปมาก - หนังสือแนะนําจุดที่นาสนใจและสัตวที่นาสนใจ โดยใหขอมูลในขั้นใหลายละเอียดได - แผนพับ ที่ใหขอมูลการเที่ยวภายในสวนสัตว ซึ่งมีแผนที่ สถานที่ที่นาสนใจภายใน สวนสัตว - ภายในรานขายของที่ระลึกมีมุมขายหนังสือเกี่ยวกับสัตวปาไวจําหนาย - มีโปสเตอรเชนสัตวเลี้ยงลูกดวยนม สัตวปกและสัตวเลื้อยคลานของไทยไวแจก - การจัดชวงเวลาที่พนักงานเลี้ยงสัตวพูดคุยกับผูเที่ยวชม - การจัดใหมีหองฉายภาพยนตรสารคดี - มีสวนแสดงที่บอกขอมูลสัตวเปนเสียงบรรยาย - การเที่ยวชมเปนกลุมที่มีผูบรรยายใหความรูติดตามกลุมไปดวย โดยสรุปแลว การใหการศึกษาในสวนสัตวคือการสรางความสนใจในสัตวชนิดนั้น ๆ กอน โดยวิธีการหลายอยาง แลวใหผูเที่ยวชมนั้นศึกษาดวยตัวของเขาเอง คําถาม จากหัวขอ ในวิธีใหก ารศึกษาที่กลา วมาทั้งหมดในสวนสัตวของคุณใชวิธีก ารเหลานี้เพื่อให การศึกษาแกผูเที่ยวชมหรือไม มีวิธีการอื่น ๆ ที่คุณทําเพิ่มเติมนอกจากนี้หรือไม ปายใหการศึกษา ทุกสวนสัตวมีเจาหนาที่เลี้ยงสัตว ทุกสวนสัตวมีปายใหการศึก ษา ซึ่งปาย ใหการศึกษานาจะเปนรูปแบบทั่วไปของการใหการศึกษาและใหขอมูลในสวนสัตว คุณลองยอนกลับ ไปดูปายใหก ารศึกษาของคุณวานาสนใจ สามารถกระตุนใหผูเที่ยวชมสวนสนใจที่จะอานปา ยให การศึกษาหรือไม

คําถาม กลับไปคิดถึงปายใหการศึกษาในสวนสัตวของคุณเองวามีรูปแบบใด และเขียนลักษณะปายให การศึกษาลงในสมุด 1 – 2 แบบ หลังจากนั้นใหลองสรุปวารูปแบบปายใหการศึกษาในสวนสัตวของ คุณมีกี่รูปแบบดวยกัน ใหสังเกตที่ปายจะเห็นไดวาสวนประกอบที่มีอยูในปายใหการศึกษาเชน ชื่อวิทยาศาสตร ถิ่นที่ อยู นิสัยของสัตวชนิดนั้น รูปภาพ แผนที่แสดงถิ่นที่อยู

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

21

ปายใหขอมูล ยังรวมความถึง ปายเครื่องหมายบอกทางไปคอกกรงสัตว เวลาใหอาหารสัตว ปายบอกสิ่งที่ตองระวัง ปายหามใหอาหารสัตว คําถาม ปายตาง ๆ ที่มีในสวนสัตวของคุณดีแลวหรือยัง ถายังไมดี การปรับปรุงปายเหลานี้ตองทํา อยางไรบา ง ลองเลือกปา ยอันหนึ่งที่คุณเห็นวาควรปรับปรุงวา ตองปรับปรุงอยางไร เชน ปา ยให การศึกษาจําเปนตองปกปองไมใหถูกฝนและแสงอาทิตย เปนวัสดุที่ทนทาน สีสันที่มีบนตัวปา ยไม จางหรือลบเลือ นไปอยางรวดเร็ว วางในจุดที่เหมาะสม มีรูปสัตวประกอบ แผนที่แ สดงถิ่นที่อยู สีสันของพื้นปาย ความชัดเจนของตัวหนังสือ ขอความที่มีเขียนดวยขอความที่เขา ใจงาย จํานวนคํา ไมมากเกินไป การออกแบบจัดวางรูปภาพ แผนที่ ตัวหนังสือที่เหมาะสม ราคาที่เหมาะสมกับวัส ดุ และคาออกแบบ

รูปแบบของปายใหการศึกษาของคุณใชเรซิ่นหรือฟอรเมกา เพื่อปองกันฝนและแสงแดดได หรือไม คุณตองทําการตรวจสอบเสมอวาปายมีการชํารุดเสียหายตองซอมแซมหรือไม การตรวจสอบ เปนสิ่งตองกระทําเนื่องจากปายเหลานี้มีราคาแพง มุมมองของผูเที่ยวชมตอสวนสัตว ในฐานะที่เปนเจาหนาที่เลี้ยงสัตว บางครั้งมีคํา ถามหรือคําแนะนําจากผูเที่ยวชมบางคนวา สัตวที่อยูในสวนสัตวเปนสัตวที่ถูกจํากัดบริเวณ เหมือนกับสัตวเหลานี้ถูกจับขังคุก โดยที่ผูดูแลสัตว คือผูคุม สัตวปาตองอยูในปา ทําไมจึงตองมาอยูในสวนสัตว การอยูในกรงขังแบบนี้พฤติกรรมตาม ธรรมชาติจะเปลี่ยนแปลไปหรือไม โดยเขาเกิดความเปรียบเทียบกับสัตวใ นปา ที่มีพื้นที่ก วางสามารถ แสดงพฤติกรรมตามสัญชาตญานของสัตวชนิดนั้น ๆ เมื่อตองเจอกับคําถามเหลานี้ในฐานะที่คุณเปน ผูเลี้ยงสัตวปาเหลานี้คุณจะตอบคําถามนี้อยางไร

.ใหคุณจดบันทึกความคิดเห็นวาสาเหตุที่ตองมีสวนสัตวที่คุณทํางานอยู หรือสวนสัตวอื่นๆที่ คุณรูจักดี ทํา ไมตองมีอ าชีพคนเลี้ยงสัตวปาขึ้น เก็บขอความเหลานี้ไวในสมุดบันทึก ซึ่งอาจจะมี ประโยชนหากตองการคําตอบแบบนี้ในโอกาสหนา

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

22

ทําไมเราจึงตองรูถึงขอมูลสัตวชนิดตาง ๆ ใหมากยิ่งขึน้ จํานวนของประชากรมนุษยเพิ่มขึ้นทุกวัน ขณะนี้มากกวา 3000 ลานคนแลว มนุษ ยคือผูที่ ชํานาญในการใชทรัพยากรธรรมชาติ ในแตละวันมีการทําลายปาในเขตรอนวันละ 70 เอเคอร มีการ ใชพื้นที่เพื่อการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตวเพิ่มขึ้นวันละมากกวา 80 เอเคอร จํานวนพื้นที่สัตวจะใชเปนที่ อยูลดลงทุกวัน นั้นหมายถึงจํานวนสัตวปาที่มีในโลกก็ลดลงไปตาม สวนสัตวคือสถานที่สําหรับเตรียม ความรูที่จะชวยเหลือสัตวปาเหลานั้น จริงหรือที่สวนสัตวเปนแหลงอนุรักษสัตวปา การทราบถึงสถานะภาพสัตวปา ที่อยูในปา วา ระดับของการเสี่ยงตอการสูญพันธุเปนอยา งไร ในสภาวะที่โลกมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางลบตลอดเวลานั้น สวนสัตวก็ทราบดีวาสัตวชนิดนั้น ๆ มี ระดับของโอกาสที่สัตวจะสูญพันธุมีมากนอยเพียงใด ถาพบวาสัตวชนิดนั้นไมสามารถที่จะอยูรอดไดในสภาพสิ่งแวดลอมปจจุบัน สวนสัตวเปนอีก สถานที่หนึ่ง ที่ตองพยายามเลี้ยงสัตวนั้นใหมีการขยายพันธุสัตวชนิดนั้นไวเพื่อคงสายพันธุไว เพื่อการ นําสัตวนั้นกลับเขาสูธรรมชาติอีกครั้ง ถาสภาพปาบางแหงยังสามารถนําสัตวกลับไปได ซึ่งไมใชเรื่อง งาย คุณพอทราบตัวอยางของชนิดสัตวที่สามารถนํากลับสูธรรมชาติไดหรือไม คําถามที่เกิดขึ้น เชน เปนไปไดหรือไมที่จะนําสัตวจากสวนสัตวปลอยกลับคืนปา สภาพปา มีความอุดมสมบูรณเพียงพอที่จะปลอยไดหรือไม ระหวางสวนสัตวดวยกันมีการแลกเปลี่ยนสายพันธุ สัตวเพื่อใหสัตวคงความแข็งแรงไวไดหรือไม คุณพอทราบตัวอยางของความรวมมือรูปแบบนี้หรือไม การอนุรักษตองการความชวยเหลือจากรัฐบาล บุคคลสําคัญในรัฐบาลจะตองเห็นความสําคัญ ของงานการอนุรักษสัตวปา และสวนสัตวก็เปนสวนหนึ่งของงานนี้ดวย จริงหรือไมที่การเลี้ยงสัตวปาในสวนสัตวนํามาซึ่งความรูใหม ๆ สวนสัตวข องคุณมีการทํา งานวิจัยหรือไม มีก ารตีพิมพผลการวิจัย มีการเผยแพรขอ มูลใน วิธีการอื่นๆ เชน เปนจดหมายขาว มีการสงขอมูลไปลงจดหมายขาวที่ทําขึ้นในหมูของบุคคลที่อยูใน แวดวงสวนสัตวหรือไม ตัวคุณเองทราบขอมูลใหมที่นําเสนอโดยสวนสัตวคุณเองหรือ สวนสัตวแหง อื่นๆหรือไม ขอมูลใหม ๆ หมายถึง 1. การปรับปรุงการจัดการสุขาภิบาลสัตวและการจัดการเรื่องสุขภาพสัตวอยางไร 2. ความรูใหมเรื่องพฤติกรรมสัตวที่สามารถนําใชไดในสวนสัตวและในปา 3. ความรูที่จะใชสําหรับผูปฏิบัติงานกับสัตวในปา การเลี้ยงสัตวปาเพื่อมุงหวังการเพาะขยายพันธุในสัตวที่ยังไมประสบความสําเร็จในการผสม การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

23

พันธุ การจัดการที่สําคัญอยางหนึ่งคือ การจัดพื้นที่จําเพาะเพื่อใหสัตวไดรับการรบกวนจากผูเที่ยวชม นอยที่สุด แตสวนสัตวก็มีหนาที่อยางหนึ่งที่ตองแสดงสัตวเพื่อใหประชาชนไดดู อยางเชน ตัวอยาง ในตางประเทศที่นําแพนดาหรือกอลิลามาเลี้ยง ประชาชนมีความตองการที่จะดูสัตว การเลือกที่จะทํา แบบไหนขึ้นกับปจจัยหลายอยางเชน จํานวนสัตวที่มีในสวนสัตวถาเหลือนอยมาก ตองมุงหวังเรื่อง การเพาะขยายพันธุใหไดเสียกอน และพิจารณาความตองการชมของผูเที่ยวชมมีมากนอยเพียงใดดวย การบาน งานที่ตองการใหทําคือ ใหคุณนําเสนอตอสวนสัตวของคุณถึง - แนวทางในการดําเนินงานของสวนสัตวในมุมมองของคุณ เพื่อมุงสูจุดมุงหมายของสวน สัตว - เขียนถึงความตองการของผูเที่ยวชมที่เขามาที่สวนสัตว - เสนอรูปแบบของปายใหการศึกษาที่คุณคิดอยากใหเปนอยางไร ใหคุณจินตนาการวา มีผูเที่ยวชม เขียนจดหมายถึงคุณในขอความตอไปนี้คุณจะตอบ เขาวาอยางไร โดยมีตัวอยางวิธีการตอบใหคุณ

ผูอํานวยการสวนสัตวที่เคารพ ผมเขียนจดหมายถึงผูอํานวยการเนื่องผมมีความเห็นวา ในโลกเรานี้ไมมีความจําเปนที่จะตอง มีสวนสัตวเนื่องจากประเทศของเรา(อังกฤษ) มีกฎหมายที่ใหก ารคุมครองตอ สัตวอ ยา งเพียงพอ สัตว ควรจะไดรับอิสระ สัตวควรจะอยูใ นปา แทนที่จะตอ งนํา สัตวขังในกรง จับสัตวจากปา ขนสงจาก แดนไกลมาที่สวนสัตวซึ่งเปนสภาพที่ทําใหสัตวบาดเจ็บ สัตวเครียด บางตัวตอ งตายกอนที่จะมาถึง สวนสัตว สัตวในสวนตองปลอยกลับคือสูปาหรือเอามันไปบานเดิมของสัตวชนิดนั้น ๆ เสีย การ เก็บสัตวเหลานี้ไวในสวนสัตว ยังมองไมเห็นถึงประโยชนของการมีสวนสัตวเลย ถาตองการเห็นสัตว ปา ไปที่อุทยานแหงชาติ ไปที่พิพิธภัณฑ ดูจากโทรทัศน จากวีดีโอสารคดีชีวิตสัตวก็ได ซึ่งให ความรูสึกที่ดียิ่งกวาการดูสัตวเหลา นี้จากสวนสัตวเสียอีก กระผมหวังวาขอ เขียนของผมคงมีอ ะไร สะดุดใจคุณไดบาง ดวยความปรารถนาดี โมล เมื่อคุณอานจดหมายในรูปแบบนี้จบ คุณมีแ นวทางในการตอบจดหมายฉบับนี้อยา งไร เขียนลงใน สมุดบันทึกขอความ การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

24

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

25

บทที่ 3 การเงินและการจัดการ เนื้อหา - คาใชจายและรายได - การจัดการและการบริหารงานภายในสวนสัตว - งานใหการศึกษา - กฎระเบียบในการเที่ยวชมสวนสัตว

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

26

สวนสัตวประกอบดวยสวนประกอบหลายสวน มีผูปฏิบัติงานหลายฝาย พนักงานเลี้ยงสัตว คือสวนประกอบสวนหนึ่งเทานั้น บทนี้เราจะมองไปยังสวนอื่นที่มีความสําคัญ ๆ ของสวนสัตว

A

คําถาม ใหคุณลองสํา รวจดูวา เจาหนาที่ใ นสวนสัตวประกอบดวยเจาหนา ที่ตอ งปฏิบัติงาน

อะไรบาง ในพนักงานหนึ่งคนอาจมีหลายหนาที่ โดยใหเวลา 10 นาที

หนาที่ที่ผมคิดไดคือ - ผูเ ลี้ยงสัตว - คนขายตั๋วหรือคนตรวจตั๋ว - คนครัว - เจาหนาที่ใหการศึกษา - คนทําความสะอาดหองน้ํา - คนทําสวน - คนคลังอาหาร - สัตวแพทย - พนักงานบัญชี - ฝายประชาสัมพันธ - ผูอํานวยการสวนสัตว หัวหนาแผนกบํารุงรักษาสัตว หัวหนาแผนกโยธา หัวหนาแผนก ประชาสัมพันธ - พนักงานธุรการ - ชางออกแบบ ถาเปนสวนสัตวที่มีขนาดเล็ก งานเหลานี้รับผิดชอบโดยคนจํานวนนอย คาใชจาย ในการสรางสวนสัตวแหงใหม คาใชจา ยจะใชไปในเรื่องของถนน สิ่งกอสรางตาง ๆ รั้ว อาคาร ที่จอดรถ ระบบน้ํา ระบบไฟฟา หลังจากสิ่งกอสรางเสร็จสิ้นการนําสัตวเขามาเลี้ยง คาใชจายในการเลี้ยงดูปตอป ในหัวขอตอไปนี้เปนคาใชจายในหมวดตาง ๆ ใหคุณทดลองเรียงลําดับ คาใชจายเหลานี้ดูจากมากที่สุดไปหานอยที่สุด และดูดวยวารายการใดที่ไดเปนรายไดกอนใหญที่สุด การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

27

รายได - บัตรผานประตู - สวนแบงขายอาหาร รานขายของที่ระลึก รายจาย - คาอาหารสัตว - เงินเดือนพนักงานและลูกจาง - คาบํารุงรักษาอาคารสถานที่ - คาน้ํา ไฟฟา คายานพาหนะ - คายาและเวชภัณฑ งานวิจัย - คาโฆษณาประชาสัมพันธ รายไดทั้งปและคาใชจายของสวนสัตวแหงหนึ่ง เพื่อใชในการตรวจสอบคําตอบ รายได - คาบัตรผานประตู 200,000 ปอนดื - กําไรจากสวนอื่น ๆ ? คาใชจาย คิดเปนเปอรเซ็นต - เงินเดือนพนักงานและลูกจาง 90,000 ปอนด 36 - คาอาหารสัตว …………………..35,000 ปอนด 14 - คาบํารุงอาคาร สถานที่ ………..35,000 ปอนด 14 - คาน้ํามัน-ยานพาหนะ น้ํา ไฟฟา ..20,000 ปอนด 8 - คาสําหรับการดูแลสัตว งานใหการศึกษา……65,000 ปอนด 26 % - คาโฆษณา ประชาสัมพันธ……. 5,000 ปอนด 2% รวม 250,000

100

ใกลเคียงกับที่คิด ๆ ไวหรือไม

ใหคุณลองตอบคําถามตอไปนี้ 1.คาใชจายใดเปนคาใชจายสูงที่สุดและลําดับรองลงมาคืออะไร 2. คาใชจายสําหรับคาอาหารคิดเปนกี่เปอรเซ็นต คุณอาจจะคาดไมถึงวาคาอาหารอยูใ นอับดับที่ 3 ซึ่ง เปนคาใชจายกอนหนึ่งที่ไมมากเลย 3.คาใชจายในหมวดการดูแลสวน ดูแลอาคารสถานที่ คาไฟฟา ใหลองหาขอมูลวามีการเพิ่มขึ้นหรือ การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

28

ลดลง 4.เมื่อไดเงินจากคาผานประตู 200,000 ปอนด สวนที่ขาดทุนอยูเราจะไดจากที่ใด 5.ในฐานะที่เราเปนผูเลี้ยงสัตว( Zoo Keeper ) เราจะมีวิธีการชวยลดคาใชจายไดอยางไร

(แผนงานที่ตองทําในสวนสัตว )ใหคุณลองกลับไปดูงบบัญชีของสวนสัตวของคุณเองที่มีการ พิมพ ในลักษณะของขอมูลที่มีการสรุปงบทั้งป แลวเทียบเปอรเซ็นตของแตละงบดู ดูวาสิ่งที่ใชจาย มากที่สุดเปนงบตัวใด คาใชจายโดยรวมที่ใชไปทั้งหมด รายไดที่จากสวนตาง ๆ เปนอยางไร

ในฐานะที่ทานเปนสวนหนึ่งของผูปฏิบัติงานในสวนสัตว ทานสามารถพูดไดหรือไมวา สวน สัตวสามารถดําเนินงานใหสําเร็จลุลวงไปไดโดยไมตองอาศัยเงินคาผานประตูที่จายโดยผูเที่ยวชม ทาน อาจจะบอกวาทานเปนบุคลากรในสวนของงานบํารุงรักษาสัตว แตเงินที่นํามาจา ยใหทานคือ เงินที่มา จากผูเที่ยวชม ดังนั้นผูเที่ยวชมคือบุคคลที่ทานตองใหการตอนรับอยางดีที่สุดคนหนึ่งของบุคคลที่เขา มาในสวนสัตว การจัดการ หนังสือเลมนี้จะพูดถึงเรื่องการจัดการสัตวเปนหัวขอหลัก ซึ่งจะมีเนื้อหาที่เกี่ยวของกับผูเลี้ยง สัตว ที่เปนเจาหนาที่สวนหนึ่งในการจัดการสวนสัตว โดยผูเลี้ยงสัตวมีหนาที่ตอไปนี้ 1. จัดการเรื่องสุขภาพและการสุขาภิบาลใหกับสัตวเชน อาหารที่เหมาะสมในเรื่องคุณคาและปริมาณ 2. สอดสองดูแลผูเที่ยวชมใหสามารถเที่ยวชมไดอยางปลอดภัย ใหขอมูลสัตวที่ตนเองเลี้ยงดู เพื่อ สรางความพึงพอใจใหแกผูเที่ยวชม 3. ในเรื่องการประชาสัมพันธ ใหขอมูลสัตวแกสื่อมวลชน เชน นักขาว โทรทัศน ที่เขามายัง สวนสัตว หรือในกรณีที่พบปะประชาชนดานนอกเพื่อใหขอมูลที่ถูกตองและสงเสริมภาพพจนที่ดีของ สวนสัตว ในการจัดการสวนสัตวดานอื่นๆที่มีความสําคัญไมยิ่งหยอนกวากันเชน แผนกบริหารงานทั่วไป มี หนาที่บริหารการเงินเพื่อใหงานทุกดานในสวนสัตวดํา เนินไปได ประสานงานทุกแผนกใหสามารถ ทํางานรวมกันเพื่อใหบรรลุตามจุดประสงคของสวนสัตว โดยคิดถึงความกาวหนาโดยสวนรวมของสวนสัตวที่เปนแหลงที่พักพิงของพวกเรา ถาสวน สัตวเจริญกาวหนาเราที่เปนผูพึ่งพิงก็จะมีสวนไดรับความเจริญอันนั้นดวย โดยใชจายเงินงบประมาณ การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

29

ที่มีอยางมีเหตุผลและเปนประโยชนแกสวนสัตวมากที่สุด การจัดการภายในสวนสัตวแบงไดเปน 4 แผนก ไดแก 1. แผนกบริหารงานทั่วไป ในงานธุรการ บัญชี การเงิน พัสดุ 2. แผนกบํารุงรักษาสัตว ดูแลสุขภาพสัตว งานสถานพยาบาล งานเก็บขอมูลสัตว งานวิจัย และการใหการศึกษา คลังอาหาร 3. แผนกโยธา การดูแลอาคารสถานที่ ตกแตงสวน ระบบไฟฟา ประปา 4. แผนกวางแผนและประชาสัมพันธ เผยแพรสวนสัตวใหเปนที่รูจัก งานใหการศึกษา

(แผนงานที่ตองทําในสวนสัตว ) มีการพูดคุยและตอบคําถามตอไปนี้ 1. ในสวนสัตวของคุณใครคือผูกําหนดนโยบายและผลักดันนโยบายนั้นใหเกิดขึ้นจริง 2. ในสวนงานแตละสวนใครคือผูรับผิดชอบ 3. ในงานของ ผูเลี้ยงสัตว ใครคือผูวางแผนงาน ของแตละวัน 4. เขียนโครงขายสายการบังคับบัญชา สายการบังคับบัญชาโดยทั่วไป คือ - ผูอํานวยการใหญ กําหนดนโยบาย - ผูอํานวยการสวนสัตวนํานโยบายมาปฏิบัติ - หัวหนาแผนกบํารุงรักษาสัตวนํานโยบายในเรื่องเกี่ยวกับสัตวนํามาปฏิบัติ - หัวหนาโซน แจกจายงานแก ผูเลี้ยงสัตวในโซน - ผูเลี้ยงสัตวปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมาย

(จดบันทึกลงในสมุดบันทึก ) สวนสัตวของคุณอาจมีรูปแบบการบริหารงานที่ แตกตางกันออกไป ใหเขียนเปนโครงขายงานพรอมกับกําหนดหนาที่รับผิดชอบดวย ในฐานะที่คุณเปนผูเลี้ยงสัตว งานที่อยูในความรับผิดชอบของคุณ คือ การจัดการสัตวและ งานประชาสัมพันธ ซึ่งเปนงานที่มีสําคัญอันหนึ่งในฐานะที่เราเปนสวนหนึ่งของสวนสัตวที่ตองพบปะ กับผูเที่ยวชม คุณคือตัวแทนของสวนสัตว การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

30

คุณกับผูเที่ยวชม อะไรคือเหตุผลทีผ่ ูเที่ยวชมมาเที่ยวที่สวนสัตว แนนอนวาสาเหตุหนึ่งคือเพื่อพักผอนและความ เพลิดเพลิน ในฐานะที่คุณเปนผูเลี้ยงสัตว มีขอจํากัดในการใหขอมูลแกผูเที่ยวชม เชน 1.ในการใหขอมูล อยาใหขอมูลในสิ่งที่เปนไปเพื่อความสนุกสนานมากเกินไป ใหนึกถึงขอมูลที่ถูก ตอง 2.ถามีขอมูลใดที่ไมแนใจ อยาใหขอมูลในแงของความคิดเห็น มีหลายคําถามที่ยังไมมีคําตอบที่ชัดเจน 3. หลีกเลี่ยงการพูดถึงขอมูลที่เปนศัพททางวิชาการที่มากเกินไป 4. จดจําภารกิจงานของสวนสัตวไวใหชัดเจน งานใหการศึกษา สวนเสริมงานใหการศึกษา ตัวอยางเชน การใหคําแนะนํา เพิ่มเติมโดยพนักงานเลี้ยงสัตว ปายใหการศึกษา

Q ( ลองเขียนจําตอบลงในสมุดบันทึกกอนดูคําตอบ ) คุณลองนึกถึงสวนสัตวของตัวคุณเองหรือใน สวนสัตวอื่นที่คุณเขาไปเยี่ยมชม งานใหการศึกษาแกผูเที่ยวชมมีรูปแบบอยางไร เขียนลงสมุด ในสวนสัตวของคุณอาจมี 1.แผนพับ 2.สมุดงานสําหรับนักเรียนเขาคาย 3.การสอนแกกลุมนักเรียนสัตวแพทยโดยสัตวแพทยประจําสวนสัตว 4.โรงภาพยนตร ที่ฉายภาพยนตรสารคดีเกี่ยวกับสัตว

Q ( ลองเขียนจําตอบลงในสมุดบันทึกกอนดูคําตอบ ) ถามีกลุมเฉพาะเราจะมีวิธีการใหการศึกษาแก กลุมเหลานี้อยางไร ( ลองกําหนดกอนวากลุมเฉพาะจะเปนใครเชนนักเรียนประถม กลุมผูสูงอายุ ) เราอาจมีความคิดวาการใหสมุดงานนั้นเฉพาะนักเรียนเทา นั้นหรือ การฉายภาพยนตรนั้น สําหรับกลุมที่สนใจในเรื่องบางเรื่องหรือการใหขอมูลแนะนําทั่วไปของสวนสัตวสําหรับนักเรียน ครูที่นํานักเรียนมาที่สวนสัตวมีค วามตองการที่จะใหขอมูลเกี่ยวกับสัตวแกนัก เรียน แตดวย ขอมูล ที่มีอ ยูไมเพียงพอ ดังนั้นสวนสัตวจึง ตองเปนผูเตรียมสื่อ การสอนที่นาสนใจใหแกค รูและ การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

31

นักเรียน รูปแบบที่นําเสนอ เชน ภาษาอังกฤษ รูปภาพระบายสี รูปโลกที่แสดงถิ่นที่อ ยูของสัตว ชนิดนั้น ๆ หรือ**การทําเปนคูมือแนะนําสัตวในสวนสัตวใหครูไดมีโอกาสทราบขอมูลกอนที่จะมา ที่สวนสัตวและ ตัวของเองครูจะเปนฝายใหขอมูลในขณะที่พานักเรียนชมสัตว การเที่ยวชมเปนกลุมไมวาจะเปนวัยใดหรือกลุมอาชีพใดก็ตามแตตอ งการผูนํา ชม มีรูปแบบ การใหขอมูลในขณะนําชม ใชเครื่องมืออื่น ๆ ประกอบ ในหนาถัดไปเปนรูปแบบสมุดงานที่ใหแกนักเรียนที่มาเที่ยวชมสวนสัตวนครราชสีมา (แผนงานที่จะทําในสวนสัตว ) ในบทบาทของการเปนพนักงานเลี้ยงสัตว ใหคุณคิดถึงงาน ใหการศึกษาของสวนสัตวควรเปนอยางไร ปญหาที่เกิดขึ้นกับกลุมของนักเรียนในงานใหก ารศึกษาที่ เขามาใช สวนสัตวมีอะไร ใครคือผูที่ตองรับหนาที่ในการดูแลกลุมนักเรียนที่เขามาในสวนสัตว ในสวนสัตวขนาดใหญ จะมีเจาหนาที่เกี่ยวของกับงานใหการศึกษา แตถาเปนสวนสัตวขนาดเล็ก เจาหนาที่จากสวนอื่นๆ อาจ ตองเขามาเกี่ยวของกับการพานักเรียนเที่ยวชมสัตวโดยรอบสวนสัตว ตองหาวา ใครคือผูที่มีหนา ที่นี้ ใครมีความสนใจที่จะทําหนาที่นี้ ถาสวนสัตวของคุณยังไมมีการจัดการงานใหการศึกษา ใหปรึกษาสวนสัตวที่อยูใกลเคียงที่ได เริ่มงานสวนนี้ไปแลว

เด็กหรือผูใหญบางคนตองการสัมผัสกับสัตว ซึ่งกลุมสัตวที่สามารถสัมผัสไดคือสัตวในกลุมที่ เราคัดสรรไวในสวนสัตวเด็ก แตอยางไรก็ตามกลุมสัตวนี้ตองไดรับการดูแ ลเชนกัน เนื่อ งจากสัตว ไมใชของเลน ที่สามารถทําตามความพอใจอยางไรก็ได ______________________________________________________ เขียนขอ ความสั้น ๆ ในสมุดจดขอความสําคัญ (neat book ) ถึงสิ่งที่คุณสามารถชวยงานให การศึกษาภายในสวนสัตวได การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

32

ระเบียบในการเที่ยวชมสัตว ระเบียบที่มีสําหรับผูเที่ยวชมในสวนสัตวเพื่อ 1. สวนสัตวสามารถดําเนินงานไปไดอยางราบรื่น 2. เพื่อความปลอดภัยของสัตว เจาหนาที่ในสวนสัตว ผูเที่ยวชม ภายในสวนสัตว ผูเที่ยวชมอยูในฐานะที่ผูมาเยือนหรือแขก ถึงแมวาจะเปนผูมาเยือนที่ได จายเงินคาผานประตูเพื่อใชบริการ แตก็มีกฎระเบียบที่ผูเที่ยวชมตองกระทําตาม มีสิ่งที่กระทําไดและ ทําไมได ดานหลังตั๋วที่ใหแกผูเที่ยวชม ตอ งเขียนระเบียบการเที่ยวชมไวใ หเรียบรอย ดานหนาตั๋ว ตองเขียน “โปรดพลิกอานดานหลัง”

1.ลองดูวาระเบียบขอบังคับในการเขาชมของสวนสัตวคุณเปนอยางไร มีบางขอที่อานแลวอาจดูแลวผู เที่ยวชมไมคุนเคย แตความเปนจริงแลวขอบังคับเหลา นี้เกิดจากเหตุก ารณที่เกิดขึ้นจริงและกอ ความ เสียหายใหแกสวนสัตว มีระเบียบการเที่ยวชมไวที่ประตูทางเขาที่ผูเที่ยวชมสามารถอานไดชัดเจนหรือไม มีก ารเขียน ระเบียบไวที่ดานหลังของตั๋วหรือไม มีวธิ ีการจัดการกับผูเที่ยวชมที่ฝาฝนกฎอยางไร เขียนกฎระเบียบลงใน notebook

( แผนงานที่จะตองทําในสวนสัตว )พนักงานและลูกจางทุกคนในสวนสัตวมีหนาที่จะทําใหกฎระเบียบ ของสวนสัตวไดรับการปฏิบัติ การใสชุดที่เปนเครื่องแบบหรือปายบอกชื่อเพื่อเปนการแสดงแกผูเที่ยว ชมทราบวามีเจาที่คอยอํานวยความสะดวกและสามารถสอบถามขอมูลได เมื่อพบความยุงยากในการที่จะเขาจัดการ สิ่งหนึ่งที่ตองนึกถึงเชนกันคือ เราตองการใหผูเที่ยว ชมไดรับความสุขที่เขามาเที่ยวชมในวันนี้และกลับมาใชบริการของสวนสัตวใหมในวันหนา

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

33

เมื่อพบการกระทําที่ฝนกฎคําพูดที่เราจะกลาวแก ผูเที่ยวชมคือคําพูดอยางไร เชนพบคนเคาะ กระจกงู พบคนโยนอาหารใหลิงชิมแพนซีกิน การฝกกรณีฉุกเฉิน การฝกในกรณีฉุกเฉิน เชน กรณีสัตวหลุด ไฟไหม การดําเนินการจะตองปฏิบัติเชนไร ขอ 1 2 3 4 ตองมีการซอมเพือ่ ใหผูเกี่ยวของทุกคนทราบขั้นตอนและสิ่งที่ตนเองตองปฏิบัติ

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

34

บทที่ 4 การเก็บขอมูล เนื้อหา -

ทําไมตองมีการบันทึกขอมูล การจําแนกตัวสัตว การบันทึกนั้นทําอยางไร การนําขอมูลไปใช ขอมูลเพิ่มเติม

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

35

ทําไมตองมีการเก็บขอมูล เมื่อมีสัตวชนิดใหมเขามาในสวนสัตว มีขอมูลหลายขอที่คุณอยากรู ______________________________________________________

Q

คํา ถามที่คุณตอ งการคํา ตอบเมื่อ มีสัตวใหมเขา มาและเปนสัตวที่คุณตองรับผิดชอบ (เขียน

คําตอบลงในสมุดบันทึกกอนที่จะดูคําตอบ ) ______________________________________________________ สิ่งที่คุณตองคิดคือ - เปนสัตวที่เคยอยูในสวนสัตวมากอนหรือไม - สวนแสดงและคอกกักที่เหมาะสมควรเปนอยางไร - การจัดการทั่วไปในเรื่องของอาหาร อุณหภูมิ พฤติกรรมของสัตว - ในเรื่องการขยายพันธุ ระยะการตั้งทอง ถาแมไมเลี้ยงตองจัดการอยางไร - โรคที่พบบอย ๆ ของสัตวชนิดนี้คืออะไร - มีหนังสือที่เขียนถึงสัตวชนิดนี้ที่เราจะใชอานมีหรือไม ______________________________________________________

Q คุณมีขอมูลเหลานี้ในสัตวที่คุณดูแลอยูหรือไม ทําไมเราจึงตองการขอมูลเหลานั้นดวย (เขียน คําตอบลงในสมุดบันทึกกอนที่จะดูคําตอบ ) ______________________________________________________ - ในกรณีที่เกิดสัตวปวย สิ่งที่คุณอยากรูเชน สัตวตัวนี้เคยปวยมากอนหรือไม การรักษาทํา อยา งไร ใครที่เราจะปรึกษาเขาไดบาง - ถาเปนสัตวที่ยายเขามาใหมคุณอาจตองการทราบวา สัตวตัวนี้เคยอยูที่สวนสัตวใดกอนหนานี้หรือไม มีปญหาที่เรายังไมทราบมากอนหรือไม การแกไขทําไดอยางไร - ถาสวนสัตวของเรามีการเก็บขอมูลในหัวขอเหลานี้ไว ขอมูลเหลานี้จะทําใหเราสามารถรับรูปญหาที่ อาจจะเกิดซ้ําขึ้นมาอีกได

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

36

- อยาใหเกิดกรณีที่ตองการขอมูล เชน ยีราฟตัวนี้อายุเทาไหร แลวมีคําตอบวาใหถาม คนเลี้ยงที่ชื่อพี่ สมชายดูซิ แกเลี้ยงมาตั้งแตตกลูกจากทองแมแ ลว และถาหากวา ผูเลี้ยงสัตวทานนั้น ออกจากงานไป ขอมูลที่เขารูก็หายไปกับตัวเขาดวย การสรางการระบบการจดบันทึกขอมูลจึงตองมีขึ้น - เก็บขอมูลใหเปนระบบ อยา ใหอ ยูในความทรงจํา เพียงอยางเดียว การสื่อสารใหส วนสัตวอื่นได ทราบ อาจมีบางเรื่องที่ไมสามารถเปดเผยไดก็มี ถาเรื่องไหนพอเลาไดก็เลาหรือเขียน - เมื่อการตายของสัตวเกิดขึ้น ถึงแมตัวสัตวไมมีตัวตนอยูแ ลว แตสัตวตัวนั้นจะยังอยูในสวนของ ขอมูลสัตวตอไป ขอใหขอมูลที่เก็บไวใหเปนประโยชนในการจัดการสัตวตัวอื่น ๆ ที่จะตองมาอยูที่ สวนสัตวแหงนี้หรือเปนขอควรระวังใหกับสวนสัตวอื่น ๆ อยาใหความสูญเสียแบบนี้เกิดขึ้นอีก ______________________________________________________

A

คงจําไดจากบทที่ 2 ที่กลาวถึงจุดประสงคของสวนสัตว ขอมูลที่เรามีอยูจําเปนตองเผยแพรตอ

สวนสัตวอื่นเพื่อความเขาใจในสัตวชนิดนั้นใหมาก ลองเขียนถึงขอมูลที่ควรจะเก็บไว โดยขอมูลแตละ อยางเปนประโยชนแกเราอยางไร (ลองตอบคําถามนี้ในใจ ) ______________________________________________________ หัวขอที่เขียนไดอาจเปน - ขนาดของสัตวเมื่อโตเต็มที่แลว - อายุขัย - ถิ่นที่อยู - อาหาร - การกินอาหาร - ชวงอายุถึงวัยเจริญพันธุ มีหัวขออื่น ๆ อีกหรือไม

( งานที่จะตองทําในสวนสัตว )ใหเขียนถึงแตละหัวขอ มีความสํา คัญอยางไร มีประโยชนอยา งไร โดยลองคิดถึงเหตุการณที่เกิดขึ้นในสวนสัตวของคุณเปนตัวอยาง การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

37

เขียนสรุปวาการเก็บขอมูลสัตวมีความสําคัญอยางไรลงในสมุดบันทึก การทําเครื่องหมายสัตว การทําเครื่องหมายที่ดีคือ การสามารถแยกสัตวแตละตัวไดอยางชัดเจน ดังนั้นในระบบการ เก็บขอมูลจําเปนตองมี 1.ชื่อสัตวที่เปนชื่อวิทยาศาสตรเพื่อความเขาใจกับถึงสัตวชนิดนั้น ๆ ที่เปนระบบเดียวกัน 2.ในฝูงสัตวแตละชนิดแยกสัตวแตละตัวออกจากกันได เราจะเริ่มดวยการทําเครื่องหมายสัตวแตละตัว เมื่อทราบวาตัวใดแลวการจดบันทึกพฤติกรรม การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเปนสิ่งที่ติดตามมา การเก็บขอมูลตองทําใหถูกตอง การเก็บขอมูลควรบันทึกทันทีที่เกิดเหตุการณที่สําคัญ ขึ้น อยาใชความจํา แตใหจดบันทึกลงทันที ผูเลี้ยงสัตวจึงจําเปนที่จะตองมีสมุดที่ใชจ ดบันทึก และ สามารถเปดเมื่อตองการขอมูล สามารถบอกไดวาเมื่อวันที่ เดือน พ.ศ. เกิดอะไรขึ้น การบันทึก เปนหนาที่ที่สําคัญที่ตองปฏิบัติ การสรางระบบการบันทึก คือ ตองไมยุงยาก ไมเสียคา ใชจายมากในการดํา เนินการ ตัวอยางหัวขอที่จะบันทึก - ปริมาณปลาที่นกเพนกวินกินทั้งหมดเมื่อวานนี้ - งูหลามลอกคราบวันที่เทาไหร - เขากวางของละมั่งหมายเลข…..เขาแกหลุด เมื่อวันที่ ……… - แมลามา หมายเลข….ใหกําเนิดลูก ตัวที่ 2 เมื่อวันที่ … เวลา….. - ปริมาณหญาที่เพียงพอสําหรับวัวแดง จํานวน 5 ตัวอยูที่ประมาณ กก โดยให แบงเปน มื้อ ใหเวลา พฤติก รรมที่บอกวาสัตวอิ่มแลวคือ ถายังไมอิ่ม อาการที่สัตวแสดงออก คือ… - ขอมูลที่ตองเก็บในสัตวแตละชนิดมีความแตกตางกัน แตตองจําแนกสัตวแตละตัวใหได กอนที่จะบันทึกขอมูลลงไป การทําเครื่องหมายสัตว ______________________________________________________ การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

38

A คุณคิดวาวิธีการที่จะทําเครื่องหมายสัตวมีวิธีการใดบาง คุณไดทําการทําเครื่องหมายประจําตัว สัตวของคุณหรือไม เสร็จแลวใหบันทึกขอความสั้น ๆ ใหเวลา 5 นาที การทําเครื่องหมายสัตวแตละตัวมีความสําคัญกับการจัดการสัตวในสวนสัตวเพื่อประโยชนใน เรื่องของ - การจัดการในเรื่องพันธุกรรม - การเก็บประวัติสัตวในเรื่องการจัดการและสาเหตุการปวย ตาย การทําเครื่องหมาย ควรจะเลือกวิธีที่คนเลี้ยงสามารถแยกแยะไดวาเปนสัตวตัวใด ในสวน สัตวหลายแหง การแยกเปนตัวอาจมีเพียงสัตวไมกี่ชนิดเชน ชางที่มีจํานวนไมมากเชือก แตถาเปนใน กรณีกวางหรือจระเขซึ่งมีสัตวจํา นวนมาก เราจะแยกแยะไดอยางไร หรือการมีสัตวจํา นวนนอยแต อาศัยการจดจําของพนักงานเลี้ยงสัตวก็ไมใชวธิ ีจําที่ถูกตอง วิธีการทําเครื่องหมายสัตว ที่ดีนั้นควรประกอบดวยคุณสมบัติตอไปนี้ - ไมรบกวนตอกิจกรรมประจําวันของสัตว - ไมทําใหสัตวเจ็บหรือเครียดจากการทําเครื่องหมาย - สามารถแยกแยะสัตวเปนตัว ๆ ได - ทนทานไมลบเลือน เสื่อมไปตามเวลา - งายตอการอานและสังเกต - มีหลายขนาดตามขนาดของสัตว - วิธีการทํางาย หาซื้อไดงาย ราคาไมแพง - ไมรบกวนการมองหรือสรางภาพที่ไมรบกวนกับการชมของผูเที่ยวชม แตในความเปนจริงแลว ไมมีวิธีการทําเครื่องหมายชนิดใดที่ตอบสนองคุณสมบัติตาง ๆ เหลานี้ไดทั้งหมด ตัวอยางการทําเครื่องหมายสัตว เชน 1.ลวดลายธรรมชาติของตัวสัตว วิธีการนี้เทียบเทาไดกับลายมือของคน ตัวอยางเชน สีขนของตัว สัตวซึ่งหากมองผิวเผินจะมองไมเห็นความแตกตาง การเรียงตัวของเสนหนวดของสิงโต ลวดลายบน จะงอยปากของหงส การแตกกิ่งของเสนเลือ ดที่ใบหูของชาง จุดสีดํา ที่อ ยูบนหนาอกของนก เพนกวินฮัมโบลท ความแตกตางที่กลาวมา คนเลี้ยงที่อยูใกลชิดทุกวันจะจําได แตถาคนเลี้ยงที่ไมคุนเคยกับตัว สัตวใหใชการเขียนถึงลวดลายจําเพาะนั้นไวหรือการถายรูปเพื่อใชเปนเครื่องหมายอางอิง

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

39

ขอดีของการใชวิธีนี้คือ ไมเปนการรบกวนสัตว มองเห็นไดจากระยะไกลเพื่อหลีกเลี่ยงการ จับสัตว ติดตัวสัตวไมเปลี่ยนแปลงหรือเลือนหาย การทําเครื่องหมายบนตัวสัตวเชน ปายที่หู ดูแลว ไมสวยงาม ซึ่งบางครั้งผูเที่ยวชมมีความรูสึกเหมือนการทําเครื่องหมายในสัตวปศุสัตว แตการใชวิธีดู ลวดลายบนตัวสัตวจะไมไดผล ในกรณีที่สัตวอยูเปนฝูงและความแตกตางของสัตวแตละตัวมีนอย 2.หวงขา ในนกจะใชกันแพรหลาย การใชหวงที่ปกของคางคาว ใชหวงคอที่คอของหานและหงส ขอดีของการใชหวงขาแบบหวงตางสีที่อา นเปนตัวเลขตาง ๆ สามารถเห็นไดระยะไกล ขอเสียคือถาหวงนั้นไปรัดขานกเปนสาเหตุใหเกิดการติดเชื้อได 2.band1 n. a flat, thin strip or loop of material used as a fastener, for, reinforcement, or as decoration. A belt or strap transmitting motion between two wheels or pulleys. N. Amer. Ornithology a ring of metal placed round a bird’s leg to identify 3.การใชปายขนาดเล็ก เปนแบบที่ใชกันแพรหลายชนิด เชน ในกลุมที่มักติดปายขนาดเล็กที่หูคือ สัตว ในอันดับกีบคู เขน แอนติโลพ กวาง อันดับกีบเดียว เชน มา กลุมจิงโจ นก เชนนกกระจอกเทศ สามารถติดไดที่ปก (wing tag) ติดที่ครีบสําหรับการวายน้ําสําหรับสัตวในกลุม pinnipeds เชน แมวน้ํา สิงโตทะเล และ cetaceans เชน โลมา ติดที่ครีบของเตาทะเลหรือที่พังพืดเทาของนกทะเล ติดที่ขอบ กระดองของทั้งเตาบกและเตาน้ํา ติดที่สวนหางของจระเข ขอดีของปายขนาดเล็กคือราคาถูก ใชงาย ขอเสียคือ ทําใหหลุดออกไดโดยตัวของสัตวเอง ตัว เลขที่เขียนอาจลบเลือนได การติดที่ตัวสัตวอาจเปนสาเหตุของการติดเชื้อ นอกจากนั้นการติดปายการ มองจากผูเที่ยวชมอาจดูไมสวยงาม (3..Tag a small piece or part that is attached to a main body .,a ragged lock of wool on a sheep .,the tip of an animal’s tail when it is distinctively coloured ., a loose or spare end of something ;a leftover., a metal or plastic point at the end of a shoelace.) 4.การตัดที่ขอบของหูใชมากในกวางและสัตวเลี้ยงลูก ดวยนมอื่น ๆ ใชในกลุมเตาที่ตัดของดา นขาง ของกระดอง การตัดเกล็ดที่หางดานบนของจระเข ระบบการตัดเพื่อแสดงตัวเลขก็แ ตกตางไปตาม ชนิดของสัตว .Notch n. an indentation on incision on an edge or surface. Each of a series of holes for the tongue of a buckle. A nick made on something to keep a record., a point or degree in a scale. 5.การนาบดวยเหล็กรอนหรือเขียนดวยสารเคมีที่มีความเย็นจัด (5.Brand n. an identifying mark burned on livestock with a branding iron.)

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

40

6.การสัก มีการใชในสัตวเลี้ยงลูกดวยนม โดยใชเครื่องสักแบบเปนปากคีบที่มีตัวเลขสักบนผิวหนัง (a tatoo piler) หรือเครื่องสักแบบปากกาไฟฟา(an electric tatoo pencil) ตําแหนงที่จะสักเชน ในกลุมสัตว เลี้ยงลูกดวยน้ํานม ดานในของใบหู ดานในของตนขา ที่ทอง ชวงอก ขอดี คือสามารถเขียนอักษร และตัวเลขตามที่ตอ งการ ขอดอยคือ ตอ งจับตัวสัตวเพื่ออา นเครื่องหมายที่สักไว ตัวอัก ษรที่สักอาจ เลือนตามเวลา ถาสักชั้นในชั้น subcutaneous มากกวาชั้นintradermal ( 6.Tattoo v. make with an indelible design by inserting pigment into punctures in the skin. ) 7 การใชทรานสปอนเดอร เปนวิธีการที่ใหมที่สุดสําหรับการทํา เครื่องหมายสัตว ทรานสปอนเดอรเปนโลหะขนาดเล็ก ขนาด 1 มม.*4 มม. ซึ่งเปนขดลวดทองแดงที่เปนตัวสรางตัวเลขเมื่ออานดวยคลื่นวิทยุความถี่ต่ํา จาก external scanner โดยระยะหา งจากเครื่อ งอ า นกับจุด ที่ ฝงไมโครชิพไมหา งมากนัก ในระยะไม กี่ เซนติเมตร โดยการฝงไมโครชิพจะฝงที่ผิวหนังชั้นซับคิวเตเนียส หรือฝงเขาไปในชั้นกลา มเนื้อ ขอดอยของการใชไมโครชิพคือตองบังคับสัตวเพื่ออานตัวเลขในระยะใกล ไมโครชิพที่ฝงอาจหลุดได ถาเราฝงไมดีพอ เปนระบบที่มีก ารใชอยางแพรหลาย โดย ISIS (international Species Information System) ใชเปนมาตรฐานสําหรับการกําหนดตัวสัตวตลอดอายุของสัตวตัวนั้น ที่ใชเปนมาตรฐานเดียวสําหรับ ทุกประเทศที่เปนสมาชิกของไอซิส ซึ่งการที่มีขนาดเล็กทําใหสามารถใชไดกับทั้งสัตวมีกระดูกสันหลัง และสัตวที่ไมมีกระดูกสันหลัง จุดที่ใชฝงไมโครชิพ - สัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานม ดานหลังหูซายหรือขวา ระหวางกระดูก scapular - นก ที่กลามเนื้อหนาอก pectoral ซายหรือขวา ที่กลามเนื้อนองขา Thigh ขางซายหรือขวา - สัตวเลื้อยคลาน เตาที่หัวไหล ซายหรือขวา งู และ lizard (กิ้งกา ตะกวด ที่โคนหางดาน บนขวาหรือซาย) ( 7.transponder n. a device for receiving a radio signal and automatically transmitting a different signal.) การจัดเก็บขอมูล ขอจดจําสิ่งหนึ่งคือการกลับมาอานขอมูลที่จดไว 1.ขอมูลที่เก็บไวตองอยูในลักษณะที่สามารถคนหาไดงาย 2.เพื่อใหขอมูลที่จดไวจะสามารถใชไดในอนาคต 3.ขอมูลที่จดไวตองสามารถระบุชนิดสัตวและตัวสัตวนั้นได การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

41

ซึ่งหมายถึงตองมีแฟมสําหรับเก็บขอมูลเฉพาะสัตวชนิดนั้นแยกจากแฟมสัตวชนิดอื่นๆ และมี ขอมูลเบื้องตนที่แยกตัวสัตวเปนตัวไวเรียบรอยแลว เมื่อจะตองมีขอมูล เพิ่มเติมเขามาจะไดจัดเก็บ เพิ่มเติมไดอยางถูกตอง ตัวอยางระเบียนสัตว ตัวอยางระเบียนสัตว ระเบียนสัตว หมายเลขสัตว ชื่อวิทยาศาสตร Family ชื่อสามัญ ชื่อไทย เพศ ชื่อที่คนเลี้ยงตั้ง เครื่องหมายประจําตัว ถิ่นกําเนิด ประเทศที่มา วันที่สัตวเขา ไดสัตวจาก ที่เกิด พอ……………….แม วันที่สัตวออกจากสวนสัตว สาเหตุ สาเหตุการตาย เลขที่ใบสัตวตาย เลขที่ใบสัตวปวย แผนระเบียนสัตวนี้ควรจะมี 2 แผนในสัตว 1 ตัวคือ แผนตนฉบับ ( master card ) อยูที่หอง ทํางานของแผนกบํารุงรักษาสัตว แผนที่ 2 เปนสวนที่ผูเลี้ยงสัตวr ตองเก็บรักษาและจดขอมูลเพิ่มเติม - แผนทั้งสองนี้จะนํามารวมกันในกรณีที่สัตวตาย หรือยายสัตวไปยังสวนสัตวแหงใหม เพื่อนํา ขอมูล ของสัตวตัวที่ยายนี้ติดตามตัวสัตวไปดวย - การเขียนรายงานประจําวันของผูเลี้ยงสัตว ซึ่งผูแปลขอใหความเห็นวา ควรเขียนในสมุด เชนสมุด เลมยาวสีน้ําเงิน ซึ่งหนึ่งเลมจะมีความตอเนื่องไดประมาณ 1 ปครึ่ง การจดบันทึกในสวนขอมูลที่ สําคัญใหหัวหนาแผนกบํารุงรักษาสัตว จะเปนผูทําเครื่องหมายใหเจาหนาที่ธุรการเปนผูจดขอมูล ของ สัตวแตละตัวลงในสวนขอมูลของสัตวตัวนั้นๆ - โดยระบบงานของสวนสัตวตองการที่จะใหผูเลี้ยงสัตว เปนบุคคลชางสังเกต ใหความเอาใจใสในสัตว ที่ตัวเองมีความรับผิดชอบอยู ตองการให ผูเลี้ยงสัตวรายงานสิ่งผิดปกติของตัวสัตวมาตามลําดับชั้น การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

42

- นอกจากเรื่องสัตวแลว หัวหนางานตองการทราบในเรื่องอื่นๆ เชน 1.ผูเลี้ยงสัตวมาทํางานตามปกติหรือไม ซึ่งถาไมมีรายงานเขามาอาจมีการเจ็บปวยจะไดมีการติดตามการ ปวยเกิดจากสาเหตุใด 2.ในรายงานใหเขียนเกี่ยวกับสิ่งที่ตองซอมแซม ตองเบิกของเพื่อซอมแซมในรายการใดบาง ถาราย งานยังมีเรื่องเดิมเขามาอยูแสดงวาเรื่องยังไมไดมีการแกไขใหเรียบรอย 3.สภาพอากาศ 4.งานพิเศษเพิ่มเติมที่หัวหนางานไดสั่งเพิ่มเติม เชนงานซอมแซมกรง คอก 5.สภาพปญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในงาน 6..ตองการตรวจสอบปริมาณงานที่ ผูเลี้ยงสัตวทําไดในแตละวัน เพื่อใชเปนขอมูลในการประเมินผล งานปลายป - ในสวนของตัวสัตว ขอมูลที่ตองมีการจดบันทึกเชน 1.การเกิดและการตายของสัตว 2.การเคลื่อนยายสัตว เชนการยายไปยังสวนสัตวแหงใหม 3.การปวย อาการปวย 4.พฤติกรรมการผสมพันธ พฤติกรรมที่ผิดไปจากวันอื่นๆ 5.กรณีการลอกคราบของงู การหลุดรวงของเขากวาง 6..ปริมาณและคุณภาพอาหารที่ไดรับจากคลังอาหาร ไดรับปริมาณที่เพียงพอกับการกินของสัตวหรือ ไม คุณภาพของอาหารที่สงมาดีหรือไมดีอยางไร 7..สภาพของตัวสัตววามีเห็บ เหา หมัดในตัวสัตว มีหนู แมลงสาบในบริเวณคอกมากนอยเพียงใด

Q

ใหคิดถึงประเด็นหรือหัวขอที่ผูเลี้ยงสัตวตองเขียนไปในบันทึกประจําวัน

ใบบันทึกที่ทําเปนแบบฟอรม (เพื่อใหผูกรอกขอความ เขียนขอความไดครบถวน ) 1..ใบบันทึกการรักษาสัตวของสัตวแพทย 2.ใบบันทึกการตรวจงานของหัวหนางานในเรื่องความเรียบรอยของสวนตางๆของคอก เชน คอกกัก ถาดอาหาร จุดชม พื้นสวนแสดง รมเงา 3.ใบบันทึกการวางยาสลบสัตว ซึ่งในขบวนการนั้นอาจมีการเจาะเลือดเพื่อตรวจสุขภาพเพิ่มเติมดวย จะมีใบบันทึกผลเลือดเขามาเกี่ยวของดวย การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

43

4.ใบบันทึกผลการผาซากสัตวตาย ในกรณีนี้รวมถึงภาพถายวิการที่แสดงสาเหตุการตาย แนบรายงานที่ ไดจากศูนยชันสูตรโรคสัตวหากสงตัวอยางตรวจเพิ่มเติมหรือทําการผาซากที่ศูนยชันสูตรโรคสัตว 5. ใบบันทึกขอเพิ่มลดอาหาร 6.ใบบันทึกการเคลื่อนยายสัตวระหวางสวนสัตว 7.ใบรายงานแจงสัตวปวยของผูเลี้ยงสัตว 1. ใบรายงานแจงสัตวตายของผูเลี้ยงสัตว 2. ใบรายงานสัตวเกิดของผูเลี้ยงสัตวผูเลี้ยงสัตว

Q

ในสวนสัตวของคุณมีแบบฟอรมที่แตกตางจากหัวขอที่กลาวมาหรือไม

ในการใชใบบันทึกตางเหลานี้สิ่งที่สําคัญอันหนึ่งคือ ใบบันทึกบางใบตองมีการนํา เสนอใหผู บังคับทราบเพื่อการสั่งการเพิ่มเติม เมื่อจบกระบวนการแลวตองมีการถายเอกสารเพื่อนําเขาแฟมที่เปน แฟมระเบียนของสัตวชนิดนั้นๆ ใหเรียบรอย เพื่อ ใหการคนขอมูล ทําไดงา ย เชน ในรายงานสัตว ปวย เมื่อเสร็จสิ้นกระบวนการ ไมวาจะหายเปนปกติหรือตาย ใหนําใบรายงานการรักษาเขาแฟมของ สัตวชนิดนั้นดวย สรุป - ใหเรายอนกลับไปที่ขอความที่กลาวไวตอนตนของบทที่ 4 นี้ แลวลองดูวาการจดบันทึกนั้นสามารถ ใหขอมูลตามที่เราตองการนั้นไดหรือไม - การจดบันทึกจะเปนตัวชวยในการปรับปรุงความเปนอยูข องสัตวได แตก ารจดบันทึก จะเกิดความ สมบูรณไดนั้นตองมีปจจัยประกอบเชน 1.การทําเครื่องหมายสัตวกับสัตวทุกตัวดวยวิธีที่เหมาะสมตามเนื้อหาที่ไดกลาวไปแลว 2.มีกระบวนการเก็บขอมูลอยางละเอียดในแงมุมตางๆ อยางเปนระบบ 3. การคนขอมูลสามารถทําไดงาย

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

44

บทที่ 5 สวนแสดงสัตวและการออกแบบสวนสัตว เนื้อหา -

การออกแบบสวนสัตว สวนประกอบของกรงคอกสัตว แนวคอก วัสดุ งานบริการ

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

45

บทเรียนในบทที่ 3 เปนเนื้อหาที่กลาวถึงคาใชจายที่เราจะตองใชจายเพื่อเตรียมสวนสัตวใหเปน ที่ที่จะดูแล จัดการสัตวไ ด ใหบริการผูเ ที่ยวชม มีเงินที่จ ะจา ยใหกับลูก จางและพนัก งานเพื่อเปน คาใชจายประจําวันของตนเองและครอบครัว สวนสัตวก็มีจุดเริ่มตนจากสวนแสดงสัตวสําหรับสัตว หนึ่งชนิดจนกระทั่งเต็มโครงการ การออกแบบคือจุดเริ่มตนของงานกอสรางทั้งหมด

A

ใหเขียนสวนประกอบทั้งหมดในสวนสัตวที่จะตองมีเพื่อให การดําเนินงานของสวนสัตวเปนไป

ไดอยางราบรื่น เปนที่ประทับใจแกผูเที่ยวชม ใหไดความสําเร็จตรงกับจุดประสงคที่เรากลาวถึงในบท ที่สอง ใหใชแ นวคิดของคุณเองเพื่อที่จะใหสวนสัตวสํา เร็จอยางที่คุณคาดหวัง (เชน รั้ว อาคาร สํานักงาน ถนน สวนแสดงสัตว )

สวนประกอบของสวนสัตวที่คุณอาจตรงกับสวนประกอบที่จะกลาวตอไปนี้ - รั้วที่เปนสิ่งถึงบอกอาณาเขตของสวนสัตว กันสัตวที่มีในสวนสัตวออกนอกเขต - ถนนภายในสวนสัตว ทางเดินเทาสําหรับผูเที่ยวชม ลานจอดรถซึ่งถามีรมเงาจะดีมาก - สวนแสดงสัตวที่เหมาะสมสําหรับสัตวแตละชนิด - สํานักงาน หองทํางานสําหรับพนักงาน - บานพักของเจาหนาที่ภายในเขตสวนสัตว - สวนสําหรับรับนักทองเที่ยวที่มาเปนกลุมเชนนักเรียน หองบรรยายสําหรับใหความรู หองที่ ใหความรูแกนักเรียน - คลังอาหาร ซึ่งมีสวนหองเก็บอาหารแหง หองเตรียมอาหาร หองเย็นสําหรับเก็บปลาหรือเนื้อ - โรงชางสําหรับเก็บอุปกรณงานชางและงานกอสราง - หองทํางานของชางศิลป - ดานหนาของสวนสัตวที่มีจุดดึงดูดใจใหอยากเขาเที่ยวชม หองขายตั๋วที่สะดวกกับการทํางาน - โรงอาหารที่มีระบบที่เอื้อใหการทํางานทุกขั้นตอนถูกสุขอนามัย - แผนกบํารุงรักษาสัตวที่ประกอบดวย หองสมุดที่เก็บหนังสือที่เกี่ยวของกับสัตวและพืช หอง ทํางานของพนักงาน โรงพยาบาลสัตว หองเลี้ยงสัตวออน หองผาซาก หองฟกไข สวนกักกัน โรคสัตวสําหรับสัตวเขาใหม หรือสวนที่ตองจัดเตรียมไวสําหรับสัตวบริจาคจากประชาชน (ที่ เปนภารกิจสวนหนึ่งสําหรับสวนสัตวแลว ) การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

46

- สวนเพาะขยายพันธุสัตวที่ใกลสูญพันธุ ตองแยกจากสวนของสวนแสดงที่มีผูเที่ยวชมเขามาดู สัตว - หองน้ําที่ตองมีปริมาณเพียงพอในชวงที่มีเขามาเที่ยวชมจํานวนมากในชวงวันหยุดที่มีผูมาใช บริการจํานวนมาก - ระบบน้ํา ระบบไฟฟา ที่เพียงพอกับการใชงาน - อาคารเพาะชําตนไม - ที่รวบรวมขยะ ที่รวบรวมมูลสัตวที่จัดเก็บจากคอกสัตวตางๆ - ทอระบายน้ําที่รับน้ําจากถนน ระบบการรับน้ําเสียในคอกสัตวที่เกิดจากการลางทําความ สะอาด - พื้นที่ของพืชพรรณ ที่ใหรมเงา - อื่นๆ

A

นํากระดาษขาวแผนใหญหนึ่งแผน วาดเสนขอบเขตของสวนสัตวแลว วาดเสนถนน วาด

สวนประกอบที่ส วนสัตวตองมี วางตํา แหนงวา สถานที่ตา งๆ วาควรอยูที่ตรงไหน (อาจตองมี เหตุผลไวในใจเชนกันวาทําไมตองวางสถานที่นี้อยูตรงนี้ อยูใกลกันกับสถานที่นี้ดวยเหตุผลใด ) การวาดสวนสัตวในจินตนาการ อาจเริ่มที่ก ารวางสระน้ําไวตรงกลาง หรือมีแหลงน้ํา ตาม ธรรมชาติที่ไหลผา นพื้นที่ข องสวนสัตว กําหนดความสูงต่ํา ของพื้นที่ หรือ วางวา ทั้งหมดเปน พื้นที่ราบ การกําหนดวารถที่มายังสวนสัตวทุกคนตองจอดที่ล านจอดรถเขาเที่ยวชมโดยการใช พาหนะที่สวนสัตวกําหนด ราคาคากอสรางยังไมตองคิดถึงในขั้นตอนนี้ ใชจินตนาการเพื่อ สรา งสวนสัตวที่คุณตองการ อยางเต็มที่ สิ่งประกอบพื้นฐานที่สํา คัญที่ตอ งมีหามตัดออกคือระบบน้ํา ระบบการระบายน้ํา ระบบไฟฟา รั้ว สิ่งที่ตองคํานึงอื่นเชน เสนทางเดินที่รถสามารถเขาทํางานเขาทําความสะอาดได

สิ่งที่ตองคํานึงเพิ่มเติม - ระบบบําบัดน้ําเสียควรจะตองไมอยูในสวนที่เปนศูนยรวมของผูเที่ยวชม

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

47

- จุดที่เปนตําแหนงของภัตตาคารหรือโรงอาหารตอ งหา งจากจุดที่ เปนสวนแสดงสัตวหรือ ดู ทิศทางลมใหดี ไมใหกลิ่นของคอกสัตวพัดเขามาที่โรงอาหาร - จุดชมสัตวตองมีรมเงาเพื่อใหผูเที่ยวชมไดใชเวลามากขึ้นในการชมสัตว - จุดที่เปนจุดที่มีระดับต่ําของสวนสัตว ในกรณีที่ฝนตกจะจัดการกับน้ําที่ไหลเขามาที่บริเวณนี้ อยางไร - การวางแผนงานกอสรางตา งๆ ตอ งคํา นึงถึงผูใ ชคือ สัตว ผูเที่ยวชม พนักงานเลี้ยงสัตว สัตวแพทย สวนแสดงสัตว ( zoo animal exhibit ) สวนแสดงสัตว ตองมีขอบเขตที่ปองกันสัตวหลุด มีความเหมาะสมในการจัดแสดง สัตวชนิดนั้น เปนบานของสัตวที่สัตวมีความรูสึกปลอดภัย มีสภาพแวดลอมที่สนองความตองการขั้น พื้นฐานของสัตวได สัตวปาที่อาศัยอยูในปามีอาณาเขตของตัวเองที่เพียงพอเพื่อที่จะเปนพื้นที่สําหรับ เปนแหลงอาหาร สวนสัตวได จัดหาอาหารใหสํา หรับสัตว แตพื้นที่จะนอยกวา พื้นที่ที่มีในปา ธรรมชาติ แตอยางไรก็ตามพื้นที่มี่จัดใหตองใหสัตวแตละตัวมีพื้นที่ของตัวเอง

A ใหคุณนึกถึงสวนประกอบของสวนแสดงสัตวที่คุณคิดวาดีที่สุดในความคิดของคุณ วา สวนแสดงสัตวดังกลาวมีขอดีอยางไร และลองเขียนสิ่งที่คุณคิดไดลงสมุด อาจเปนสวนแสดงในชนิด สัตวที่คุณทํางานอยูที่คุณทราบสวนประกอบตางๆ ดีที่สุด

แนวคิดสวนแสดงสัตวที่ดีควรประกอบดวยปจจัยดังตอไปนี้ 1.ตองทําใหสัตวอยูได มีโอกาสแสดงพฤติกรรมตามที่สัตวชนิดนั้นตองการ 2.ผูออกแบบมีประสบการณที่เพียงพอ ที่ตองรูวาสัตวตองการอะไร ใหเอาสัตวเปนลําดับความสําคัญ ลําดับที่หนึ่ง โดยใหสัตวไดปฏิบัติในพฤติกรรมที่มีในปา สิ่งที่ในสวนสัตวมีมากกวาเชน ไมมีสัตวผู ลาตามธรรมชาติ สวนสัตวเปนผูจัดหาอาหารให และหนาที่อันหนึ่งที่สวนสัตวควรตองทํา ไดคือการ จัดหาคูผสมพันธุให 3.การเขาจัดการในงานประจําวัน เชน การทําความสะอาดสวนแสดง ผูเ ลี้ยงสัตวสามารถเขาจัดการ ไดโดยปลอดภัย ซึ่งหมายถึงตองมีคอกกัก ที่สามารถบังคับสัตวใหเขาออกจากสวนแสดงไปยังคอก กักและยายจากคอกกักไปยังสวนแสดงได การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

48

4. มีพื้นที่ที่มากพอ เพื่อใหความหางของผูเที่ยวชมและสัตวมากเพียงพอ ที่จะทําใหสัตวเกิดความรูสึก ปลอดภัย 5. การสุขาภิบาลที่ดี ระบบน้ําที่ใชสําหรับลางคอก ระบบรับน้ําเสียที่เกิดจากการลา งคอก การระบาย อากาศที่ดีในกรณีที่สัตวมีกลิ่นแรงจากมูลสัตว มีแสงแดสองเขาในคอกเพื่อชวยในการฆา เชื้อ โรค ถา สัตวเกี่ยวของกับน้ําเชน ปลา แมวน้ํา เพนกวิน ระบบการบําบัดน้ําที่ตองการหมุนเวียนน้ํา กลับมาใช ใหมตองมีระบบการบําบัดน้ําที่ดีเพียงพอ 6. การจัดการสัตวปวย สามารถทําไดเชนมีหองที่วา งไวเพื่อแยกสัตวปวยจากสัตว ปกติ มีค อกกัก ที่ สามารถใหยาจากการยิงยาในระยะที่ไมไกลมากนัก คอกกักยังชวยในขบวนการขนยายสัตวดวย 7. พื้นที่จัดแสดง ผูเที่ยวชมสามารถชมสัตวไดอ ยางชัดเจน ไมค วรมีจุดที่สัตวหลบ มีการตกแตงที่ เหมาะสมใกลเคียงกับสภาพถิ่นที่อยูเดิมที่สัตวอยู เพื่อเปนการใหการศึก ษากับผูเที่ยวชม มีปา ยให ขอมูลสัตวที่จุดชมสัตวเปนสวนหนึ่งของงานใหการศึกษาในสวนสัตว ซึ่งเราพอที่จะสรุปไดวาถึงความตองการ 7 ขอสําหรับคอกสัตวคือ 1 สนองความตองการของผูเที่ยวชม 2 สนองความตองการของสัตวชนิดนั้นๆที่อยูในสวนแสดงสัตว 3 งายตอการจัดการ 4 ปลอดภัยตอทุกสวนที่เขามาเกี่ยวของคือสัตว ผูเที่ยวชม ผูเลี้ยงสัตว สัตวแพทย 5 มีการจัดการสุขาภิบาลที่ดี 6 สัตวแพทยสามารถเขาจัดการเรื่องการรักษาสัตวได 7 ผูเที่ยวชมสามารถมองเห็นตัวสัตวได

ใหทดลองใชความตองการทั้ง 7 ขอกับสวนแสดงสัตวที่คุณทํางานอยูสัก 2 สวน แสดง เพื่อที่จะใชตรวจสอบวาสวนแสดงสัตวในชนิดสัตวที่คุณดูแ ลอยูนั้นยังมีจุดที่ตอ งปรับปรุง อยางไร หรือทั้ง 7 ขอที่มีอยูเพียงพอหรือไม สิ่งที่ตองเพิ่มเติมจาก 7 ขอนี้มีสิ่งใดบาง

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

49

สิ่งแบงอาณาเขตและปองกันสัตวหลุดของสวนแสดงสัตว ( Enclosure barrier ) สิ่งที่เปนแนวเขตของสวนแสดงสัต วใ นสวนสัตวมีดว ยกันอยูหลายชนิดตามชนิดของสัตว โดยมีจุดประสงคสวนหนึ่งคือแบงสวนของผูเที่ยวชมและสัตว มีพื้นที่มากพอที่จะใหสัตวสามารถอยู ในสวนที่สัตวรูสึกปลอดภัย

Q ชนิดของแนวเขตสวนแสดงสัตว ที่มีในสวนสัตวของคุณมีอะไรบาง ขอดีและขอเสีย ของแนวเขตในแตละแบบมีอะไรบาง (ลองเขียนคําตอบลงในสมุดกอนที่จะดูคําตอบ )

สิ่งที่คุณอาจคิดไดคือ 1. รั้ว (Fence ) เปนรูปแบบที่เปนธรรมชาติ รูปแบบที่อยูหัวขอนี้เชน ใชไมทําเปนเสาและ มีไมวางพาด ใชตาขายที่ทํา จากเหล็กรวมกับเสาเหล็ก โดยตัวของตาขายมีทั้งเปนรูปแบบตาขา ยใย แนวตั้งและตาขายที่สานกันเปนรูปตาขาย สิ่งที่ตองใหการระมัดระวัง เชน ความสูงเพียงพอที่จะกันสัตวกระโดดออกหรือเดินขามได ลวด ที่เปนวัส ดุของตาขาย อาจชํารุดและโผลอ อกมา ขีดขวนทํา รายสัตวได ทุกวันที่เริ่มทํา งานตอง ตรวจสอบวา รั้วตาขายมีจุดที่ชํารุดหรือไม ถามีตองรีบซอมแซม 2. คู ( Moat) เปนรูปแบบของแนวเขตที่ทําใหการมองเห็นตัวสัตว ไมมีสิ่งกีดขวางเปน มุมมองที่ดียิ่งขึ้น แตความกวางและความลึกของคูตองมากที่จะกันการออกของสัตวได ขอควรระวังอีกประการหนึ่ง คือ กรณีที่สัตวอาจตกลงในคูที่เปนคูน้ํา หรือ คูแหง คูน้ํา อาจมี เชือกไวใหสัตวเกาะเชนในกรณีของลิงชิมแพนซี คูแหงอาจมีรั้วไฟฟาไวปองกันอีกชั้นหนึ่งดวย แนวคิดนี้เริ่มจากวิธีการลาสัตวในยุคคนโบราณที่ใชวิธีการขุดคูเพื่อใหสัตวตกลงในคู การใช วิธีการนี้ในสวนสัตว ถาจุดที่ผูเที่ยวชมอยูต่ํากวาจุดที่สัตวยืนอยูจะทําใหความรูสึกของผูเที่ยวชมมองมา ที่ตัวสัตวจะรูสึกวาสัตวมีขนาดใหญขึ้นและตัวสัตวเองสามารถมองไดรอบตัว นอกจากนั้นการวางคอกในลักษณะคอกของสัตวผูลาอยูติดหรือใกลกับสัตวผูถูกลา โดยมีคู กั้น ซึ่งผูเที่ยวชมจะไดมุมมองในลักษณะที่สัตวทั้งสองกลุมอยูในพื้นทีเดียวกันแตความเปนจริงนั้น สัตวทั้งสองชนิดอยูแยกกันดวยคู ยังเปนการเพิ่มมุมมองที่นาสนใจ สัตวผูลามักจะแสดงอาการสนใจ สัตวผูถูกลา เชนสิงโตจะลุกขึ้นมองเมื่อเห็นวอเตอรบัค เจมสบอค เดินไปมาในสวนแสดงที่อยูตรง ขามภายใสวนสัตวนครราชสีมา ) เปนตัวอยางของรูปแบบงานใหการศึกษาอีกรูปแบบหนึ่ง การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

50

3. เหล็กเสนในแนวตั้ง ( Bars ) (ตัวอยางคือกรงในสถานีตํารวจ ) ขอดีคือเปนลักษณะสวน แสดงที่แข็งแรง ทนแรงสัตวที่มีกําลังมากได ขอเสียในการมองจะเปนตัวบดบังการมองและเปนการ สรางความรูสึกวาสัตวอ ยูภายในกรงขัง การใชวัส ดุอื่นๆ เชน ตาขา ยเหล็กจะใหความรูสึก ในเรื่อง มุมมองที่ดีกวา ขอดีอีกสวนหนึ่งของวัสดุกลุมนี้คือ - การทําความสะอาดงาย - สัตวที่ชอบปนปายเชนลิง คาง ชะนี ใชเปนสวนหนึ่งของการใชพื้นที่กรงไดดวย - สัตวสามารถมองเห็นสิ่งแวดลอมไดรอบดาน - การยิงยาสลบ การรักษา การสังเกตพฤติกรรมสัตวของผูเลี้ยงสัตวสามารถทําได 4. กระจก ( Glass) สิ่งที่ตองพิจารณาในการใชวัสดุนี้คือ - ความคงทนแข็งแรง ซึ่งพบวากระจกที่แข็งแรงมักจะเปนสวนหนึ่งบนแผนพลาสติค เชน ลา มิเนท - เปนวัสดุที่มีราคาแพง - กระจกถูกทําใหเสียหายโดยการใชเพชรกรีด (หากมีคนอยากแกลง ) หรือตัวสัตวเองที่ใชหิน ขวางใหแตก - เรื่องแสงสะทอน ที่เกิดขึ้นการแกไขเชน การวางกระจกเปนมุมประมาณ 45 องศา การทํา ถ้ํา เพื่อลดแสงที่เขามาในฝงของผูเที่ยวชม และเพิ่มแสงที่ลงมายังสวนแสดงใหเพียงพอ ดานคนดูควร ตองมืดกวาสวนจัดแสดง - สิ่งสกปรกที่อาจเกิดตามมา การเช็ดกระจกทุกวันตองทํา ฝาที่เกิดจากน้ําที่วิ่งผานปูนซีเมนต แลวสวนกระจกเปนทางน้ําที่น้ําที่มีปูนปนอยูผาน ฝาที่เกิดขึ้นหากติดตั้งกระจกกับสระน้ําและน้ํามี ปริมาณของหินปูนอยูสูง - มุมมองใตน้ําที่มองผานกระจกที่มีการจัดการระบบน้ําที่ดี น้ําใสสะอาดสามารถมองเห็นตัว สัตวไดเปนมุมมองที่สวยงามนาสนใจ

A

. ใหนั่งทบทวนดูวาในสวนสัตวของทานใชตัวขอบเขตของสวนแสดงเปนแบบใด ใหเขียน

ทุกแบบที่มีโดยใหขอมูลถึงชนิดสัตวที่อยู ขอดีขอเสีย ขนาดกวา ง ยาว สูงของขนาดขอบเขตคอก สัตวแบบนั้น เชนคูกวาง ลึกเทาใด รั้วใชวัสดุใดสูงเทาใด กระจกหนาเทาใด อยางนอยใหทํา 6 ชนิดสัตว

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

51

2.คุณลองเขาไปภายในสวนแสดงสัตวชนิดใดชนิดหนึ่งแลว จินตนาการวาคุณเปนสัตวชนิดนั้นกับสวน แสดงแหงนั้นคุณคิดวาสัตวจะมีความรูสึกอยางไร 3.ใหคุณเขียนขอดีขอเสีย ของขอบเขตสวนแสดงสัตวในแตละแบบ 4 แบบที่มีการกลาวถึงในหนังสือ เลมนี้ โดยใหจดขอสรุปนี้ลงในหนังสือจดขอความสําคัญ (Neat book)

วัสดุภายในคอกสัตว สวนพื้น สวนพื้นแบงออกไดเปนแบบถาวรและแบบชั่วคราวที่ตองมีการนํา มาเปลี่ยนใหม แบบถาวร สามารถทําความสะอาดดวยการใชเครื่องฉีดน้ําแรง ใชน้ํายาฆาเชื้อ โรค ตัวอยางเชน ซีเมนต พื้น กระเบื้อง ซึ่งถาพื้นเปนแบบระนาบเดียวกันไมมีความลาดชัน ภายหลังการลางดวยน้ําจะตองใชไม กวาดเพื่อใหน้ําที่คางอยูลงรองระบายน้ํา แตถาพื้นแบบถาวรมีความชัน น้ํา ที่ลา งพื้นจะไหลลงไปยัง รองระบายน้ํา พื้นภายในคอกสัตวตองมีความเหมาะสมกับชนิดสัตว พื้นที่หยาบไมลื่นจํา เปนสําหรับสัตวที่ ขายาวโดยเฉพาะยีราฟ ( ตัวอยางที่สวนสัตวนครราชสีมาคือที่สวนแสดงยีราฟเปนพื้นดินเหนียวปน ทราย ที่มีความชันเนื่องจากมีลูกเนินเล็ก หลายลูก เมื่อถึงฤดูฝนจะลื่น ) สัตวกีบและมา ลายตองการพื้นที่มีค วามหยาบเพื่อ ชวยในการลดการเกิดกีบยาวมากวาปกติ สวนสัตวที่มีฝาเทานิ่มเชน สิงโตตองการพื้นที่เรียบ ไมหยาบเพื่อลดการเกิดบาดแผลที่ฝาเทา พื้นชั่วคราว หมายถึงพื้นที่ตองมีการเปลี่ยนเปนระยะ พื้นที่ทําความสะอาดไดยาก เชนทราย หรือกอนกรวด ซึ่งอาจจะเหมาะกับสัตวเลื้อยคลาน เมื่อนําไปตกแตงคอกจะดูสวยงามและถาสกปรก มากก็สามารถเปลี่ยนได สวนที่เปนน้ํา เชนสระน้ํา มีค วามจําเปนสําหรับนกน้ํา เชนหงส หานที่มีขนาดรา งกายใหญ โดยพื้นน้ําจะชวยลดน้ําหนักที่ทิ้งลงบนเทา หรือนกน้ําชนิดอื่นเชน เปด นกฟลามิงโก สัตวที่อยูในน้ําเปนเวลานานในกิจกรรมประจําวัน เชน แมวน้ํา ฮิปโปโปเตมัส การจัดการ เรื่องความสะอาดสําหรับน้ํา ความใสสะอาด ก็เปนเรื่องที่มีความสํา คัญตอสุขภาพสัตวแ ละมุมมองที่ สวยงามที่จะเกิดแกผูเที่ยวชม พื้นหญา ถา ตองการใหค งสภาพหญา ที่เขียวสวยงามตองมีการจัดการที่เพียงพอ ในพื้นที่ที่ แคบหรือพื้นที่ที่มีการย่ําไปมาบอยครั้งพื้นที่นั้นจะแนนมากขึ้น การมีพื้นที่ที่กวางและสามารถใหสัตว หมุนเวียนพื้นที่ไปมาได ก็จะทําใหคงสภาพความเปนหญาได

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

52

ผนัง สวนที่เชื่อมกันระหวางผนังและพืน้ ควรจะมีลักษณะโคง ซึ่งมีขอดีที่สามารถทําความ สะอาดไดโดยงาย ถาในสวนนี้เปนมุมตรงอยา งหองทั่วๆ สิ่งสกปรกจะไปติดจะมีไดมากขึ้นและใน กรณีสัตวที่โดนรุกไลจากสัตวตัวอื่นที่อยูในกรงเดียวกัน การหลบหนีจะทําไดยากยิ่งขึ้น การทํา ความสะอาดผนังควรใช น้ําที่ออกจากเครื่องอัดความดัน วัสดุที่เปนผนังเชน อิฐ พลาสติก แกวหรือไม การทาสี ควรใชสีทีไมมีส ารพิษ ตะกั่วที่เปนสวนผสมของสีคือสิ่งที่ตอง ระวัง ผนัง การทําความสะอาดสามารถทําไดโดยการใชน้ําจากเครื่อ งอัดแรงดันน้ํา ( ดูแรงดันให พอเหมาะดวย ) แตตองดูวัสดุดวยวาเปนแบบที่เหมาะสมกับการใชน้ําที่มีแรงดันทําความสะอาดหรือไม ประตู ควรจะตองดูดวยวาแข็งแรงเพียงพอ การเปดหรือปด สามารถทํา ไดโดยสะดวก มี ความกวางมากเพียงพอในสวนที่ตองการความกวางขวาง เชน ในกรณีการขนยายสัตวใหม กลองขน ยายสามารถขนเขาได เมื่อถึงชวงที่จะปลอยออกจากกลองเขาคอกกัก การเปดประตูกลองสามารถทํา ไดโดยสะดวก หรือในกรณีที่ตองขนไมทอนใหญเพื่อประดับคอกสามารถทําได การตกแตงสวนแสดง เปนสิ่งสําคัญที่ชวยใหสัตว ไดมีโอกาสแสดงพฤติกรรมตามปกติของ สัตวนั้น เชน การใสเชือกเสนขนาดใหญหรือ เปนกิ่งไมที่แข็งแรงไวในเกาะหรือ คอกชะนี ก็ทําให ชะนีไดมีโอกาสเคลื่อนที่ไปมาดวยการใชแขน และการตกแตงสวนแสดงใหใกลเคียงกับถิ่นที่อ ยูตาม ธรรมชาติยังเปนการใหการศึกษาแกผูเที่ยวชมถึงลักษณะภูมิประเทศ พันธุไมที่เปนพืชประจําถิ่น เชนเดียวกับแหลงที่มาของสัตวชนิดนั้น สิ่งที่สงผลตอสัตวคือ การตกแตงกรงเลี้ยงใหมีสภาพใกลเคียงกับสภาพตามธรรมชาติ โดย การใสพืช หิน ทอนไม เชือ ก ใหสัตวที่มีพฤติกรรมปนปา ยไดใชสิ่งทีเราตกแตงเขา ไป การใส กลองรังไขสําหรับนก ใสก ลองสําหรับใหก ลุมแมวขนาดเล็ก ใชนอน การดูแลสิ่งที่ตกแตงคือการ เปลี่ยนเมื่อสิ่งเหลานี้ชํารุด โดยเฉพาะวัสดุที่ทําจากไม หรือถามีการหมักหมมจากมูลเชน คอนที่นก เกาะอาจเปลี่ยนใหมหรือทําความสะอาดแลวนํากลับมาใชใหม พืชที่นําตกแตงภายในกรงเลี้ยงตองแนใจวาเปนพืชที่ไมมีพิษ นอกจากนั้นในจุดอื่น ๆภายใน สวนสัตวเชน ใกลจุดชมสัตว ใกลแนวรั้ว ตองระวังไมปลูกตนไมที่มีพิษแกสัตว อาจมีกรณีที่ผูเที่ยว ชมเอาพืชชนิดที่มีพิษใหสัตวกินดวยความไมรู พืชที่ตกแตงในกรงไวเพื่อตกแตงคอก เปนรมเงาใหกับตัวสัตวเอง ในสัตวที่กินพืชเชนกวาง แอนติโลพ ยีราฟ ตอ งทํา การปองกันพืชเขา มากัดกินใบ เปลือกไม ทําใหตนไมตาย โดยการใช ทอนไมเปนทอนเล็กยาวจะดีกวาการใชใชตาขายเหล็ก เนื่องจากเหล็กที่โผลออกมาเมื่อตาขายนั้นชํารุด จะเปนอันตรายกับสัตว การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

53

ระบบภายในกรงเลี้ยง น้ํา ภายในสวนแสดงมีสวนสําหรับสัตวกินตองเปนน้ําสะอาด การตกแตงสวนแสดงโดยใช สระน้ําและเปนแหลงที่สัตวกินดวย ตองมั่นใจวาน้ําสะอาดเพียงพอ ปริมาณของน้ําไมควรมากเกินไป เพื่องา ยตอการเปลี่ยนน้ําหรืองา ยตอ การบําบัดน้ํา มีก ารตรวจสอบคุณภาพเปนชวงๆ เพื่อ เปนการ ยืนยันคุณภาพ น้ําที่ลางคอกกักหรือสวนแสดงควรจะมีปริมาณเพียงพอในชวงที่มีการใชงาน หรือถามีปญหา น้ําขาดตองมีระบบสํารองน้ําในสวนแสดงเลี้ยง ๆ พื้นคอกกักที่มีการลางบอยครั้งตองมีระดับพื้นที่ชวย ใหการไหลของน้ําเขายังทอรับน้ําเสียไดโดยสะดวก มีระบบรับน้ําเสียเชนบอเกอระ-บอซีมที่รับน้ําเสีย ในความจุที่มากเพียงพอ ประตูตองมีค วามกวา งที่เพียงพอ ในกรณีขนยา ยสัตวใหมเขาในสวนของคอกกัก ในกรณี ตองการนําขอนไมทอนใหญเขาไปแตงในสวนแสดง รถสามารถเขาไปจัดการในสวนแสดงได ที่สําคัญอีกประการหนึ่งคือการมีคอกกัก คอกกักจะมีประโยชนที่สามารถยายสัตวจากสวน แสดงเพื่อการทําความสะอาดสวนแสดง ตัวอยางที่เห็นชัดมากคือ กลุมลิง คาง ถาเราไมมีคอกกักที่จะ ยายสัตวไปคอกกักได แลวลางพื้นที่แสดงสัตวดวยน้ําไมได เศษสิ่งของตา งๆ ก็ตกลงบนพื้นโดยที่ เราเอาออกไมได จะเปนภาพที่ไมนาดูและตองถูกตําหนิจากผูเที่ยวชม หรือ ไมที่ตกแตงคอกเริ่มผุพัง เราจะเขาไปตกแตงคอกไดอยางไร นอกจากเราตองยิงยาสลบ ซึ่งเปนเรื่องที่ยุงยากพอสมควร สรุป การตัดสินใจถึงรูปแบบของสวนแสดงเปนหนาที่ของเจา หนาที่ส วนสัตวแตล ะแหงจะเปนผู ตัดสินใจ สิ่งที่ไดกลา วมาในบทนี้เปนขอพิจารณาทั่วไป โดยเปนมองจาก มุมมองของผูเที่ยวชม พนักงานเลี้ยงสัตว ผูเลี้ยงสัตวที่ทํา งานกับสัตวชนิดนั้นๆ เปนผูมีประสบการณกับการใชสวนแสดงสัตวและ เขาใจพฤติกรรมของสัตวชนิดนั้น หากตองการสรางสวนแสดงใหม การรับฟงความคิดเห็นของผูเ ลี้ยง สัตวเดิมเปนสิ่งตองกระทํา เพื่อไมใหเกิดความผิดพลาดที่ทําใหการจัดการสัตวประสบปญหาอยางที่ เคยเกิดขึ้น สํา หรับบทนี้เนื้อหาในบทนี้ส ามารถเพิ่มรายละเอียดเขา ไปไดอีก โดยผูที่มีประสบการณ สามารถใชตัวอยางที่มีในสวนสัตวตัวเอง หรือการไปเยี่ยมชมสวนสัตวในแหงอื่นๆ การถายภาพ การ สอบถามจากเจาหนาที่เปนฝายนําชม ก็เปนสวนเพิ่มที่ทําใหผูศึกษาไดรายละเอียดและมุมมองมากขึ้น

การออกแบบกรงเลี้ยงสัตว ( EXHIBIT DESIGN PROJECT) 1. เลือกชนิดสัตว จํานวนสัตว อัตราสวนตัวผูตอตัวเมียที่จะเลี้ยงสูงสุด การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

54

- ถารวมหลายชนิดสัตวจะมีกี่ชนิด เปนชนิดที่ไมทํารายกัน ( ตัวอยา งที่เกิดขึ้นในแอนติโลพที่อยู รวมกันเชน ไวลเดอรบีททํารายคูดูใหญ ทอมสันกาเซลทํารายแบ็คบัค ไวลเดอรบีททํารายกันเอง ) - ตัวผูกี่ตัว เมียกี่ตวั เชนกลุมลิงตองเริ่มดวยผู 1 ตัวและตัวเมีย1-3 ตัว ) 2. Your zoo of employment (realize that this will potential affect the design of your exhibit in many way ) 3.บรรยายลักษณะของสวนแสดงและคอกกักวามีลักษณะอยางไรและพื้นที่เทาไหร 4.บรรยายถึงจุดชมจะมีลักษณะแบบไหน และจะจัดสวนการศึกษาอยางไร 5.วัสดุที่จะใชในสวนตางของสวนแสดงและคอกกัก เลือกโครงสรางและดวยเหตุผลใด - วาสวนนั้นจะเลือกใชอะไร คอนกรีต หิน ทราย 6. ชนิดพืชที่จะปลูกจะเลือกพืชชนิดใด 7.แสดงเหตุผลถึงความตองการของสัตววาตองการอะไรและแนวทางที่จะทําตามความตองการของสัตว ทําไดอยางไร โดยแบงเปนความตองการใน 5 กลุมใหญคือ 7.1 พื้นที่ที่เพียงพอ - ระยะหางจากผูเที่ยวชมเทาไหร - ในกรณีที่มีตัวที่ดอยกวาจะหลบอยางไร 7.2 จํานวนของสมาชิกในคอกที่เหมาะสม 7.3 ความตองการตามชนิดสัตว เชน - สวนประกอบในคอกตองเปน ตนไม พุมไม ไมเลื้อย - ตองเพิ่มสระน้ํา ลําธารหรือน้ําตกหรือไม - ตองเพิ่มไมเชน หางใหสัตวนอนหรือไม - รมเงาเพียงพอหรือไม - ในกรณีที่เปนสัตวทะเลตองปรับสภาพน้ําทะเลใหเหมาะสมเชน ระดับความเค็มของน้ํา - เตรียมการเรื่องการผสมพันธุและเลี้ยงลูกออน - เตรียมสิ่งที่ชวยในเรื่องการวางไข - พื้นที่สําหรับการออกลูก - บริเวณเฉพาะของแมที่จะสามารถเลี้ยงลูกได 7.4. ความตองการดานอาหาร - จะวางอาหารใหสัตวกินอยางไร - จะวางน้ําใหสัตวกินอยางไรเพื่อใหไดตําแหนงที่เหมาะสม การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

55

- ปริมาณและความสะอาดของน้ํา - สัตวมีลักษณะของการกินอาหารอยางไร โดยใชขอพิจารณาจากพฤติกรรมตามธรรมชาติของสัตว ชนิดนั้นๆ 7.5 ความปลอดภัยของสัตว - การปองกันสัตวหลุดออกจากคอก - การจมน้ํา 8 ความตองการของผูเลี้ยงสัตวตองการอะไรและจะจัดใหในความตองการนั้นอยางไร 8.1 การอํานวยความสะดวกในการทําความสะอาดกรงสัตว - เขาทํางานได ( ไมมีอันตรายจากสัตวเมื่อเขาในคอก พื้นที่คอกมากเพียงพอ ไมเล็กจนเกินไป ) - วิธีการทําความสะอาดคอกมีวิธีการและขั้นตอนการทํางานอยางไร เวลาที่ทํางานประจําวัน - การลดการสะสมของเชื้อโรค การกําจัดของเสียอยางไร - ระบบประตูเหมาะสม ตําแหนงของกอกน้ํา การลากสายยาง 8.2 สามารถยายสัตวจากคอกกักสูสวนแสดงจากสวนแสดงสูค อกกัก ขั้นตอนดังกลา วทํา ไดอยางมี ประสิทธิภาพ 8.3 สามารถมองเห็นสัตวไดงาย 8.4 มีชองทางอื่นๆ ที่สามารถมองสัตวได เชนวีดีโอวงจรปดสําหรับใชในงานวิจัย 8.5 ตองการพื้นที่สําหรับ - การเตรียมอาหาร และลางภาชนะใสอาหาร - มีโตะทํางาน ที่เก็บเอกสารสําหรับการบันทึกขอมูลสัตว - มีบริเวณที่เก็บ อุปกรณตางๆ เชน กลองขนยาย อุปกรณทําความสะอาด - มีบริเวณสําหรับเก็บอาหารเชนอาหารแหง - มีระบบรางระบายน้ําเสียที่ดีทั้งตอนออกจากพื้นคอกสูราง จากรางสูบอเกอระ บอซึม 8.6 รูวิธีก ารใหอาหาร ที่เหมาะสมสําหรับสัตวชนิดนั้นๆ (ชวงเวลาที่เหมาะสม ลักษณะภาชนะ จํานวนภาชนะ ) 8.7 มีระบบการจดจําสัตววาตัวใดเปนตัวใด เชนการฝงไมโครชิพ การทําหวงขาในนก 8.8 ตองการแรงงานที่เพียงพอกับงานมีการทดแทนกันได 8.9 ระบบคอกที่ปลอดภัย กันสัตวหลุดได 9 กรณีที่เกี่ยวกับสัตวแพทย - สามารถควบคุมโรคติดตอได เชนในคอกนกน้ํามีระบบน้ําที่มีระบบบําบัดน้ําที่ดี การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

56

-สามารถควบคุมพยาธิได มีระบบการจัดเก็บมูลที่ดี - มีบริเวณกักกันโรคสัตว มีคอกกักที่สามารถแยกระหวางสัตวเดิมกับสัตวใหมไดอยางชัดเจนกอนที่ จะปลอยเขารวมกัน - มีที่สําหรับแยกสัตวปวยออกจากฝูง มีคอกกักที่แยกสัตวออกจากสัตวที่ปกติได - มีบริเวณสําหรับแมเลีย้ งลูกออน 10. ความตองการของผูเที่ยวชมคืออะไรและจะจัดสนองความตองการ ของผูเที่ยวชมนั้นไดอยางไร - ความสนุกสนาเพลิดเพลินในการชมสัตว - ขอมูลสัตว - เห็นตัวสัตวไดงายชัดเจน - มีเครื่องอํานวยความสะดวกเชนรถนําเที่ยว มานั่ง ที่หลบฝนหลบแดดได - สัตวที่สุขภาพดี มีการเคลื่อนไหวตามลักษณะธรรมชาติ - สภาพสวนแสดงที่เปนธรรมชาติ - สภาพภายในสวนสัตวที่รมรื่น สะอาด เปนระเบียบ - มีพนักงานที่บริการดวยวาจาสุภาพ และดวยจิตใจที่พรอมใหบริการ

สวนของเบอรนารด แฮริสัน (สวนออกแบบสวนแสดงสัตว ) สวนสัตวกับงานดานการอนุรักษ งานดานการเพาะขยายพันธุสัตวที่ใกลสูญพันธุ เปนงานที่มีความสําคัญอยางหนึ่งในสวนสัตว แตไมใชสําคัญที่สุดสําหรับงานดานนี้ สวนสัตวตองจัดแสดงสัตวที่ใ กลสูญพันธุเหลา นี้ในสวนที่จะ กระตุนใหผูเที่ยงชมเห็นถึงความสวยงาม ความยิ่งใหญของธรรมชาติที่สามารถสรางสรรคสิ่งที่คุณคา แบบนี้ขึ้นมาได โดยสวนสัตวตองสรางองคประกอบอื่นที่จะชวยใหเห็นคุณคาของสัตวชนิดนั้นๆ มากขึ้นคือ การออกแบบสวนแสดงสัตว การตกแตงสวนแสดงที่สรางความประทับใจ การจัดแสดง สัตวที่มีสุขภาพสมบูรณ มีการแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสม การใชสื่อความรูเขาชวย ใหสัตวที่จัดแสดงในสวนสัตวเปนสื่อกลางของปา และธรรมชาติ สวนสัตวมีจุดประสงคเพื่อ สรางความรูสึกเหลานี้แกมนุษย มนุษยเปนผูใช แตเราตองปฏิบัติแกสัตวที่อยูในสวนสัตวดวยความมี เมตตา และจัดการสัตวปาในสิ่งที่ถูกตองเหมาะสม

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

57

หลักการออกแบบสวนแสดงสัตว จุดประสงคขั้นพื้นฐานของการออกแบบสวนแสดงสัตวเพื่อที่สรางภาพที่เราเห็นกลุมของสัตว ที่อาศัยอยูภายในปา ถึงแมวานั้นคือภาพที่เราพยายามจะสรางขึ้น แตตองสรางความเขาใจถึงสภาพที่ ควรเปนภายในปาได สวนแสดงสัตวแบงพื้นทีเปนสามสวนคือ 1. พื้นที่สวนหนา (fore ground ) 2. พื้นที่สวนกลาง ( middle ground ) 3. พื้นที่สวนหลัง ( rear ground ) สวนที่เปนขอบเขตของสวนแสดง( barrier ) อยูใ นสวนของ พื้นที่สวนหนา และ พื้นที่สวนหลัง ถา เปนไปไดไมควรเห็นสิ่งที่บดบังสายตา 1. พื้นที่สวนหนา (fore ground ) คือจุดที่ผูเที่ยวชมยืนอยูที่จุดชมสัตว บนทางเทาที่อยูรอบสวน แสดงสัตว รวมทั้งสวนที่เปนขอบเขตของสวนแสดง ( คู กําแพง รั้ว ฯลฯ ) ในสวนของ พื้นที่สวน หนา จะประกอบดวยสวนของจุดชม ทางเทารอบสวนแสดง สิ่งตกแตงภายพื้นที่สวนหนา นี้เพื่อเปน การสรางความรูสึก ใหผูเที่ยวชมรูสกึ วาสวนที่สัตวอยูกับสวนที่ผูเที่ยวชมยืนอยูเปนพื้นปาพื้นเดียวกัน( Landscape immersion หรือ visual integration ) สิ่งตกแตงเชนพันธุไม กอนหิน สายน้ํา พื้นดิน ถา สรางบรรยากาศแบบปาเขตรอนก็ควรใหเหมือนกัน ในสวนที่เปนขอบเขต คู กําแพง รั้ว ฯลฯ ควรจะ มองไมเห็นสิ่งเหลานี้ โดยการใชคูหรือเปนกระจก 2. พื้นที่สวนกลาง ( middle ground ) เปนบริเวณที่สัตวอยูเพื่อแสดงใหผูเที่ยวชมไดดู ตองมีการ ตกแตงพื้นที่ใหเหมาะสมกับชนิดสัตวเพื่อ ที่สัตวไดแสดงพฤติกรรมของตัวเอง ใหผูเที่ยวชมไดเห็น พฤติกรรมของสัตวนั้น ๆ ซึ่งอาจเปนสระน้ํา กอนหิน ตนไม พื้นหญา บอทราย บอโคลน โดยปกติ แลวสัตวพยายามที่จะหลบจากสายตาของคน ดังนั้นจึงเปนเรื่องที่ทาทายผูออกแบบที่เดียวที่จะใหสัตว อยูในจุดที่ใหผูเที่ยวชมไดเห็นอยูตลอดเวลา 3. พื้นที่สวนหลัง ( rear ground ) คือสวนที่เปนฉากหลังของสวนแสดง เปนสวนที่บอกถึงความ ลึกของสวนแสดงนั้น ลักษณะของสวนนี้มีความตองการใหมีลักษณะเปนคูเนื่องจากไมตองการใหเห็น เปนกําแพงหรือผนัง รวมทั้งการปลูกตนไมเพื่อใหเห็นถึงความลึกและความกวางของพื้นที่สวนแสดง หรือถาใชกําแพงการปลูกตนไมบังจนมองไมเห็นกําแพง โดยพยายามใหจินตนาการถึงภาพที่จะเกิดขึ้น จากการใชรูปแบบของวัสดุหรือวิธีการเหลานี้ดวย จากหนังสือ zoo design self-guide tour san Francisco zoological garden การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

58

เปนเอกสารที่ทําขึ้นสําหรับนักเรียนที่มีความสนใจที่จะเรียนรูการออกแบบสวนแสดงสัตว - กอนที่จะทําการออกแบบสวนแสดงสัตวชนิดใดตองมีขอมูลในเรื่อ งของสัตวชนิดนั้นในสวนของ ลักษณะถิ่นที่อยู พฤติกรรม การสืบพันธุ ซึ่งอาจตองเขาไปในสวนสัตวเพื่อทําการสังเกตพฤติกรรม - เมื่อมีขอมูลขอมูลพนฐานเหลานี้เพียงพอแลว เรามาทําความเขาใจในเรื่องของจุดประสงคของการมี สวนสัตววามีสวนสัตวดวยเหตุผลของการอนุรักษ การศึกษา งานวิจัยและการพักผอนหยอนใจของผู เที่ยวชม ลักษณะทั่วไปของสวนแสดงสัตว สัตวทุกชนิดตองการสิ่งพื้นฐานที่ถิ่นที่อยูที่ตัวเองอยูคือ อาหาร รมเงา น้ําและพื้นที่ สัตวภายใน สวนสัตว การดูแลสัตวเหลา นี้เรายอมตองจัดการสิ่งที่เปนสิ่งพื้นฐานเหลา นี้ ในการออกแบบสวน แสดงสัตวเลี้ยงตองมีขอมูลไวลวงหนาวาเราจะเตรียมสิ่งพื้นฐานแกสัตวเหลานี้อยางไร ขอมูลที่ตองเตรียมไวในการออกแบบคือ 1. จะจัดการเรื่องการสุขาภิบาล เก็บมูลสัตว ลางถาดน้ํา ถาดอาหาร ความสะอาดในคอกกัก ความสะอาดในสวนแสดงอยางไร 2. เราจะจัดการในสวนของพื้นทีท่ ํางานของผูเลี้ยงสัตวอยางไร ผูเลี้ยงสัตวตองสามารถเขา ทํางานในสวนแสดงหรือคอกกักสัตว โดยมีความปลอดภัยโดยที่ไมตองอยูใ นบริเวณเดียวกันกับสัตว (โดยเฉพาะสัตวที่มีอันตราย ) มีสวนที่เตรียมอาหารสัตว เชนหั่นผัก หั่นผลไม หั่นเนื้อ เปนชิ้นเล็ก มี ลานลาง ลานตากแดดสําหรับถาดน้ํา ถาดอาหาร บริเวณที่อุปกรณหรือตูเก็บอุปกรณ 3.สวนจัดแสดงสัตว (เวลากลางวัน ) การจัดแสดงสัตว ตองจัดการใหผูเที่ยวชมสามารถมองเห็นตัวสัตว ไดโดยชัดเจน ถาสัตวสามารถซอนตัวไดเปนสิ่งที่ผูเที่ยวชมไมตองการ 4.. คอกกัก (เวลากลางคืน ) เราจะจัดเตรียมที่อยูของสัตวในเวลากลางคืนอยางไร ในเวลากลางคืนสิ่ง ตองการพื้นฐานที่สัตวตองการคืออะไร 5. ความตองการอื่น ๆ พื้นที่ที่ใชแยกสัตวออกจากฝูง เชนในฤดูผสมพันธุที่สัตวตัวผูตอสูกัน สัตว ปวย ตัวเมียออกลูก สวนสัตวเปนองคกรที่ใหความรูแกประชาชนใหเห็นถึงความสําคัญของการรักษาถิ่นที่อยูของ สัตวปา การออกแบบสวนแสดงสัต วที่แสดงถึงถิ่นที่อ ยูของสัตวปาชนิดนั้น ๆ วา ถิ่นที่อยูของสัตว ชนิดนี้มีลักษณะอยางไร เปนปาแบบใด พันธุไม กอนหิน น้ํา ดิน การจัดกรงเลี้ยงใหเปนสภาพตามธรรมชาติคือการสื่อใหเห็นวา “ การรักษาถิ่นที่อยูข องสัตว คือการชวยอนุรักษสัตวปา “ แนวคิดการออกแบบแนวหนึ่งคือ การเที่ยวสวนสัตวคือการเที่ยวไปใน

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

59

แหลงของสัตวชนิดนั้นๆ โดยทําใหสวนแสดงนั้นทํา ใหผูเที่ยวชมไดสัมผัสทั้งการเห็น ไดยินและได กลิ่นของถิ่นที่อยูของสัตวนั้น ๆ ถึงแมวาผูเที่ยวชมและสัตวจะมีสวนแบงแยกกันอยู การตกแตงสวนแสดเงสัตวใหดูเปนธรรมชาติคือ ( ใชตัวอยางจากคอกนกฟลามิงโก ) - การปลูกพืชและการจัดภูมิทัศน ถาสัตวชนิดนั้นมีถิ่นที่อยูแบบพื้นที่ชุมน้ํา ตองจัดภูมิทัศนให ใกลเคียง สิ่งที่ตองปรับใหเหมาะกับอากาศของสวนสัตวคือจะตองปลูก พืชชนิดใด ที่สามารถสราง บรรยากาศจําลองใหคลายกับพื้นที่ชุมน้ําในเขตปาเขตรอน ( tropical wetland ) คําถามที่ตองถามดวย คือสัตวทําลายพืชชนิดนั้นหรือไม สิ่งที่ใชตกแตงเพิ่มเติมเชน กอนหิน ทอนไม ทรายจะใสเขาไปหรือ ไม เปนสิ่งที่เขากับบรรยากาศที่เราตองการสรางหรือไม - การสุขาภิบาล ( sanitation ) เราจะทําอยางไรใหน้ําในคอกนกฟลามิงโกสะอาด เรา สามารถสรางระบบกรองน้ําไดหรือไม หรือ เราจะใชการเปลี่ยนน้ําบอยๆ - สวัสดิภาพของสัตว ( animal welfare ) สวนแสดงสัตวแหงนั้นสรางความรูสึกใหสัตวรูสึก เหมือ นบานของเขาหรือไม ในการอยูรวมกันหลายตัวมีพื้นที่แ ละคอกกัก ที่มากพอที่จะสามารถ แกปญหาไดหากสัตวตอสูกัน - ผูเลี้ยงสัตว กรงเลี้ยงมีความปลอดภัยกับพนักงานเลี้ยงสัตวหรือไม สามารถเขาไป จัดการความสะอาดโดยไมมีอันตราย ไมมีอุปสรรคในการทําความสะอาด และการใหอาหาร ผูเ ลี้ยง สัตวสามารถสังเกตพฤติกรรมของสัตวที่อยูในการดูแลไดโดยงายเพื่อสังเกตอาการปวยหรือบาดเจ็บของ สัตวได จุดชมสัตวของผูเที่ยวชม เมื่อผูเที่ยวชมมาที่สวนสัตวตองไดเห็นสัตว ซึ่งสวนนี้สถาปนิกที่ออกแบบจะแกไขปญหานี้ อยางไร รวมทั้งกรณีผูเที่ยวชมที่เปนเด็กและคนพิการ งานใหการศึกษา งานที่มีความสําคัญอีกสวนหนึ่งคือ การใหการศึกษา รูปแบบมีดวยกันหลายแบบขึ้นกับการ ออกแบบเชน ปาย สื่อ ที่สามารถโตตอบได ใหขอ มูลเปนเสียงในเรื่อ งขอ มูลทั่วไปและงานดา น อนุรักษ ขอมูลที่ใชในสวนงานใหการศึกษา ควรเปนขอมูลที่ผูเที่ยวชมนาจะไดรู การนําเสนอขอมูล นาสนใจ ที่ผูเที่ยวชมอยากเรียนรู กระตุนใหก ลับไปที่บานแลวกลับไปเรียนรูตอ สอดแทรกขอมูล ดานการอนุรักษเขาไปดวย การสังเกตผูเที่ยวชมและสัตวที่อาศัยอยูภายในสวนแสดง เนื่องจากมีนักเรียนสวนมากที่ไมคุนเคยกับพฤติกรรมที่สัตวแสดงออก กอนที่จะเขามา การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

60

สังเกตพฤติกรรมสัตวทั้งผูเที่ยวชมและสัตวในสวนสัตว ใหทดลองสังเกตพฤติกรรมในวิชาพละศึกษา กอน โดยสังเกตใน สถานที่ที่ไป พฤติกรรมที่แสดงออก บุคคลที่รวมในกิจกรรม การตอบโต ระหวางกันเปนอยางไร แตเมื่อเขามาสังเกตสัตวซึ่งมิใชคน ตองไมใชความรูสึกของคนเขาไปตัดสินการแสดง พฤติกรรมที่สัตวแสดงออกมา ในคนดวยกันเรายังไมสามารถเขาใจถึงการแสดงออกทางพฤติกรรมได ผูเชีย่ วชาญเรื่องพฤติกรรมสัตวจะคนหารูปแบบของพฤติกรรม ดูลําดับชั้นสังคมภายในกลุมสัตวนั้นๆ สรางสมมุติฐานที่เปนไปไดแลวทําการทดสอบสมมุติฐานที่ตั้งไว ที่สวนสัตว เรามาถึงสิ่งที่นาสนุกกันแลว ในนักเรียนหนึ่งคนตองมีอุปกรณ เชน ดินสอ กระดานแข็ง พรอมใบบันทึกผล สัตวที่มีก ารเคลื่อ นไหวเปนเรื่องงายที่จะสังเกตพฤติกรรม เชน ชะนี แมวน้ํา ยีราฟ ลิงชิมแพนซี ชางแอฟริกา ขอแนะนําการสังเกตพฤติกรรมสัตว อาจารยผูควบคุมตองมีคะแนนเพื่อใหนักเรียนที่มาสังเกต พฤติกรรมสัตวใหความสําคัญกับงานนี้ (ไมรูจะ ทํา อยางไรใหนักเรียนเห็นวางานนี้มีความสํา คัญ ) ในชวงหานาทีแรกใหสังเกตพฤตติกรรมสัตวเพียงอยางเดียว ยังไมตองบันทึกพฤติกรรมอะไรลงไป ใหสังเกตในสวนแสดงมีสวนประกอบอะไรบา งเชน มีลักษณะแบบไหน มีการตกแตงอยา งไรบาง พื้นทีส่ วนไหนที่สัตวใชทํากิจกรรม พฤติกรรมที่สัตวแสดงออก จํานวนสัตวที่มี เลือกตัวสัตวที่คุณ ตองการสังเกต มีการแสดงพฤติกรรมกับสมาชิกตัวอื่นๆอยางไร จากนี้ตอไปอีก 10 นาทีเปนชวงของการสังเกตโดยบันทึกทุกอยางเทาที่จะทําได ถาสัตว หยุดพักก็ใหบันทึกวาสัตวหยุดพัก ประโยชนที่ไดจากสังเกตพฤติกรรมคือ สวนแสดงสัตวแหงนี้สามารถตอบสนองความ ตองการของสรีระและพฤติกรรมของสัตวหรือไม ถาตองปรับปรุงสวนแสดงตองปรับอยางไร สังคม ของสัตวภายในสวนแสดงเปนอยางไร อาจจะไดคําตอบวาถาจะปรับสมาชิกจะตองทําอยางไร สังเกตผูเที่ยวชม สังเกตผูเที่ยวชมวา มีความรูสึกและแสดงพฤติกรรมอยางไรกับภาพที่เขาเห็น ลองนั่งฟงวาคํา ถามที่เกิดขึ้นในระหวางการสนทนามีอยางไรบาง กริยาที่ผูเที่ยวชมมีกับสัตว และกริยาที่สัตวมีกับผู เที่ยวชมคืออยางไร ถาคุณเปนผูออกแบบสวนแสดงสัตวคุณจะออกใหออกมาในลักษณะใดอยางไร ไปดูสวนแสดงที่มีการปรับปรุงแลว ถามีสวนแสดงสัตวชนิดเดียวกันและมีสวนที่ปรับปรุงใหไปดูคอกนั้น ในเอกสารนี้จะไปดูที่สวน แสดงนกฟลามิงโก เราก็จะพบวาคอกสวนแสดงแหงนี้มีการปรับปรุงดังนี้ การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

61

- ใชถิ่นที่อยูในพื้นที่ชุมน้ําที่ระดับความสูงมาก ในทวีบอเมริกาใต - การออกแบบใหนกมีความรูสึกปลอดภัยโดยใหมีกําแพงเปนฉากหลังของคอก - ในดานที่อยูใกลผูเที่ยวชม จะมีพื้นน้ํากั้นอยู ซึ่งถาสวนนี้มีพื้นดินอยูอาจมีผูเที่ยวชมล้ําพื้นที่ เขาไป - น้ําที่มีภายในสวนแสดง ทําใหสะอาดโดยการใช biological filter ซึ่งจะมีแบคทีเรียที่มี ประโยชนและสามารถเปลี่ยนของเสียที่ออกจากตัวนกฟลามิงโกเปนไนโตรเจนที่มีอันตรายนอย - อาหารใสในสระน้ําขนาดเล็กที่แยกจากสระน้ําขนาดใหญ กิจกรรมเมื่อกลับสูโรงเรียน - การใหนกั เรียนที่ไดหาขอมูลเบื้องตนของสัตวชนิดนั้น ๆ ไดไปสังเกตพฤติกรรมสัตวชนิด นั้นๆ ในสวนสัตว ไดลองวาดภาพคอกสัตวในฝนที่เขาตองการเปนอยางไร แลวถามีโอกาสใหเชิญ เจาหนาที่ในสวนสัตวที่ความเชี่ยวชาญในเรื่องการออกแบบกรงเลี้ยง เพื่อใหคําแนะนํากรงเลี้ยงที่ นักเรียนทดลองออกแบบวามีจุดที่ตองปรับปรุงเพื่อใหเหมาะสมกับสัตวชนิดนั้นๆ อยางไร

หลักการการออกแบบ โดยการออกแบบตองสนองตอบตอความตองการของ 1.ตัวสัตวเอง 2.ผูเลี้ยงสัตว 3 .ผูเที่ยวชม 4 .จัดสภาพภายในสวนแสดงใหดูเปนธรรมชาติ 5 .จัดสภาพใหนาดู เปนที่พอใจแกผูเที่ยวชม 6 .งบประมาณที่คุมคากับการลงทุน 1.ตัวสัตวเอง 1.1 สรางสภาพที่เปนธรรมชาติ โดยสภาพธรรมชาติที่เตรียมใหเปนสวนของอาหาร เชนปลูกตนไมใน เกาะชะนี ซึ่งตนไมสามารถกินใบหรือผลได ตนไมนั้นเปนรมเงา - ใชเชือกสําหรับสัตวที่ตองการหอยโหนเชน ในชะนี มีสระน้ําสําหรับหาน หงส คอนใหนกไดเกาะ - ในกรณีที่สัตวมาจากสภาพภูมิอากาศที่หนาวเย็นเชนแมวน้ํา นกเพนกวิน เราตองปรับสภาพอากาศให ใกลเคียงกับถิ่นที่อยูเดิม 1.2.ลดการเกิดสภาพสัตวลนกรง การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

62

- จํานวนสัตวกับพื้นที่ตองพอเหมาะ ตองกําหนดจํานวนประชากรกอนวาคอกนี้จะเลี้ยงจํานวนเทาไหร รูถึงความตองการพื้นที่อยางนอยของสัตวที่ตองการเลี้ยง 1.3 .ลดการเกิดความเครียดที่มีในสวนแสดง - สัตวตองการสวนที่เปนสวนตัว การลดการเห็นสิ่งรอบขา งทํา ใหสัตวรูสึกมีความปลอดภัยในพื้นที่ มากขึ้น - จัดที่กินน้ํา กินอาหารใหเหมาะสม ถูกหลักสุขาภิบาลและเพียงพอ - ในกรณีที่ตองการควบคุมสัตวเพื่อทําการรักษา งายตอการขนยาย เชนกรงบีบ chute 1.4.เปนสวนแสดงที่ไมสรางปญหาในเรื่องของสุขภาพ - ในสัตวที่ตองการแสงแดด อุณหภูมิและความชื้นที่พอเหมาะ เชน สัตวเลื้อ ยคลาน ตองศึกษาความ ตองการของสัตวชนิดนั้นใหดีกอนที่จะสรางสวนแสดง - พื้นคอกมีพื้นที่เหมาะสมเชน สัตวที่มีอุงเทานิ่ม พื้นควรเปนดินที่ไมแข็งเกินไป เชนใชทราย มีหญา ขึ้นในพื้นที่ การใชพื้นซีเมนตทั้งหมดจะทําใหเกิดปญหาอุงเทาเปนแผล - คอกที่มีลักษณะเปนอาคาร การระบายอากาศ แสงแดดที่ผานลงมาในสวนที่สัตวอยูตองจัดการใหดี - ในสวนของพื้นที่ตองมีการทําความสะอาด โดยใชน้ําฉีดลาง พื้นตองมีความลาดชันเพียงพอที่จะให น้ําไหลมาที่รางน้ํา ความตองการของผูเลี้ยงสัตว 1.ความปลอดภัย - ประตูแบบสวิงเปนแบบเปดเขาดานใน ระบบประตูที่สามารถควบคุมการเปดปดไดงาย - สามารถมองเห็นตัวสัตวไดวาขณะนี้อยูบริเวณใด - มีระบบของคอกที่สามารถควบคุมตัวสัตวเขาออก ระหวางสวนแสดงกับคอกกัก

ขอมูลที่ตองตอบคําถามวาสวนแสดงสัตวทเี่ ราจะสรางนั้นมีรายละเอียดในเรื่องตอไปนี้แลว 1.เลือกชนิดสัตวที่จะตองการจัดแสดง 2.การหาขอมูลจากสวนสัตวอื่นที่เลี้ยงสัตวชนิดนั้นอยูกอนแลว เพื่อใหไดขอมูลถึงขอดีและขอเสียของ สวนแสดงที่มีอยูแลว ใหใ ชสิ่งที่สรา งขึ้นกอนเปนบทเรียน เพื่อ ไมใ หขอผิดพลาดที่เคยเกิดขึ้นแลว เกิดขึ้นซ้ําอีก ซึ่งตองดูในตัวอยางหลายๆ แหง การไปดูงานควรพบกับผูเลี้ยงที่ทํางานในสวนแสดง นั้นเปนประจํา ถายรูป จดบันทึกขอมูลใหละเอียด 3.รางแบบคราวๆ ของรูปแบบของสวนแสดงและคอกกัก 4.ในสวนของรายละเอียดประกอบแบบประกอบดวยขอมูลตอไปนี้ การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

63

- ชนิดสัตว ทั้งชื่อสามัญและชื่อวิทยาศาสตร เพศ จํานวนของสัตวภายในสวนแสดงนี้ - ขอมูลที่บรรยายถึงขนาดของพื้นที่สวนแสดงและคอกกัก - ใหเขียนผูเที่ยวชมจะสามารถชมสัตวไดในลักษณะแบบใด พรอมทั้งเขียนภาพกราฟฟค - ใหเขียนถึง ลักษณะโครงสราง วัสดุในสวนตางๆ ไมวาจะเปน จุดชมสัตว สวนแสดงและ คอกกัก รวมทั้งเหตุผลประกอบ - พืชที่จะวางแผนปลูกในสวนแสดงและคอกกัก พรอมเหตุผล - เขียนถึงวาสวนประกอบยอยที่จะสรางตอบสนองกับความตองการของสัตวชนิดนั้นอยางไร - เขียนถึงในสวนของการปฏิบัติงานของผูเลี้ยงสัตว ขั้นตอนการทํางานตางๆ สามารถทําได โดยสะดวก - เขียนถึงสวนแสดงสัตวนี้ตอบสนองความตองการของผูเที่ยวชมอยางไร - ในเรื่องงานใหการศึกษา งานดานการอนุรักษ งานดานการวิจัย สวนแสดงนี้จะตอบสนองใน เรื่องเหลานี้อยางไร

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

64

บทที่ 6 อาหาร เนื้อหา - สวนประกอบทางเคมีของอาหาร - อาหารสําหรับสัตวในสวนสัตว อาหารจากธรรมชาติ อาหารที่ใชทดแทนอาหารจากธรรมชาติ อาหารเสริม - คุณภาพอาหารและการจัดวางใหแกสัตว - การใหอาหารสัตวโดยผูเที่ยวชม - การจัดหาอาหารและการเก็บอาหาร

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

65

ใน 5 บทที่ผา นมาของหนังสือเลมนี้ เนื้อหาจะกลา วถึงสถานที่ทํางานเปนสวนใหญ ไมวาจะ เปน รูปแบบของสวนสัตว ซาฟารี โดยเนื้อหาที่ผานมาเราจะเขาไปในสวนบางสวนของสวนสัตว ในสวนที่ เหลืออีก 5 บทเราจะเขาไปในสวนของการจัดการ เนื้อหามีความตองการที่จะทําใหการจัดการของพวก เรา เปนการจัดการเพื่อแสดงความเอื้ออาทรแกสัตวที่อยูในความรับผิดชอบของเรา

Q

ในบทที่ 2 ในบทนั้นเราใหขอมูลในเรื่องของจุดประสงคของสวนสัตว แลวเราตั้งคําถามวา

เราจะทําอะไรเพื่อสัตวของเรา “ คุณยังจําไดถึงคําตอบที่คุณเคยตอบคําถามนั้นไดอยูหรือไม ” ในฐานะที่เราเปนผูเลี้ยงสัตวใ นสวนสัตว เราตองทํางานที่เกี่ยวของกับตัวสัตวอ ยา งดีที่สุด เพื่อที่จะอนุรักษสัตวชนิดนี้ไว ตองดูแลสัตวเหลานี้ใหมีสุขภาพที่ดี การที่จะทําใหสัตวที่เราดูแลอยูมีสุขภาพที่แข็งแรงสิ่งที่เราตองระลึกไวอยูเสมอคือ 1 ตองมีความเขาใจในพฤติกรรมของสัตวชนิดนั้น พรอมทั้งเตรียมสภาพแวดลอมภายในสวนแสดงให เหมาะสมกับพฤติกรรมสัตวชนิดนั้นๆ 2.รูวิธีการที่จะจัดการเรื่องการสุขาภิบาลกรงคอกสัตวชนิดนั้นๆ รวมทั้งแผนการปองกันโรค 3. มีความมั่นใจวาอาหารที่เราจัดหาใหเปนอาหารที่มีคุณคาและมีปริมาณที่เพียงพอ เราจะเรียนรูกันในบทนี้วาอาหารที่ดีสําหรับสัตวปานั้นคืออยางไร สวนประกอบทางเคมีของอาหาร ซึ่งประกอบดวยธาตุ 2 กลุมคือ ออรแกนิค( organic )และ อินออรแก นิค ( inorganic ) - organic (วัตถุ ที่ไดมาจากสิ่งมีชีวิต เชน น้ําตาล ฝา ย อินทรีย (เคมี) เชนโปรตีน คารโบไฮเดรต ไขมันอิ่มตัวและไขมันไมอิ่มตัว วิตามิน - inorganic ( ธาตุที่ไมไดมาจากสัตวและตนไม) เชน เกลือ น้ํา แรธาตุ อาหารของสัตวในสวนสัตว การศึกษาทางวิทยาศาสตรใ นเรื่องที่เกี่ยวของกับอาหารสัตว โดยใชสัตวที่ใ ชเลี้ยงเพื่อ ใชใ น งานทดลองทางการแพทย เชนหนู กระตาย และในสัตวปศุสัตว เชน หมู ไก วัว สัตวปศุสัตวจะเลี้ยงเพื่อใหสัตวเติบโตเต็มที่โดยใหใ ชเวลา คาใชจา ยในเรื่องของอาหารและ การจัดการนอยที่สุด เพื่อใหไดผลกําไรแกผูประกอบการ สวนในสัตวที่เลี้ยงเพื่อการทดลองจะเลี้ยง สัตวกลุมนี้ในปริมาณมาก เพื่อคัดเลือกเอาสัตวที่ไดมาตรฐานที่ตองการและใหมีคาใชจายในการจัดการ นอยที่สุด การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

66

การเลี้ยงสัตวในสวนสัตวเราตอ งการการเจริญเติบโตของสัตวใหเปนไปตามธรรมชาติ ให สัตวมีอายุขัยที่ยืนยาว ถาเปนไปไดเราควรตองหาอาหารใหสัตวปากินในชนิดเดียวกับที่สัตวกินในปา ธรรมชาติ แตกอนที่จะจัดหาอาหารเหลานั้นได สิ่งที่เราตองรูกอนคือ 1.เราตองรูชนิดอาหารที่สัตวชนิดนั้นกิน 2.เราสามารถจัดหาอาหารชนิดนั้นไดหรือไม เราสามารถจัดสามารถจัดสิ่งแวดลอมการหาอาหาร การกินอาหารใหเหมือนกับพฤติกรรมของ สัตวใหเหมือนกับในธรรมชาติหรือไม

A กอนที่จะอานตอไปใหคุณลองคิดวา มีความเปนไปไดมากนอยเพียงใดที่เราจะจัดหา อาหารใหสัตวปากินในชนิดเดียวกับที่อยูในปา รวมทั้งจัดสิ่งแวดลอมใหเหมือนปาธรรมชาติเพื่อให สัตวไดมีโอกาสแสดงพฤติกรรมของตัวเอง 1. การทราบถึงชนิดของอาหารที่สัตวปากิน โดยมีการศึกษาอยางละเอียดในถิ่นที่อยูของสัตวชนิดนั้นๆ ซึ่งถิ่นที่อยูที่สัตวชนิดนั้นอยูมีความเหมาะสมกับพฤติกรรมและสรีระของสัตว สัตวสามารถเคลื่อนยาย ไปยังแหลงอาหารตามที่มันตองการได ซึ่งชนิดของอาหารจะมีความแตกตางกันตามฤดูกาลและพื้นที่ ในความหมายนี้สวนสัตวจะสามารถหาอาหารในลัก ษณะเดียวกันที่สัตวกินไดหรือไมในแง ของชนิด และมีการเปลี่ยนตามฤดูกาล การที่ชนิดของอาหารที่สัตวกินมีการเปลี่ยนตามฤดูกาล เนื่องจากสัตวมีการปรับตัวเพื่อให ไดรับสารอาหารครบถวนตลอดเวลา ถึงแมวาอาหารที่มีในถิ่นที่อยูจะมีการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล 2. เราจะมีวิธีการอยางไรที่จะจัดหาอาหารที่มีคุณคาทางอาหารไดเหมือนกับที่สัตวไดกินในปา เราตอง หาสิ่งทดแทน เพือ่ ใหสัตวไดรับคุณคาทางอาหารที่ทําใหสัตวแข็งแรงเปนปกติ 3. สวนสัตวไมส ามารถจัดสถานที่ใ หสัตวส ามารถแสดงพฤติก รรมการกิน อาหาร ไดเ หมือ นกับ พฤติกรรมที่ทําในปาธรรมชาติ ใหทานเลือ กเอาชนิดสัตวที่ทานทราบรายละเอียดเปนอยางดี ที่ทานสามารถหาอาหารชนิดตาม ธรรมชาติได และตอบคําถามตอไปนี้ - ชนิดของอาหารที่สัตวชนิดนี้ที่กินในถิ่นที่อยูตามธรรมชาติ - เราจะหาอาหารชนิดใดทดแทนได - เราจะวางอาหาร อยางไรใหกับสัตว - ปริมาณอาหารมากนอยเทาใดที่เพียงพอสําหรับสัตว การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

67

- เวลาใดที่เราใหอาหารแกสัตว - อาหารที่เราจัดหาใหสัตวมีความผันแปรตามฤดูกาลหรือไม อาหารธรรมชาติ หมายถึงอาหารที่พบในสิ่งแวดลอมตามธรรมชาติ หรือสามารถทดแทน อาหารที่สัตวกินในธรรมชาติได มีความสดตามธรรมชาติ มีความผันแปรตามฤดูกาล สัตวตองมีการ ปรับตัวที่จะกินอาหารนั้น เราแบงอาหารธรรมชาติออกไดเปน อาหารที่ไดจากพืช คือ - จากเปลือกไม เนื้อไม จากไมในลักษณะไมพุมหรือไมยืนตนขนาดใหญ - จากใบไม - จากผลไมและเมล็ด - น้ํา เชนจากน้ําหวานจากเกสรดอกไม อาหารที่ไดจากสัตว คือ - สัตวที่ไมมีกระดูกสันหลัง - สัตวมีกระดูกสันหลังขนาดเล็ก - สัตวเลี้ยงลูกดวยนมขนาดใหญ การแบงกลุมของสัตวตามลักษณะและชนิดของอาหารที่สัตวกินมีดังนี้ กลุม 1.สัตวกินพืช เปลือกไม เนื้อไม เชน ไมยืนตนที่มีลักษณะเปนทรงพุม เปนตนไมที่มีกิ่งกา นและ ใบ ยอดออน เปลือกไม เนื้อไม สัตวกินพืชที่กินใบพืชเปนอาหารหลัก ลักษณะของฟนจะเหมาะกับ การกัด แทะ รูดกินใบไม เปลือกไม กานและใบ ระบบทางเดินอาหารเหมาะกับการยอยเยื่อใยใน ลักษณะนี้ ตัวอยางสัตวกลุมนี้เชน อูฐ แพะ กวาง ยีราฟ ชาง แรดดํา กลุม 2.สัตวกิน พืช- ใบพืช 2.1 หญา มีเยื่อใยที่ยากตอการเคี้ยว สัตวที่กินหญาจึงมีการลักษณะฟนและทางเดินอาหารที่จะยอยเยื่อ ใย 2.2 พืชที่ใบและกานใบที่อวบน้ํา ( Herbaceous plant ) ซึ่งรวมทั้งสวนของดอกไม ผลไม สวนของหัว ซึ่งสัตวที่กินจะเรียกสัตวที่กินพืชกลุมนี้วา browser ซึ่งสัตวกลุมนี้ก็มีลัก ษณะของทางเดินอาหารและ ฟนที่ใหเหมาะสมกับการยอยอาหารกลุมนี้ ตัวอยางของสัตวที่กินอาหารกลุมนี้ (กลุม 2 พืช-ใบไม ) เชน วัว แกะ แพะ ลามา มา มาลาย แรดขาว คาง กลุม 3 .สัตวกินผลไมและเมล็ดพืช เปนกลุมพืชที่มีความเกี่ยวของของฤดูกาล ซึ่งสวนที่กินไดจะมี ตั้งแตเมล็ดพืชที่ยังไมสุก จนถึงผลไมที่มีเนื้อฉ่ําน้ํา สัตวกลุมนี้มีลักษณะของรางกายที่สามารถที่จะจับ การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

68

และจะทําใหสวนเปลือ กแตกออก มีทางเดินอาหารที่สามารถยอยทั้งผลไมแ ละเมล็ดพืชได แตไม สามารถที่จะยอยพืชที่มีเยื่อใยได ตัวอยางของสัตวกลุมนี้เชน นกสวนใหญ หมี คางคาว ลิงไมมีหาง และลิงมีหางบางชนิด กลุม 4 .สัตวกินสัตวไมมีกระดูกสันหลัง เปนสัตวขนาดเล็กเชนแมลง ปลวก ตัวหนอน แมงมุม กุง สัตวที่กินสัตวกลุมนี้ตองมีรางกายที่สามารถหาสัตวเหลานี้จากธรรมชาติได เชน ตัวนิ่ม กิ้งกา นกสวน ใหญ กลุม 5. สัตวที่กินสัตว มีกระดูกสันหลังขนาดเล็ก เชน ปลา กบ นกขนาดเล็ก รวมทั้งไข กิ้งกาและ สัตวเลี้ยงลูกดัวยนมขนาดเล็ก โดยสัตวเหลานี้จะถูกกินในสวนของขน กระดูก แตสวนของขนจะไม ถูกยอยและถูกขับถายออกมา ตัวอยางของสัตวที่กินสัตวกลุมนี้เชน นกเคา แมว อินทรี เหยี่ยว กิ้งกา ขนาดใหญ งู สัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่เปนผูลาขนาดเล็กเชน หมาจิ้งจอก กลุม 6.สัตวที่กินสัตวสัตวเลี้ยงลูก ดวยน้ํานมขนาดใหญ หรือปลา สิ่งที่สัตวกลุมนี้ถูกกินคือ เนื้อ ขน ลําไส กระเพาะอาหาร ตับ ไต และปอดซึ่งสัตวเหลานี้จะถูกฆาและกินสดๆ สัตวที่กินสัตวกลุมนี้จะ มีความสามารถในการลา สัตวที่ตัวเองตองการเปนอาหาร เชนมีกลา มเนื้อที่บริเวณกรามขนาดใหญ ตัวอยางของสัตวที่กินสัตวกลุมนี้คือ เสือ หมาจิ้งจอก หมี แมวน้ํา นาก สิงโตทะเลและนกที่กินปลา เปนอาหาร กลุม 7. สัตวที่กินอาหารเหลว สัตวที่กินอาหารกลุมนี้เชน สัตวที่เกิดใหมที่กินนม คางคาวแวมไพรกิน เลือด นกฮัมมิ่งกินน้ําหวานจากดอกไม งูที่กินไขนก

A ใหเลือกสัตวมาหนึ่งซึ่งเปนชนิดสัตวที่ทานคุนเคย แลวลองพิจารณาดูอีกครั้งวาสัตวชนิดดังกลาว จัดเปนสัตวที่กินอาหารกลุมใด ก็จะพบวาความจริงแลวสัตวชนิดดังกลาวยังกินอาหารกลุมอื่นๆดวย ตัวอยางเชน ลิงชิมแพนซี ซึ่งกินอาหารในกลุมที่ 3 แตยังกิน อาหารกลุมที่ 2 และ4 ดวย อาหารของ ลิงชิมแพนซีประกอบดวยผลไม เมล็ดพืช ใบไมและสัตวที่ไมมีกระดูกสันหลัง โดยใหคิดถึงกระตาย ( อยูในกลุม2และ3 )หรือหมาจิ้งจอก ( อยูในกลุม 5,4,6 )

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

69

อาหารที่ใชแทนอาหารธรรมชาติ เมื่อ เราไมส ามารถหาอาหารธรรมชาติ ตามชนิดที่สัตวเคยกินได จึงตอ งจัดหาอาหารที่มา ทดแทน ซึ่งการใชอาหารในรูปแบบนี้เริ่มในฟารมปศุสัตวและในสัตวเลี้ยงเพื่อ ทดลอง และเริ่มมีการ ใชในกลุมสัตวในสวนสัตวเปนลําดับตอมา โดยรูปแบบที่ออกมาจะเปนรูปของอาหารเม็ด แบบผง ซึ่งคําที่ใชเรียกอาหารแบบนี้คือ อาหาร ขน สิ่งที่นํามาเปนวัตถุดิบสําหรับผลิตอาหารขน เชน ถั่วเหลือง มันสําปะหลัง รํา กระดูก ปลาปน ซึ่งรูปแบบการใหอาหารแกสัตวจะเปนแบบผสมผสานทั้งอาหารธรรมชาติกับอาหารทดแทน หรือจากอาหารธรรมชาติอยางเดียวคงขึ้นกับปจจัยเชน การยอมรับอาหารของสัตวเอง การหาไดของ ชนิดอาหารในแตละฤดูกาล ขอดีของอาหารทดแทน 1. เปนอาหารที่เราทราบสวนประกอบของอาหาร ซึ่งสามารถคํานวณความตองการของสัตวได 2. สามารถจัดหาใหสัตวกินเปนประจําได 3.สะอาดและเปนอาหารที่มีคุณคา 4. เก็บอาหารไดยาวนานกวา อาหารสด และการที่เก็บอาหารเปนถุงหรือ เปนกระปองจะทํา ใหอาหาร สะอาดทุกครั้งที่เปดอาหารถุงใหม ขอเสียของอาหารทดแทน 1.การใหกินอาหารซ้ํากันทุกวันสัตวจะเกิดความเบื่อหนาย 2. สูญเสียรสชาดไปถาเก็บอาหารไมดี ถาอาหารเปยกชื้น อาหารจะเกิดเชื้อราและเปนอันตรายแกสัตว 3. ลักษณะของอาหารจะกินไดงาย ถาสัตวกินก็หมดอยา งรวดเร็วและสัตวก็จะมีเวลาวา งมากเกินไป ตองหากิจกรรมอื่นๆ ใหสัตวทํากิจกรรมหรือใชการซอนอาหารเพื่อใหสัตวมีกิจกรรมทํามากขึ้น

(แผนงานที่จะตอ งทํา ในสวนสัตว ) ใหเก็บตัวอยางปายที่แสดงคุณคาทางอาหารของ ของ อาหารถุงแตละชนิด ทดลองชิมรสและดมกลิ่นของอาหารอาหารชนิดนั้นดู รวมทั้งการสอบถามจากผู เลี้ยงสัตวถึงความชอบของสัตวกับอาหารแตละยี่หอ วาตางยี่หอมีสัตวมีก ารกินอาหารที่แ ตกตางกัน หรือไม

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

70

อาหารเสริม ( Food supplement ) อาหารเสริม ทั้งในรูปแบบที่เปนธรรมชาติหรือแบบอาหารประกอบ ซึ่งการใสอาหารประเภท นี้เพื่อที่จะใหสวนที่ขาดไปไดรับการเพิ่มเติม ซึ่งรูปแบบสิ่งที่เสริมมีในหลายรูปแบบเชน เม็ด ผง น้ํา ตัวอยางการใชคือ เนื้อสัตวเปนสวนที่มีโปรตีนแตขาดแคลเซี่ยม และสวนของวิตามินบางตัว ปลาที่แชแข็งเปนเวลานานจะเสียวิตามินบางอยางไป หรือในสวนของตัวสัตวเองเชน กลุมลิงมารโม เสทหรือทามารีนตองการวิตามินดี 3 ดังนั้นเราตองเพิ่มในสิ่งที่ตองการเขาไป สิ่งหนึ่งตองคํานึงถึงก็คือการเก็บวิตามินและแรธาตุในสภาพที่แ หง มิดชิด และในการตวง สารเหลานี้ควรจะชั่งเพื่อใหไดปริมาณที่ถูกตอง หรือการอานเอกสารที่แนบมาใหทราบปริมาณของยา แตละเม็ด และตรวจสอบความตองการของสัตวแตละชนิดกอนที่จะใหสารเหลานี้

(แผนงานที่จะตองทําในสวนสัตว ) ใหอานปายที่ใหรายละเอียดสารประกอบที่มากับขวด และ วิธีการใชดวยความรอบคอบ คุณคาของอาหารและเราจะมีวิธีอยางไรในการนําอาหารใหสัตวกิน คุณคาของอาหารที่ใหแกสัตวเหมาะสมหรือไมโดยการใชการวิเคราะหทางวิทยาศาสตรและ การดูที่ตัวสัตวเปนสวนประกอบ

Q

เราจะมีวิธีการอยางไรอยางไรเพื่อที่ตรวจสอบวาอาหารที่เราใหแกสัตวดีสําหรับสัตว ( ลองตอบ

คําถามดวยตัวเองกอนที่จะอานดูตําตอบที่อยูถัดลงมา )

การดูจากตัวสัตว - สภาพโดยทั่วไป อวนไปหรือผอมไป - ดูที่ผิว ขน - ดูที่นัยตา (ใส มีน้ําตา หรี่ๆ เปด ) - ลักษณะมูล สี เปนกอนหรือเหลว - พฤติกรรม (ปกติหรือผิดปกติ ) การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

71

สัตวที่ไดรับอาหารที่เหมาะสมทั้งปริมาณและคุณคา รวมทั้งการจัดการดานสุขาภิบาลที่ถูกตองจะมี ลักษณะ ดวงตาสดใส มีขนเปนมันเงา ลักษณะของมูลปกติ มีการเคลื่อนไหวเปนปกติ ไมเหงาซึม สนใจสิ่งแวดลอมรอบขาง มีพฤติกรรมปกติ สัตวที่มีสุข ภาพดีจะดูมีความสนใจที่จะกินอาหาร ใชเวลาเพื่อหาอาหาร ซึ่งดวยปกติในปา ธรรมชาติเปนเรื่องไมปกติที่จะมีแหลงอาหารอยูในที่แหงเดียวเหมือนกับในสวนแสดงสัตว การใหอาหารแตนอยแตบอยครั้ง สัตวหลายชนิดจะมีความสนใจในอาหารที่ชิ้นเล็ก แตรสชาดดี ซึ่งถาเราใชอาหารเหลานี้เพื่อซอนในที่ตางๆ เพื่อใหสัตวไดคนหา การจัดวางอาหารแกสัตวก็เปนเรื่องที่สําคัญ จุดประสงคในสวนนี้เพื่อใหสัตวทุกตัวไดมีโอกาส ไดรับอาหารอยางทั่วถึงทุกตัว ลดการปนเปอนจากเชื้อโรค ลดการสูญเสียอาหาร ตองทําเปนรูปแบบ ที่เหมาะสม แสดงถึงความเอาใจใสของสวนสัตวที่มีตอสัตวเมื่อตองนําสัตวจัดแสดงตอผูเที่ยวชม อาหารที่เหลือคือเงินที่สูญเสียไป อาหารที่เหลือไมควรจะตกคางไปอยูที่พื้นดิน ซึ่งจะเปนตัวที่ชัก นําใหหนู นกปาเขามาที่กรงซึ่งสัตวกลุมนี้จะมารบกวนและนําโรคติดตอเขามาดวย การใสอาหารใน ภาชนะชนิดใดก็ตามมีจุดประสงคเพื่อลดการสูญเสียอาหาร ซึ่งสิ่งเหลานี้ยังขึ้นอยูกับความเปนคนชาง สังเกตของตัวผูเลี้ยงสัตวเองดวย

ใหใชรายการขางลา งนี้เพื่อตรวจสอบวา การจัดวางอาหารใหสัตวที่ทานดูแลอยูและ คุนเคยเปนอยางดีนั้นดีมากนอยเพียงใด ตองมีการปรับปรุงหรือไม ซึ่งคุณสามารถตอบคําถามเหลา นี้ ดวยตัวของคุณเอง ในขณะนี้และกับสัตวชนิดอื่นก็สามารถใชตรวจสอบไดเชนกัน

1..ใหอาหารแกสัตววันละกี่ครั้ง 2..สัตวกินอาหารหรือไม 3..ในกรณีที่อาหารตองการเสริมวิตามินเชนสัตวที่กินปลาแชแ ข็งไดเสริมเขา ไปหรือยัง เชนวิตามินอี เกลือทะเล 4..คุณคาอาหารและปริมาณไดรับการตรวจสอบเปนอยางดีแลววาเหมาะสม 5..ชนิดของอาหารมีความหลายหลายเพียงพอหรือไม เพื่อลดการเบื่ออาหารและไดอาหารที่มีคุณ คาสมดุล การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

72

6..ถาไมกินอาหารเปนเพราะอะไร เราจะมีวิธีการใหอาหารแกสัตวอยางไรเพื่อลดการสูญเสีย อาหารได 7...ถาใสอาหารในถาด ถาดถูกสัตวทําลายหรือไม (เชนในกรณีที่ลิงจับถาดอาหารอลูมิเนียมแลว ถูกทุบกับพื้นเลน ) ภาชนะที่จัดใหเหมาะสมกับสัตวหรือไม 8..สัตวเปนสัตวที่คอยๆกินหรือไม เชนมาลายหรือมา หรือเปนสัตวประเภทที่กินอยางรวดเร็ว แลวจึง มาเคี้ยวภายหลังหรือไมเชนกวาง แอนติโลพ ยีราฟ สัตวผูลาเชนแมวหรือหมาจิ้งจอก 9.ในกรณีที่สัตวอยูรวมกันหลายตัว เชนลิง คาง ซึ่งจะมีกรณีที่หัวหนาฝูงจะไดกินอาหารกอน คุณแนใจอยางไรวาอาหารที่ใหไปเพียงพอ มีจุดวางอาหารที่มากพอที่สัตวทุกตัวไดรับอาหารอยางทั่วถึง 10.ในกรณีที่สัตวไมกินอาหารคุณไดมีการเปลี่ยนแปลงอาหารหรือไม หรืออาหารที่มีการเปลี่ยน แปลงตามฤดูกาล คุณไดเปลี่ยนอาหารหรือไม 11.การเก็บเศษอาหารที่เหลือทําไดอยางไร เหมาะสมหรือไม 12. มีกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่อ งกับอาหาร ที่เปนการสรางกิจกรรมในกรงเลี้ยงหรือ ไม เชนซอนอาหาร หวานอาหารเปนพื้นที่เพื่อใหสัตวไดเก็บกิน เราควรใหผูเที่ยวชมใหอาหารแกสัตวในสวนสัตวหรือไม ผูเที่ยวชมบางทานตองการใหอาหารแกสัตวบางชนิด และรวมทั้งสัตวบางชนิดที่จะเรียนรูการ ขออาหารจากผูเที่ยวชม เนื่องจากไดกินอาหารที่ตางไปจากที่ตัวเองกินอยูประจํา ซึ่งสัตวจะเกิดความ เบื่ออาหาร แตถาปลอยเลยตามเลยโดยไมมีการควบคุม จนผูเที่ยวชมรูสึกวาตนมีเสรีที่จะใหอาหารแก สัตวไดนั้น เปนการสรางความรูสึกที่ไมถูกตอง นอกจากนั้นหากไมการควบคุมจะมีการขวา งขนมที่ อยูในถุงไปใหแกสัตวเลย หรือใหอาหารที่ไมเกิดประโยชนตอรางกายสัตว การสรางกฎที่วา ผูเที่ยวชมไมส ามารถใหอ าหารสัตวอ ยางเสรี โดยไมมีผูเลี้ยงสัตวเปนผู ควบคุมนั้นเปน กฎที่ตอ งสรางใหเกิดขึ้น แตสิ่งหนึ่งที่เราปฏิเสธไมไดถึงรายไดจากการขายอาหาร เพื่อใหผูเที่ยวชมไดมีโอกาสใหอาหารแกสัตว ซึ่งก็อาจจะใชชนิดของอาหารที่สัตวกินอยูแลว และใน ปริมาณเดิมที่ใหสัตวเปนประจํา เมื่อหมดใหหยุดการจําหนาย ไมควรปลอยใหขายตอไป คลังอาหาร อาหารที่จะใหสัตวกิน การจัดหามาจากหลายทางดวยกัน เชน การจัดซื้อเองของสวนสัตว การจัดหาผูสงอาหารตามรายการที่ทางสวนสัตวเปนผูกําหนด การตัดกิ่งไมภายในสวนสัตว การทํา แปลงปลูกหญาเอง หรือการออกตัดหญาตามที่สาธารณะตางๆ

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

73

การการจัดซื้ออาหารเขามาเชนอาหารแหง การจัดเก็บอาหารมีปจจัยที่ใชใ นการตรวจสอบ ทั้งหมด 4 ขอคือ ความแหงของอาหาร ( Dry ) อายุของอาหาร ( Age ), หนู ( Rodent ), อาหารที่สงเขา มากอนตองใชกอน ( Turn over ) 1.ความแหงของอาหาร ( Dry ) อาหารแหงจะมีขอ เสียเมื่อถูกน้ําและความชื้น ที่จะทําใหเกิดเชื้อรา และแบคทีเรีย เชื้อราจะสรางสารพิษและหากสปอรถกู หายใจเขาไปในปอดจะทําใหเกิดโรคในระบบ ทางเดินหายใจ ในอาหารที่ตองแชเย็นเชน เนื้อ ปลา ที่สามารถเก็บไดเปนเวลาหลายเดือน ไขมันจะเปน สวนที่มีการเนาและเสื่อมสภาพไดเร็ว ทําใหรสชาดของอาหารไมนากิน การละลายน้ําแข็งออกจากตัว ปลาไมควรใชการแชในน้ําแตควรใชการปลอยใหละลายในอุณหภูมิหอง ผลไม พืช หัวพืช ไข หากสามารถซื้อไดทุกวันก็จะไดอาหารที่สด 2. อายุของอาหาร ( Age ) อาหารสวนใหญเปนสิ่งของที่เนา เสียไดเร็ว ถึงแมจะมีการแชเย็นก็ตาม เนื้อและปลาจะมีการเนาที่รวดเร็ว ไขแ ละผลไมจะอยูไดนานยิ่งขึ้นถามีการแชเย็น อาหารแหงจะ สามารถเก็บไวไดนานแตตองดูวันหมดอายุ ซึ่งสิ่งที่ควรปฏิบัติคือสั่งอาหารแหงในปริมาณไมมาก เกินไป เพื่อใหมีอาหารเขาใหมอยางสม่ําเสมอ 3.หนู ( Rodent ) ตองมีการกําจัดหนูอยูเปนประจําโดยใชวิธีก ลเชนการใชกาวดักหนู การใชก าวดัก หนูหากเลือกใชวิธีกําจัดหนูดวยวิธีการใชยาฆาหนู อาจมีผลกระทบไดเชน หนูไปตายในกรงสัตวที่ กินหนูเปนอาหาร 4. การใชอาหารที่เขามากอนตองนํา มาใชกอ น (Turnover ) เชนเนื้อถุงนี้เขามากอนตองใชกอน การ จัดเรียงของในตูแชเนื้อตองใหทราบวาถุงใดมากอนมาหลัง อาหารแหงชุดใดมากอนมาหลัง ตองเรียง ถุงอาหารใหทราบวาชุดใดมากอนมาหลัง

ใหตรวจสอบคลังอาหารที่คุณมีสวนเกี่ยวของอยูวา - ในกรณีที่อาหารที่สงไมไดคุณภาพตามที่ตกลงกันในสัญญาจะมีวิธีการดําเนินการอยางไร ซึ่ง ถาอาหารไมไดคุณภาพ และคนสงไมสามารถหาอาหารมาทดแทนได คลังอาหารมีวิธีการจัดการ อยางไร - ในกรณีที่สงอาหารเชนหญาไมครบตามปริมาณที่ตกลง ซึ่งทําใหสัตวบางชนิดไดรับอาหาร นอยลงจะมีวิธีการจัดการเพื่อใหสัตวไดรับอาหารที่พอเพียงอยางไร - มีที่ทิ้งขยะหรือจัดเก็บขยะเรียบรอยหรือไม - มีอางผักและแชดวยดางทับทิมหรือไม การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

74

- มีการชั่งน้ําหนักอาหารเมื่อรับอาหารจากผูรับเหมาหรือ - คณะกรรมการที่ไดรับการแตงตั้งมาปฏิบัติหนาที่หรือไม - มีการกําจัดหนู หรือไม - หลังการทํางานประจําวันเสร็จสิ้น มีการเก็บกวาดบริเวณคลังอาหารใหสะอาดเรียบรอย หรือไม - การจัดเก็บภาชนะที่ใชในคลังอาหาร มีการจัดเก็บอยางเปนระเบียบเรียบรอยหรือไม - หากมีการใชแกสเพื่อการหุงตม มีความปลอดภัยในการใชหรือไม - การเรียงอาหารแหงทําเปนระเบียบเรียบรอยหรือไม - หองแชเย็นสามารถใชงานไดหรือไม - หองน้ําสามารถใชงานไดดีหรือไม - รถขนสงอาหารอยูในสภาพที่พรอมใชงาน มีการซอมบํารุงสม่ําเสมอ - คนทํางานที่มีเพียงพอตอปริมาณงานหรือไม - มีงานเชน การเพาะเลี้ยงจิ้งหรีด หนู นกกระทา แปลงหญา ปลูกตนไมที่ใชกินใบหรือไม - มีงานวิเคราะหอาหารเพื่อดูคุณคาอาหารที่เราใหสัตวทุกชนิดหรือไม หรือมีการตรวจสอบกับ ผูเลี้ยงสัตวหรือไมวาชนิดอาหาร ปริมาณที่จัดใหเหมาะสมกับตัวสัตวหรือไม - ระบบการเก็บขอมูลในคลังอาหารสัตวมีรายละเอียดเพียงพอหรือไม - การตรวจรับอาหารหากอาหารที่นําสงมาไมมีคุณภาพเพียงพอ แตกรรมการยังไมเขามาดูอาหาร ฝายคลังอาหารตองรีบแจงใหกับกรรมการโดยเร็ว - ใหผูเลี้ยงไดมีโอกาสไดแจงกลับมาเรื่อ งปริมาณและคุณภาพอาหาร แจงมาที่หัวหนาแผนกหรือ ผูอํานวยการสวนสัตว โดยทําเปนแบบฟอรมที่จะแจงเรื่องเหลานี้กลับมาได คําถาม ทานมีขอในการตรวจสอบคลังอาหารวาอยูในสภาพที่เรียบรอยในหัวขออื่นหรือไม

ขอมูลเพิ่มเติม - ฟน ใชสําหรับการจับอาหารและยอยอาหารใหมีขนาดเล็กลงกอนที่จะกลืนอาหารลงไป - ฟนตัด ( incisor ) มีหนาที่ตัดชิ้นอาหารใหเล็กลง - ฟนเขี้ยว ( Canine ) ใชเปนอาวุธในการลาเหยื่อของสัตวกินเนื้อ - ฟนกราม ( Molar ) เปนฟนที่มีลักษณะเปนสันแบงยอยในตัวฟน ที่จะชวยตัดอาหารที่มีเยื่อใย สูงเชน หญา ใบไม การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

75

- การยอยอาหารในทางเดินอาหาร ( alimentary canal) การยอยอาหารประกอบดวย กระบวนการหลายอยางเชน การใชฟนเคี้ยวอาหาร การยอยดวยน้ํายอยในกระเพาะอาหาร การใชเอน ไซนเพื่อทําใหเปนสารเคมีที่เล็กลง เพื่อใหสามารถดูดซึมสารอาหาร และ ใชหลอเลี้ยงรางกายตอไป - สารอาหารที่ไมตองผานการยอย กอนที่จะดูดซึม เชน แรธาตุ เกลือแรและน้ํา - สารอาหารที่ยากตอการยอยเชน เยื่อใยที่เปนสวนประกอบของหญาและใบไม - โปรตีนจะมีการยอยใหเล็กลงเปน กรดอะมิโน ( amino acid ) - กรดอะมิโน จะใชในการสรางเนื้อเยื่อและโครงสรางของรางกาย กรดอะมิโนมีดวยกัน 22 ชนิด โดยมี 10 ชนิดที่ตองไดรับจากอาหาร และอีก 12 ชนิดรางกายสามารถเปลี่ยนจากกรดอะมิโน ตัวอื่นได เราตองมีความมั่นใจวาอาหารที่เราจัดใหกับสัตวมีกรดอะมิโนครบถวน - ไขมันอิ่มตัว สามารถสรางไดในรางกายสัตวจากน้ําตาลที่มีในรางกาย แตกรดไขมันแบบไม อิ่มตัวรางกายจะไดจากอาหารที่กินเขาไป เชนสัตวกินเนื้อจะไดจากเนื้อที่กินเขาไป - แปง ที่มีในพืช ไกลโคเจนที่มีในเนื้อสัตวและน้ําตาลที่มีโครงสรางเปนธาตุคารบอน 12 ตัว จะถูกยอยใหเปนน้ําตาลที่มีโครงสรางธาตุค ารบอน 6 ตัว เพื่อดูดซึมไปเลี้ยงรางกาย และมีน้ํา ตาล บางสวนที่จะเก็บสะสมในรูปของไกลโคเจน เพื่อใหรางกายใชในกรณีอื่นๆ ตอไป - เซลลูโลสและลิกนิน ที่เปนสวนประกอบในเซลพืชซึ่งเปนสารเคมีในอาหารในกลุม คารโบไฮเดรต สัตวที่กินพืชเปนอาหารไมสามารถยอยเซลลูโลสและลิกนินไดโดยตรง ตองอาศัย micro- organism เชนเชื้อราและแบคทีเรียบางชนิดที่อาศัยอยูในทางเดินอาหารของสัตวกิน พืช คารโบไฮเดรตเปนแหลงอาหารที่ใหพลังงานแกรางกาย - สารอาหารที่ใหพลังงานแกตัวสัตวไดแก ไขมัน น้ํามัน คารโบไฮเดรตและโปรตีน - ในการวัดพลังงานที่มีในอาหาร จะมีหนวยวัด 3 แบบดวยกันคือ 1.British Thermal Unit แตนิยมใชหนวยนี้ในการวัดคาความรอนของน้ํามัน แกส ไฟฟา 2. จูล ( Joul ) มีขอตกลงในระดับนานาชาติที่จะใชหนวยนี้สําหรับคาพลังงานในอาหาร โดย 1 กิโลจูล ( kilojule, kj ) เทากับ 1000 จูล 3. calories ( แคลอรี ) ในการคํานวณเรื่องอาหารจะใชแคลอรีเปนหลัก หนวยที่ใชคือ 1000 แคลอรี ( carolies ) เทากับ 1 กิโลแคลอรี ( kilocalories ) หรือถาเราเปรียบเทียบกับ จูล ( joul ) 4.2 กิโลจูล ( kj ) เทากับ 1 แคลอรี -ใน 1 กรัมของไขมันจะใหพลังงาน 10 แคลอรี - 1 กรัมของคารโบไฮเดรตจะใหพลังงาน 3.6 แคลลอรี่ - 1 กรัมของโปรตีนใหพลังงาน 4 แคลอรี่ การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

76

- ความตองการพลังงานของสัตวตอวันจะขึ้นอยูกับ 1.ความรอนที่เสียไปตอพื้นผิวของรางกาย สัตวขนาดเล็กจะมีพื้นที่ตอปริมาตรหรือตอน้ําหนักมากกวา สัตวที่มีขนาดใหญ 2.อายุ 3. ฤดูกาลและกิจกรรมของสัตว เชน ชวงตั้งทอง ชวงใหอาหารลูกออน ชวงการจําศีล 4. ชนิดสัตวเชน สัตวเลือดอุนที่ตองรักษาอุณหภูมิรางกายของตัวเองใหค งที่ สวนสัตวเลือดเย็นที่ตอง พึ่งพาพลังงานจากสิ่งแวดลอมเชนแสงอาทิตย 5.ประสิทธิภาพการใชอาหารของสัตวชนิดนั้น (ยอยและดูดซึม ) - วิตามิน เปนสารอาหารที่รางกายตองการในปริมาณนอยและสามารถดูดซึมไดในทางเดินอาหาร - วิตามินเปนสารอาหารที่มีความสําคัญของขบวนการเคมีในรางกาย โดยแบงวิตามินออกเปน 2 กลุม คือ 1. วิตามินที่ละลายในไขมัน เชนวิตามินเอ ดี อี 2. วิตามินที่ละลายในน้ํา เชน วิตามินซี ไทอามีน กรดฟลอลิค - แรธาตุเปนสารอาหาร ที่รางกายตองการในปริมาณนอย เปนสวนประกอบสําคัญในปฏิกริยาเคมีใน รางกายและโครงสรางของรางกายเชน แคลเซี่ยม ฟอสฟอรัส เปนสวนประกอบของกระดูก โซเดียม เปนสวนประกอบของเหลวในรางกาย เหล็กเปนสวนประกอบของเม็ดเลือกแดง

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

77

บทที่ 7 อาหารสําหรับสัตว เนื้อหา - อาหารคืออะไร - เราจะเลือกอาหารที่ใหแกสัตวอยางไร - อาหารสําหรับสัตวกินพืช - อาหารสําหรับสัตวที่กินทั้งพืชและสัตวอาหารสําหรับสัตวกินเนื้อ - อาหารสําหรับนก - เราจะรูไดอยางไรวาสัตวไดรับอาหารที่เหมาะสมหรือไม - อาหารสําหรับสัตวเกิดใหม

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

78

อาหารคืออะไร คือ สิ่งที่รางกายกินเขาไปเพื่อประโยชนดังตอไปนี้ 1. สารประกอบที่รางกายตองการเพื่อสรางโครงสรางของรางกาย รวมทั้งเพื่อสรางโครงสรางใหมและ ซอมแซมสวนที่สึกหรอ สวนนี้มาจากโปรตีน ดวยทั่วไปโปรตีนควรเปนสวนประกอบของอาหารใน สัตวทั่วไปประมาณ 12-20 เปอรเซ็นต สัตวที่ตองการโปรตีนมากกวาปกติคือสัตวที่เกิดใหมและสัตวที่ กําลังตั้งทอง 2. สารประกอบที่ใหพลังงานซึ่งมาจากไขมันและน้ํามัน (ประมาณ หนึ่งในหกของอาหารทั้งหมด ) และไดจากคารโบไฮเดรต คือกลุมแปงและขาว (ประมาณ หนึ่งในสาม) ของอาหารทั้งหมด โปรตีน เปนสารอาหารที่ใหพลังงานแตพลังงานที่ไดจากโปรตีนไมเพียงพอ 3. สารประกอบที่ทําใหปฏิกิริยาทางเคมีในรางกายดําเนินไปตามปกติ คือวิตามินและแรธาตุเปนสารที่ ตองการในปริมาณนอยแตเปนสิ่งที่ขาดไมได 4.สารประกอบประเภทเยื่อใย เปนสารประกอบในอาหารในกลุมสัตวที่กินพืชเปนอาหาร สามารถ เปลี่ยนสารประกอบนี้ใหเปนสารประกอบโปรตีนโดยใชแบคทีเรียที่มีในกระเพาะเปนตัวชวย 5.น้ํา สัตวกินเขาไปเพื่อทดแทนสวนที่ขับถายออกจากรางกายดวยวิธีตาง ๆ การทดแทนเขาไปดวยการ กินน้ําโดยตรงหรือไดรับจากอาหารซึ่งอาจเปนปริมาณที่เพียงพอ แตอยางไรก็ตามเราตองจัดน้ําใส ภาชนะไวใหสัตวกิน

60 50 40

ความชื้น โปรตีน

30

ไขมัน

20

แปง

10

เยื่อใย

0 ชนิดสารอาหาร

แผนภูมิ แสดงอัตราสวนอาหารของอูฐโหนกเดียวที่สวนสัตวนครราชสีมา

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

79

อาหารที่สัตวกินเขาไปมีความเกี่ยวเนื่องกับโครงสรางของรางกายเชน ลักษณะทางเดินอาหาร ลักษณะฟน

กอนที่จะผานบทนี้ไปคุณควรตองหาขอมูลกอนวางานคลังอาหารในสวนสัตวที่คุณทํางานอยู หรือในชนิดสัตวที่คุณรับผิดชอบอยู มีการวิเคราะหอาหารที่นําใหสัตวกินหรือไม วิธีการวิเคราะหอาหารโดยใชโปรแกรมเอ็กเซล

ใหดูแผนแทรกหลังหนาที่ 79 วา มีหัวขอใดที่ตองใชในการสรางตารางบาง O ในแงของการจัดการเรื่องอาหาร คงไมใชเรื่องของคุณคาทางอาหารอยางเดียวยังตองคํานึงถึง - ราคา - การเก็บรักษาอาหารใหใหมสด - การยากงายในการจัดซื้อ จัดหาอาหารชนิดนั้นๆ - การเตรียมอาหารแกสัตว ตองผานกระบวนการเชนหุง ตม หั่นกอนหรือไม - ภาชนะที่ใสใหสัตวกินเปนรูปแบบที่เหมาะสมหรือไม การวางภาชนะเปนเรื่องที่ตองใหความ เอาใจใส - ความสะอาดของอาหารและภาชนะที่ใส การวางกับพื้นในสัตวบางชนิดไมควรทําถาสัตวเหลา นั้นอยูในจุดที่แสดง และถาเปนสัตวที่สามารถหยิบกินไดจากภาชนะ ไมควรวางกับพื้นดิน - ตรวจสอบปริมาณที่ใหเพียงพอหรือไม ผูเลี้ยงตองรูจักสังเกตวาสัตวที่กินอิ่มนั้นแสดงพฤติกรรม ของการกินอิ่มอยางไร เชนไมเดินหาอาหารภายในคอก นั่งหรือนอนพัก หรือในกรณีที่สัตวอยูรวมกัน หลายตัว สัตวบางชนิดมีลําดับชั้นในกรงเลี้ยงเดียวกัน ตองคอยสังเกตพฤติกรรมตัวที่ดอยกวาวา ไดรับ อาหารเพียงพอหรือไม - ความชอบของสัตวที่มีตออาหารชนิดนั้น - สามารถปรับเปลี่ยนอาหารเพื่อไมใหสัตวจําเจไดหรือไม - การใชอาหารเพื่อใหสัตวมีกิจกรรมในสวนแสดงมากขึ้นหรือไม - จํานวนมื้อที่เหมาะสมวาควรใหวันละกี่มื้อ และเวลาใด ถาเปนสัตวที่ตองจัดแสดงใหผูเที่ยวชม มื้ออาหารก็เปนกิจกรรมที่นาสนใจที่ทําการการชมสัตวนาสนใจยิ่งขึ้น - สุขภาพของสัตวที่กินอาหารที่เราจัดให โดยดูจากอัตราการปวย ตาย อัตราการใหลูก

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

80

จากบทที่ 6 เราทราบแลววาอาหารที่ใหแกสัตวคือ อาหารสดจากธรรมชาติ อาหารสําเร็จรูป( อาหารเม็ด ) วิตามินและแรธาตุ การเลือกวาจะใชอาหารชนิดใด รูปแบบไหนเราจะใชแหลงขอมูลจาก 1. ขอมูลจากปา งานวิจัยของนักสัตววิทยาที่ทําการศึกษาชนิดของสัตวชนิดนั้นจากแหลงที่สัตวอยูใ น สภาพปาธรรมชาติที่เปนถิ่นที่อยูเดิม ซึ่งจะมีตัวอยางชนิดของอาหารชนิดนั้น เพื่อใหเราไดภาพคราวๆ วาสิ่งที่เราควรจะจัดหาใหถูกกับความตองการทางรางกายของสัตวชนิดนั้น และเมื่อนําอาหารที่สัตวกิน ในปามาวิเคราะหเราก็จะทราบวาระดับความตองการคุณคาของอาหารของสัตวชนิดนั้นเปนอยางไร 2..ขอมูลเดิมภายในสวนสัตวเอง ซึ่งใหขอมูลในแงวัสดุที่หาไดงายในทองถิ่นนั้น ราคาไมแพงจนเกิน ไป ประวัติการเจ็บปวยหรือตายที่มีผลเกี่ยวเนื่องกับอาหารหรือไม 3..ขอมูลจากสวนสัตวอื่นที่มีผลงานดานสุขภาพที่ดี ถาเปนตัวอยางในประเทศก็จะดีในแงการหาชนิด ของอาหารสามารถทําไดและราคาไมสูงเกินไป 4..งานวิจัย ซึ่งหมายถึงงานที่ผานกระบวนการทางวิทยาศาสตร เชน การทดลอง การเก็บขอมูลและ การประมวลผลทางสถิติ ไดรับการตรวจสอบจากผูทรงความรูและไดรับการตีพิมพในวารสารที่นาเชื่อ ถือ O เราแบงชนิดของสัตวตามอาหารที่สัตวนั้นกินไดเปน 1..สัตวที่พืชเปนอาหาร อาจแบงไดเปน สัตวที่หญา เปนอาหารหลัก กินใบไมเปนอาหารหลัก กิน ผลไมเปนอาหารหลัก 2..สัตวที่กินพืชและสัตว 3..สัตวทสี่ ัตวเปนอาหารหลัก 4. นก

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

81

ตารางเปรียบเทียบ สูตรฟนกับการใชงาน ชนิดสัตว ฟนตัด ฟนเขี้ยว สุนัข เนื้อ

สัตวกิ น บน 3 – ลาง 3 ลักษณะคลายสิ่ว

บน 1 - ลาง 1 ขนาดใหญ เ พื่ อ ใช กั ด เหยื่อใหตาย

ฟนกอนฟนกราม การใชงาน และฟนกราม -Molar carnassials teeth บน 4 – ลาง 4 ( ฟนกอนฟนกรามบนและฟนกราม บน 2- ลาง 3 ลางมีลักษณะเพื่อการฉีกเนื้อ ) ใชเพื่อตัดเนื้อ - โดยรวมฟนจะมีหนาที่ตัด สับ เนื้อและทําใหกระดูกแตก

หมู สัตวกินทั้ง บน 3-ลาง3 คลายสิ่วขนาดเล็ก พืชและสัตว

บน 1- ลาง1

มา สัตวกินพืช

บน 1 ลาง 1

บน 3 ลาง 3

ใชเพื่อตัด

บน 4 และ ลาง 3 ฟนกราม บน 4 และ ลาง 3 เคี้ ย ว กดบี บ อาหารให เ ล็ ก แล ะ ในตัวฟน จะมีรอยหยัก ละเอียด ที่ทําใหเกิดสัน ในตัวฟน ที่จ ะช วยบดอาหารให ละเอียด

ซึ่งจะมีทั้งที่

เล็กลงและไมมีก็มี

ไบซัน สัตวเคี้ยว บนไมมี บนไมมี เอื้อง ลาง 3 ใชเพื่อตัด- กัด ลาง 1 ขนาดเล็ก

บน 4 และ บน 3 ฟนกรามมีลักษณะยาว ลาง 4 และ บน 3 เพื่อชวยการบดเคี้ยวอาหาร ส าร เค ลื อ บ ฟ น ( enamel ) จะมีลักษณะ เปนสัน

บน 3 และ บน 3 ฟนกรามมีลักษณะยาว ลาง และ บน 3 เพื่อชวยการบดเคี้ยวอาหาร

หญา

carnassial adj. Zoology denoting the large upper premolar and lower molar teeth of a carnivore, adapted for shearing flesh. อาหารสําหรับสัตวที่กินพืชเปนอาหารหลัก พืชเปนผูผลิตขั้นตนของหวงโซอาหาร เปนผูผลิตสารอาหารและเก็บสารอาหารเหลานั้นไวใน ใบ กิ่ง กาน ราก น้ําเลี้ยงลําตน สัตวกินพืชคือผูที่สามารถเปลี่ยนสารอาหารที่อยูในพืช เพื่อนําสาร อาหารเหลานั้นมาใชเพื่อหลอเลี้ยงรางกาย สวนประกอบของเซลพืช ประกอบดวยเซลวอลที่มีสวนประกอบของเซลลูโลส หรือ ลิกนิน การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

82

สัตวกินพืชจะใชฟนเพื่อทําใหขนาดของพืชที่กินเขาไปเล็กลง แตสัตวไมสามารถยอยเซลลูโลสหรือลิก นินไดโดยตรง อาหารที่ถูกทําใหขนาดเล็กลงจะเขาไปอยูในกระเพาะอาหารที่กระเพาะสวนหนา (สัตว เคี้ยวเอื้อง เชนวัว กวาง ) หรือไปยังสวนซีกั้มหรือโคลอน (เปนสวนของลําไสใหญที่มีทําหนาที่ใ น การยอยอาหารซึ่งมีแบคทีเรียเขามารวมในขบวนการยอยอาหาร ตัวอยางเชน มา ชาง ) เมื่ออยูในสวน เหลานี้แลวจะมีแบคทีเรียและโปรโตซัวจะเปนตัวยอยและหมักเซลลูโลสและลิกนิน เพื่อเปลี่ยนใหเปน กรดอะมิโนและกรดไขมัน กรดไขมันจะถูกดูดซึมเพื่อเปนอาหาร สวนของแบคทีเรียและโปรโตซัวก็ ไหลไปที่กระเพาะแทหรือสวนของลําไสแลวถูกยอยในสวนดังกลาว กรดไขมันคืออาหารที่สัตวกินพืชสามารถดูดซึมไปใชได แบคทีเรียและโปรโตซัวบางสวนจะ ไหลผานไปที่กระเพาะแทหรือไปที่ลําไสเล็กเพื่อยอยในสวนเหลานี้ เซลของพืช เซลลูโลสและลิกนิน เซลของแปง น้ําตาล โปรตีน

กรดไขมัน

แบคทีเรียและโปรโตซัว

ก.เขาสูกระเพาะแท หรือ ข.ไปที่ลําไส หรือ ค.กินซ้ําเขาไปอีกครั้งในสภาพมูลที่ออนนิ่ม อาหารของสัตวกินพืช เขียนลงในสมุดจดขอ ความสํา คัญวา สัตวกินพืชการยอยอาหารขึ้นกับแบคทีเรียในทางเดิ น อาหาร

การที่จะทําใหแบคทีเรียที่มีอยูในทางเดินอาหารสามารถชวยการยอยเซลพืชไดอยางมีประสิทธิ ภาพ อาหารที่สัตวกินเขาไปตองมีปริมาณของเยื่อใยและไนโตรเจนที่เพียงพอ เมื่อแบคทีเรียที่อยูใ น ขบวนการยอ ยเซลพืชคุนเคยกับอาหารที่สัตวกินเขา ไป การเปลี่ยนอาหารในแตล ะครั้งตองคอยๆ เปลี่ยน ไมควรเปลี่ยนอยางรวดเร็วเกินไป เนื่องจากจะมีผลตอการยอยอาหารของสัตวชนิดนั้นๆ การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

83

ทางเดินของอาหารของไบซัน ซึ่งเปนสัตวกินพืชที่มีขบวนการเคี้ยวเอื้อง 1กินเขาปาก 2 เขาหลอดอาหาร 3 เขาไปที่กระเพาะอาหารสวนรูเมน 4 กลับมาเคี้ยวที่ปาก 5 ผานหลอดอาหาร  6.กลับมาที่กระเพาะอาหารสวนรูเมนและเรติคูรัม 7.กระเพาะอาหารสวนอโบมาซัมมีการดูดซึมของเหลว8. มีการยอยที่กระเพาะอาหารสวนอะโบ มาซัม 9.มีการดูดซึมสารอาหารที่ลําไส ทางเดินอาหารของมา ( ซึ่งไมใชสัตวเคี้ยวเอื้อง ) 1.กินเขาปาก 2 ผานหลอดอาหาร.3.กระเพาะอาหาร 4.ลําไส 5. ซีกั้ม .6.กลับมาที่ลําไส . 7.ไปที่ลําไสใหญ หรือโคลอน ใหลองเปรียบเทียบเสนทางการเดินทางของสัตวที่เปนสัตวเคี้ยวเอื้อง ( ไบซัน ) และสัตวกินพืช ที่ใชสัตวเคี้ยงเอื้อง ( มา) เขียนเสนทางการเดินของอาหารในสมุดจดขอความสําคัญ

อาหารของสัตวกินพืชจะอยูในลักษณะของกลุมอาหารที่ 1-2-3 ของกลุมลักษณะอาหารที่กลา วไว ในบทที่ 6 โดยขึ้นกับความชอบของสัตวแตละชนิด เชน 1. ใบไม ยอดออน เปลือกไม เนื้อไม 2. ใบไม กิ่งออน ดอกไม รากไม 3. เมล็ด ผลไมเปลือกแข็ง ผลไมเปลือกนิ่ม ในชวงตนของบทนี้เราไดแบงสัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่กินพืชออกเปนสามกลุมดวยกัน โดยแบงตาม ความชอบของสัตวชนิดนั้นๆ คือ 1. สัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานมกลุมกินหญาเปนอาหารหลัก สัตวกลุมนี้เปนสัตวที่อยูอาศัยในทุงกวาง ซึ่ง การกินอาหารตองกินใหเร็วโดยใชฟนตัดที่ยาวเพื่อกัดและเคี้ยว จากนั้นจึงหลบเขายังบริเวณที่ปลอดภัย การยอยอาหารจึงมีขบวนการอื่นเขารวมคือการนําอาหารมาเคี้ยวซ้ําอีกครั้งคือการเคี้ยวเอื้อง การยอย ดวยแบคทีเรียที่สวนซีกั้มหรือโคลอน หญาเปนอาหารที่หยาบ มีเยื่อใยมาก ในชวงที่หญามีจํานวน มาก สัตวจึงมีการสะสมอาหารเหลานี้ไวในรูปของไขมันเพื่อเก็บไวใชในชวงฤดูหนาว

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

84

ใหเปรียบเทียบอาหารของกลุมสัตวกินหญาทีก่ ลาวในชวงตอไปกับสัตวชนิดเดียวกันที่อ ยูในสวนสัตว ของคุณ

1.1 . กลุมไบซัน วัว วิลเดอรบีท แยค โดยสัตวกลุมนี้เปนสัตวที่มีการ 4 กระเพาะและมีการเคี้ยวเอื้อง อาหารที่ใหอาจเปน หญาสด พืชกินหัวและขาวโอท แบบที่ 2 หญาแหง 59 % พืชกินหัว 25% และอาหารเม็ด 14-25 % แบบที่ 3 หญาแหง พืชกินหัวและอาหารเม็ด 1.2 กลุม อัลปากา ลามา กัวนาโค เจมสบอค คลายกับกลุมที่หนึ่งแตสิ่งที่ตองเพิ่มคือตองเพิ่มวิตามินอี เขาไป 1 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม (ตัวสัตว) 1.3 กลุมมาลาย มา บาน ลา แรดขาวซึ่งมีขบวนการยอยดวยแบคทีเรียที่ลํา ไสใ หญอาหารสวนซีกั้ม การเลือกใชอาหารเม็ดควรเลือกอาหารเม็ดที่มาจากมา 2. สัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานมกลุมที่กินใบไมเปนอาหารหลัก สัตวเหลานี้จะอยูในพื้นที่ที่เปนปาที่มีลักษณะเปนไมพุมหรือ ปาละเมาะ โดยเลือกกินใบไม กานและผลไม โดยสวนตางๆที่กลาวมามีคุณคาทางอาหารมากกวาหญา และชอบสวนที่ออนมากกวา สวนที่แก

ใหเปรียบเทียบอาหารที่ใหกลุมสัตวกินใบไมที่ใหขอมูลไวขางลางนี้กับสัตวกลุมเดียวกันที่อยูในสวน สัตวของคุณ

2.1.ในกลุมเกง กวางปามาเลเซีย แกะ คูดู แบ็คบัค อีแ ลนด เปนสัตวมีกระเพาะอาหารสวนรูเมน สวนกลุมนี้กิน แบบที่ 1 ใบไม กิ่งไมออนของตนไม แบบที่ 2 พืชตระกูลถั่วแบบแหง 45 % พืชกินหัว 23 % และอาหารเม็ด 14-23 % การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

85

2.2 กลุม อูฐ ยีราฟ ความตองการอาหารจะคลายกับกลุมที่ 1 แตมีความตองการวิตามินอี ในปริมาณ 1 มิลลิกรัมตอ 1 กิโลกรัมของตัวสัตว 2.3 กลุมชาง สมเสร็จ แรดดํา แรดอินเดีย เปนสัตวกินใบไมที่มีการยอยที่สวนของซีกั้ม อาหารแบบที่ 1 คือ ใบไม กิ่งไมและเปลือกไม อาหารแบบที่ 2 พืชตระกูลถั่วอัดแหง 45 % หญาอัดแหง 7 % พืชกินหัว 23 % อาหารเม็ด สําหรับมา 25 % สัตวที่เปนตัวอยางของสัตวที่ใบไมและหญาเปนอาหารคือ แรดขาว ซึ่งเปนสัตวกินพืชที่กินหญาเปนอาหารหลัก โดยมีลักษณะของริมฝปาก บนเปนรูป เหลี่ยม ชวงการกินอาหารจะผงกหัวลงเพื่อกินหญา แรดดํา ซึ่งเปนสัตวที่กินใบไมเปนอาหารหลัก ในชวงที่กินอาหาร จะแหงนหนา ขึ้นเพื่อกิน ใบไม 3. สัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานมที่ใชการกินมูลซ้ําเพื่อชวยในการยอย สัตวในกลุมนี้จะผานอาหารที่เปนเซลลูโลสและลิกนินไปที่สวนของซีกั้ม จากนั้นจะผานจาก ทวารในรูปของมูลที่นิ่มโดยมีแบคทีเรียและโปรโตซัวออกมาดวย มูลที่นิ่มจะถูกกินซ้ําเขา ไปผานไป ในทางเดินอาหารเพื่อที่จะผา นกระบวนการยอยอีกครั้ง เมื่อถูกยอยเปนครั้งที่ส องมูลสวนนี้จะถูก ขับถายออกในรูปของมูลแข็ง

ลองเปรียบเทียบอาหารที่ใหกับสัตวในกลุมที่กินมูลนิ่มเพื่อชวยในการยอยที่ใหขางลางนี้กับสัตวกลุม เดียวกันที่อยูในความรับผิดชอบของคุณ

3.1.หนูแฮมสเตอร หนูเจอรบิล หนูแรท หนูไมท และกระรอก - อาหารแบบที่ 1 เปนผลไมเปลือกแข็ง หรือเมล็ดพืช พืชกินหัว - อาหารแบบที่ 2 ใชอาหารเม็ดสําหรับหนู 30% ผสมกับเมล็ดพืช 10 % กินรวมกับพืชกินหัว 60 % agouti บีเวอร เมน กระตาย วอรมแบท อาหารแบบที่ 1 ชอบกินใบไม ใหมีกิ่งไมรวมอยูดวย 4. อาหารสําหรับสัตวที่กินทั้งพืชและสัตว ( Omnivorus ) สัตวที่กินอาหารในกลุมอาหารที่ 2-3-4 ของเนื้อหาในบทที่ 6 สัตวกลุมนี้จะกินพืชเนื่องจากเปนอาหาร ที่หาไดงายและลาสัตวกินเนื้อดวย การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

86

คํา วา “ omni “ มาจากคําวาภาษาลาตินที่แ ปลวา ทั้งหมด ( all ) โดยจะกินพืชและสัตวที่ ตนเองหาได ตองการอาหารประเภทเยื่อใยถึงแมตัวเองจะไมสามารถยอยอาหารได นิสัยการกินของ สัตวกลุมนี้จะกินอยางเรงรีบและจะรีบกลืนอาหารลงไป

ลองเปรียบเทียบอาหารที่ใ หแกสัตวใ นกลุมที่กินทั้งพืชและสัตวกับสัตวที่อยูในความดูแลของคุณกับ ขอมูลที่ใหขางลางนี้

4.1.หมู หมี - พืชกินหัว ใบไม กิ่งไม แมลง สัตวขนาดเล็ก เชน หนู ปลา แบบที่ 1 เมล็ดพืช 40 % พืชกินหัว 20 % ไข นมผง แบบที่ 2 อาหารเม็ด 25 % (อาจเปนอาหารสําเร็จรูปของหมู ) พืชกินหัว ใบไมและเมล็ดพืช 75 % 4.2 .ตัว แบดเจอร บีเวอร หนูหลายชนิด - แบบที่ 1 รากพืช กิ่งไม สัตวขนาดเล็ก ผลไม - แบบที่ 2 อาหารสูตร ZF 6 ( อาจใชในการเปรียบเทียบเมื่อตองการซื้ออาหารสําเร็จรูป )หรือ ใช เนื้อและขนมปง 50 % ผลไมและพืชกินหัว 40 % อาหารสําเร็จรูปสําหรับสุนัข 10 % 4.3. ลิง เชน ลิงกอลิลา ลิงอุรังอุตัง ลิงชิมแพนซี ลิงบาบูน ลิง macaque เชนลิงแสม ลิงกัง ลิงแมนดริล ตัวอยางอาหาร เชน ใบไม เมล็ดพืช ผลไม เนื้อสัตว - ใหอาหารสําเร็จรูปสําหรับลิง 20 % ( ในเมืองไทยใชอาหารสุนัขสําหรับรูปแบบเม็ดแหง ซึ่งมีหลาย ยี่หอ หลายระดับคุณภาพตามราคา ) ใบไม ผลไม ผัก เมล็ดพืช เมล็ดพืชเปลือกแข็ง 80 % - ลิงโลกใหม ในทวีปอเมริกาใต เชน มารโมเสท (marmoset ) ทามารีน ( tarmarin ) ลิงกระรอก ( squirrel monkey ) - แบบที่ 1 ใบไม ผลไม ไข แมลง กิ้งกา กิ่งไม - แบบที่ 2 อาหารสําเร็จรูปสํา หรับลิง 25 % ผักและผลไม 25 % เนื้อสดสับ ( raw chopped meat ) 25 % ไข เนย แมลง 25 % 5. อาหารในสัตวที่ลาสัตวอื่นเปนอาหาร- สัตวผูลา สัตวกินเนื้อ สัตวที่ลา ฆาสัตวอื่นเปนอาหารและกินเนื้อสัตวนั้นสดๆ เราเรียกสัตวกลุมนี้วา carnivore โดย การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

87

กินสวนกลามเนื้อ ตับ ไต กระเพาะอาหาร ลําไส สมอง และขน สวนที่สัตวชอบกินคือกลามเนื้อ ที่มีเลือดติดอยู สวนที่เปนเยื่อใยคือหนังและขน สัตวเหลานี้จะออกลาสัตวเมื่อเวลาที่หิว เมื่อกินอาหารอิ่มจะ นอนพัก ชวงที่สัตวกําลังเจริญเติบโต สัตวจะเติบโตไดดีถาถาปริมาณอาหารที่สัตวลาไดเพียงพอ แต ในสัตวที่โตเต็มที่แลวอาหารที่เหลือจากการใชกิจกรรมตางจะสะสมเปนไขมัน

ใหตรวจสอบชนิดของอาหารและปริมาณที่คุณใหกับสัตวที่กินเนื้อในสวนสัตวของคุณ

5.1 กลุมแมวและเสือ เชน เสือชีตาร จากัวร เสือดาว สิงโต เสือโครง เสือพูมา ใชเนื้อวัว เนื้อกวาง เนื้อมา (พบวามีบางสวนสัตวไมใหเนื้อมาแกเสือโครงเปนอาหาร ) โดยเนื้อที่ใหเปนเนื้อพรอมกระดูก เพื่อใหสัตวไดใชฟนและกลามเนื้อสวนบริเวณหนามากขึ้น หรือใชอาหารแมว ผสมรวมดวยในกรณีที่ ใหเนื้ออยางเดียว (ซึ่งตองฝกใหกิน ) 5.2 ในหมาปา หมาใน อีเห็น ชะมด ใชเนื้อ รวมกับปลา ในปริมาณ 75 เปอรเซ็นต ผักและผลไม 25 เปอรเซ็นต และอาหารเสริม( วิตามินและเกลือแร) สํา หรับสัตวกินเนื้อ ใชอาหาร ZF 6 ( ดูใ น อางอิงทายบท ) 75 เปอรเซ็นต 5.3 สัตวที่กินปลาเปนอาหาร เชนแมวน้ํา สิงโตทะเล นกเพนกวิน นกที่อาศัยอยูตามชายฝงทะเล ซึ่ง ทั้งหมดเปนสัตวที่กินปลาที่จับจากทะเล ปลาที่ใหสัตวกลุมนี้จะแชในหองเย็น สารอาหารที่มีในปลา จะลดลงการใสวิตามิน โดยเฉพาะไทอามีน และตองเพิ่มเกลือทะเลใสในปลา 5.4 นาก กินปลาและเนื้อ รวมทั้งปลาไหล ตองการไขมันแบบเหลวในอาหาร อาจเพิ่มมาการีน ( เนย เทียม )เนื่องจากสัตวกลุมนี้ใชไขมันออกมาที่ขนตามลําตัวเพื่อกันน้ํา อาหารที่ใ หใชอาหารสูตร ZF 6 45 เปอรเซ็นต มาการีและไขขาว 8 เปอรเซ็นต ปลา 35 % อาหารสําเร็จรูปของลิง 12 % สัตวที่กินเนื้อเปนอาหารหมายถึงการใชโปรตีนเปนแหลงพลังงาน จะมีของเสียที่ออกมากับ ปสสาวะในรูปของไนโตรเจนและซัลเฟอร สัตวทุกชนิด ตองการน้ําสะอาดและปริมาณเพียงพอ ถึงแมวาสัตวเหลา นี้จะไดน้ํา บางสวนจากอาหาร หรือใน อาหารที่กินมีน้ําอยูมากพอ การจัดถาดใสน้ําไวใหสัตวกินยังเปนสิ่งจําเปนที่ตองกระทํา

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

88

6. อาหารสําหรับนก นกเปนสัตวที่บินได สามารถเคลื่อนที่ไปหาอาหารตามแหลงอาหารได แตในสวนสัตวเรา ไมสามารถจัดหาอาหารที่มีความหลากหลายแบบที่นกอยูอิสระได

เมื่ออานการแบงชนิดของนกตามชนิดอาหารที่นกกินซึ่งแบงได 6 ชนิด และอาหารที่ใชใ น สวนสัตวของนกทั้ง 6 ชนิด ในสวนสัตวของคุณใชอาหารในลักษณะใด ก. นกที่กินเมล็ดพืช และผลไม นกในกลุมนี้เ ชน นกฟนช นกกระจอก ไกฟา นกแกว ในการบด อาหารใชบดที่กระเพาะบด ( gizzard ) ในสวนสัตวจะใชอาหารที่ประกอบดวยชนิดอาหารตอไปนี้ โดยแตละชนิดอาหารจะมีขนาด เม็ดของอาหารที่แตกตางกัน เมล็ดพืชตางๆ 50 เปอรเซ็นต ถั่วเหลือ งหรือ ถั่วลิสงปน 20 เปอรเซ็นต นมผง 20 เปอรเซ็นต อีก 10 เปอรเซ็นตเปนผลไมเชน กลวย แอปเปล มะละกอ หั่นเปนชิ้น รวมทั้งการตัดกิ่งไมเล็กๆใหนกไดกัดแทะตามนิสัยโดยเฉพาะ นกแกวที่มีนิสัยชอบกัดแทะกิ่งไมที่ใ ส เขาไป - ใชอาหารสําหรับลูกไกหรือลูกไกงวงซึ่งมีโปรตีนอยูมากสําหรับลูกนก - อาหารไกงวงสําหรับนกที่โตเต็มที่แลว ข. นกที่มีสีสรรสวยงามเชนนกฟลามิงโก นกสกาเลท ไอบิส นกแกว ตองการคาโรทีน ที่อยูใน รูปเปนผงหรือการใชแครอท ค. นกที่กินทั้งพืชและสัตว เชน นกเงือก ตองการอาหารที่มาจากพืชและสัตว ตัวอยางอาหารเชน ไข แมลง หนูขนาดเล็ก ใบไม รวมทั้งการใชอาหารสําหรับลิง ง. นกที่กินเนื้อเปนอาหาร แบงออกไดเปน 2 กลุมคือ 1..กลุมที่กินเนื้อ เชน เหยี่ยว อินทรี นกแสก อาหารที่ใหกลุมนี้เปนหนูขนาดเล็กหรือใหญ กระตาย 2..กลุมที่กินปลาเปนอาหาร เชน นกเพนกวิน นกกระทุง ใหปลาซึ่งถามีหลายชนิดจะดีกวาใหกินชนิด เดียวซ้ํากันทุกวัน การใหสัตวทั้งตัวจะมีเยื่อใยจากขนและหนัง จ. นกที่กินน้ําหวานจากดอกไม เชนนกแกวโรรี่ ในสวนสัตวใชน้ําตาลผสมน้ําและอาหารเลี้ยงเด็ก ออน ใหวางในถาดที่สามารถแขวนได แตตองมีการเปลี่ยนอาหารบอย ๆ

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

89

ถาในสวนสัตวของคุณมีนกในกลุมเดียวกับนกฮัมมิ่งเบิรด ซึ่งกินเกสรจากดอกไม คุณจะใช อาหารชนิดใดและมีการเตรียมอาหารอยางไร

น้ําสะอาดเปนสิ่งจําเปนสําหรับนก การมีขนาดถาดน้ํา ในขนาดที่พอเหมาะกับขนาดของนก การลางถาดน้ําทุกวัน และน้ํามาจากแหลงที่เชื่อถือไดในเรื่องของความสะอาด การสังเกตสัตวปวยโดยใชปริมาณของอาหารที่สัตวกินเหลือเปนตัวบงชี้ ผูเลี้ยงสัตวกิจกรรมแรกของการปฏิบัติงานคือการนับจํานวนสัตววา สัตวที่อยูในการดูแลของ ตนนั้นอยูครบอยูไม ในขณะเดียวกันก็สังเกตสุขภาพของสัตว ซึ่งจุดสังเกตเชน การเคลื่อนไหวของ สัตว สีขน ผิวหนัง จมูก มูลที่ถา ยออกมา การแสดงความอยากอาหาร รวมทั้งปริมาณอาหารที่ สัตวกิน ถา เราสังเกตพบวาสัตวกินอาหารนอยลง ตองสังเกตอาการอื่นๆ เพิ่มเติมอยางใกลชิด รวมทั้งการเขียนรายงานแจงถึงอาการปวยที่เกิดขึ้นดวย อาหารสําหรับลูกสัตว

ใหเขียนถึงวิธีการดูแล ลูกสัตวออนที่ทานมีประสบการณในการเลี้ยงดูมา 2 ชนิด เราไดแบงชนิดของลูกสัตวออกเปน 1.เมื่อออกจากมดลูกจะอยูใ นถุงหนาทอ งของแม อยูใ นสภาพที่ยังโตไมเต็มที่ ตัวอยา งเชน จิงโจ โอปสซัม 2.. .เกิดในสภาพที่การเคลื่อนไหวยังไมดี ไมมีขนตามลําตัว ตัวอยางเชน หนู mice และกระตาย 3 .เกิดในสภาพที่การเคลื่อนไหวยังไมดี มีขนตามลําตัว บางชนิดยังไมสามารถมองเห็นไดในชวงแรก เชนสุนัขที่จะนอนในรังนอนที่แมสุนัขทําไว กลุมลิงจะถูกอุมโดยแม 4. กลุมที่สามารถเคลื่อนตัวไดอยางรวดเร็วและรูไดวาใครคือแม เชนหนูตะเภา กวาง หมูและแมวน้ํา

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

90

ใหเลือกชนิดของลูกสัตวที่ทานเคยดูแล โดยสาเหตุที่แมไมสามารถเลี้ยงลูกได เชน แมไมดูแ ล ลูก ลูกสัตวที่ไดรับจากประชาชน โดยใหเขียนถึงชนิดอาหารที่ให ลักษณะการเตรียมอาหาร อัตรา การเจริญเติบโต

น้ํานมและนมน้ําเหลือง สัตวเลี้ยงลูกดวยนมทุกชนิดกินนมจากแม ซึ่งน้ํานมของสัตวแตละชนิดก็มีความเหมาะสมตาม ชนิดสัตว โดยน้ํานมจะใหโปรตีนที่ยอยที่เหมาะกับการเจริญเติบโต ไขมันและคารโบไฮเดรตจะให พลังงาน ซึ่งปริมาณของสารตางๆเหลานี้จะมีความแตกตางกันตามชนิดของสัตว ชนิดสัตว

ไขมัน

คารโบไฮเดรต

วัว ลิง มา แมว กระตาย แมวน้ํา

5.2 4.1 1.7 10.5 17.5 44.0

4.7 6.9 6.8 4.1 1.4 0.8

kj/100 มิลลิลิตร ของน้ํานม 4.6 332 227 714 1117 1953

ในน้ํานมที่มีคารโบไฮเดรตหรือน้ําตาลนอยจะมีปริมาณของไขมันสูง ในน้ํานมของแมวน้ําซึ่งมี พลังงานสูงโดยมีปริมาณของไขมันอยูสูง ในมาเปนสัตวที่มีโครงสรางของทางเดินอาหารเพื่อใช แบคทีเรียยอยอาหารกลุมพืชน้ํานมจะมีคารโบไฮเดรตสูง ในสัตวกลุมลิงจะมีน้ําตาลสูง (แลคโตส ) ใหคุณเขียนประสบการณของคุณเองวา คุณเคยสังเกตหรือไมวาลูกสัตวกินนมจากแมในแตละวัน มากนอยเพียงใด ( ชวงเวลาที่ใหนมในแตละครั้ง จํานวนมื้อในแตละวัน ) หรือในกรณีที่คุณนํา ลูกสัตว มาเลี้ยงเองและลูกสัตวนั้นเจริญเติบโต แข็งแรงเปนปกติ ซึ่งมีตัวอยางในสัตวตางดังตอไปนี้ 1.จิงโจ จะเกาะติดที่หัวนมของแมซึ่งสามารถกินนมไดอยางตอเนื่อง 2.ลูกหมูจะกินนมทุกชั่วโมง โดยจะมีเตานมประจําของตัวเองและจะเขามากินโดยแมทําเสียงสง สัญญาณบอก 3.กระตายจะทิ้งลูกไวในรังและกลับมาใหนมลูกวันละหนึ่งครั้ง การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

91

4.ตัว tree shrew ใหกินนมทุกสองวัน 5..น้ํานมของแมวน้ํา เปนน้ํานมที่มีไขมันสูงซึ่งใหพลังงานไดสูง จะใหนมแกลูกสัปดาหละหนึ่งครั้ง การจัดสภาพภายในคอก จํานวนสัตว โครงสรางสังคมภายในคอก การเปดโอกาสใหแมกับ ลูกอยูตามลําพังเปนการลดความเครียดที่จะเกิดขึ้นกับแมและลูกเปนสิ่งสําคัญที่จะทําให แมแ ละลูก สรางสายสัมพันธระหวางกัน นมน้ําเหลืองคือน้ํานมที่กลไกของรางกายของแมสัตวในกลุมลิง กลุมสัตวกินพืชที่มีการเคี้ยว เอื้อง ( ruminant ) กลุมเสือและแมว ซึ่งประกอบดวย โปรตีนที่สัตวที่เกิดขึ้นใหมสามารถยอยได เปน การปรับสภาพของทางเดินอาหารใหทํางานเปนปกติ มีสารแอนไทบอดี้ที่ปกปองลูกสัตวเกิดใหมจาก เชื้อโรค สาเหตุการตายของลูกสัตว ใชวาลูกสัตวทุกตัวที่เกิดในสภาพปาธรรมชาติจะมีชีวิตรอดเติบใหญไดทุกตัว ในสวนสัตวก็ เชนเดียวกัน มักมีปญหาเกิดขึ้นเชนเดียวกัน โดยเฉพาะลูกที่เกิดกับแมที่มีลูก ครอกแรกหรือตัวแรก สาเหตุการตายของลูกในสวนสัตวเชน 1. แมขาดประสบการณในการเลี้ยงลูก 2. ไมมีน้ํานม 3. แมไมเลี้ยงลูกหรือไมยอมใหนมลูก 4. ถูกทํารายจากตัวผูหรือตัวเมียที่เดนมากกวา 5. จากความผิดปกติของลูกเอง 6. ถามีลูกสัตวหลายตัวในครอกเดียวกัน เกิดการแกงแยงเกิดขึ้นระหวางลูกสัตวดวยกัน

Q

มีสาเหตุอื่นที่เปนสาเหตุการตายของลูกสัตวที่คุณมีประสบการณ

การเลี้ยงลูกสัตวโดยมนุษย ลูกสัตวที่เราแยกออกจากแมสัตวอาจจะไมมีภูมิคุมกันที่ไดจากแม ดังนั้นสิ่งแวดลอมทั้งหมด ตองสะอาด เชน ขวดนม จุกนม - ถาสามารถหานมน้ําเหลืองไดก็จะเปนเรื่องที่ดี

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

92

- นมจากวัวเปนเปนอาหารที่ใชทดแทนได แตการปรับแตงเพิ่มเติมใหไดใกลเคียงก็เปนสิ่งจํา เปน โดยหาขอมูลถึงสวนประกอบของสัตวชนิดนั้นๆ กอนที่จะปรับแตงน้ํานมใหเหมาะสม ใหกลับไปดูตารางสวนประกอบของนมอีกครั้งหนึ่งวา ทําไมนมของสัตวชนิดนั้นจึงมีความ เหมาะสมจําเพาะสําหรับสัตวชนิดนั้น - น้ํานมผงใชในคนสามารถนําไปใชเลี้ยงสัตวกลุมลิงได - น้ํานมผงที่ใชในกลุมแมวและสุนัขสามารถนําไปใชในกลุมสัตวกินเนื้อได ความสะอาดของขั้นตอนการเตรียมน้ําและภาชนะที่ใสนมเพื่อใหลูกสัตวกินตองสะอาดและ ความรอนของนมอยูในระดับเดียวกับความรอนของเลือดสัตวชนิดนั้นๆ (นาจะหมายถึงอุณหภูมิ ปกติของสัตวชนิดนั้น ) ในขั้นตอนการเตรียมน้ํานมตองทําในอุณหภูมิที่พอเหมาะเพื่อมิใหวิตามินและ โปรตีนถูกทําลาย ในลูกสัตวที่ตองไดรับนมน้ําเหลืองแตไมไดรับเนื่องจากปญหาใดก็แลวแต น้ํานมที่ชงใหควร ลดความเขมขนลงครึ่งหนึ่ง เมื่อการใชนมชนิดนั้นไมมีปญหาทองเสีย ใหเพิ่มความเขมขนมาอยูใน ระดับปกติ การเลี้ยงลูกสัตวเปนงานที่ตองอยางตอเนื่อง ผูเลี้ยงดูตองมีความรับผิดชอบ มีความชอบใน งานแบบนี้โดยสวนตัว จุดมุงหมายของงานนี้คือสัตวนั้นตองสามารถปรับตัวเขากับสิ่งแวดลอมในกรง เลี้ยงได ดังนั้นสัตวควรไมมีความผูกพันยึดติดกับคนมากเกินไป การหยานม เมื่อลูกสัตวมีการเจริญเติบโตขั้นตอนการเปลี่ยนอาหารจากนมไปเปนอาหารตามธรรมชาติจะมีแ ม สัตวเปนผูเปลี่ยน ซึ่งขั้นตอนนี้จะมีความซับซอ นมากขึ้นในสัตวที่กิ นเนื้อเปนอาหาร ซึ่งตองมี ขบวนการเรียนรูที่จะลาเหยื่อดวยตนเองในปาที่ตนเองอาศัยอยู โดยลูกสัตวจะมีแมเปนผูสอนวิธีการลาเหยื่อ โดยลารวมกับสมาชิกตัวอื่นๆในฝูง ซึ่งสัตวเหลา นี้ จะสามารถลาสัตวไดโดยตนเองเมื่อถึงชวงอายุตัวเต็มวัยพอดี ซึ่งมันอาจตองโดนไลออกจากฝูงหรือ ตองยอมเปนลูกฝูงในอันดับที่รองลงมา ในกลุมสัตวกินพืช (ทั้งกินหญาและกินใบไม ) การเปลี่ยนอาหารจากนมมาเปนพืชไมซับซอน ในชวงที่ยังกินนมอยูนมจะผานไปยังอโบมาซัมโดยที่ไมผานรูเมน ซึ่งการเกิดกรณีที่นมเขาสูรูเมนอาจ เกิดขึ้นไดในกรณีการเลี้ยงลูกสัตวถูกเลี้ยงโดยคน ทําใหเกิดอาการมีลมมากกวาปกติในกระเพาะอาหาร

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

93

ใหเขียนสิ่งเหลานี้ลงในสมุดจดขอความสําคัญ - ยกตัวอยางลูกสัตวในแตละกลุมลักษณะที่มี 4 กลุมดวยกัน - ใหเขียนสวนประกอบของน้ํานมในสัตวแตละชนิดที่มีในหนังสือเลมนี้เพื่อใหเห็นวาน้ํานมของสัตว แตละชนิดนั้นมีความแตกตางกัน - ใหเขียนขอมูลที่คุณรูถึงความถี่ที่ลูกสัตวกินอาหารจากแม - ใหเขียนถึงการใชน้ํานมจากสัตวตางชนิดเพื่อใชทดแทน ใชจากสัตวชนิดใด มีการปรุงแตงเพิ่มเติม เพื่อใหไดสวนประกอบใกลเคียงกับชนิดนั้นอยางไร ใชความเขมขนเทาไหร (อัตราสวนของน้ําและนม )และตองมีการเพิ่มน้ําตาลเขาไปหรือไม - ใหเขียนชวงอายุของลูกสัตวที่หยานม ที่คุณทราบ

ใหคุณเขียนประสบการณถึงชวงการเปลี่ยนอาหารจากนมมาเปนอาหารที่กินในชวงโตเต็มที่แลว

การบาน ใหคุณกลับไปตรวจในสมุดเขียนขอความสําคัญ( neat book ) วาคุณเขียนขอความเหลานี้แลวหรือยัง 1 คําวา DART ซึ่งหมายถึง dry – age – rodent - turnover 2 ในสมุดเขียนขอความสําคัญมีความตองการของอาหารของรางกายรางการคือเพื่อการเจริญเติบโต พลังงานในการทํากิจ กรรมตาง สุข ภาพแข็งแรงเพื่อ ตอสูกับเชื้อโรค น้ํา ในรางกายเพื่อ ใหกลไกใน รางกายที่อาศัยน้ําเปนไปโดยปกติ 3.สิ่งที่เปนตัวบงชี้ถึงคุณภาพอาหารที่คุณใหสัตวกินมีความเหมาะสมหรือไม สัตวกินอาหารนั้น ดูสีขน ดูมูลที่สัตวถายออกมา ดูพฤติกรรม 4. คุณไดเขียนขอความในเรื่องเหลาครบถวนแลว - ลูกสัตวที่เกิดใหม - การหยานมของลูกสัตว - ในสัตวกลุมตอไปนี้ใหคุณยกตัวอยางอาหารที่คุณใหแกสัตวของคุณคืออะไร 1.สัตวกินพืช 2.สัตวกินทั้งพืชและสัตว การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

94

3.สัตวกินเนื้อ 4.นก ใหคุณเลือกชนิดสัตวที่คุณมีขอมูลสัตวชนิดนี้เปนอยางดีแลวตอบคําถามตอไปนี้ 1.อาหารที่สัตวชนิดนี้กินในธรรมชาติ 2.อาหารที่คุณใหสัตวชนิดนี้กินในสวนสัตว 3.คุณจัดหาอาหารเหลานั้นมาไดอยางไร (ซื้อ ปลูกเอง ) 4.คุณมีการจัดวางอาหารอยางไรแกสัตว 5.การตรวจสอบคุณภาพอาหารทําไดอยางไร 6.คุณตรวจสอบอาหารวาอาหารที่คุณใหแกสัตวเหมาะสมแกสัตวอยางไร

เพิ่มเติมจากหนังสือ MERK ฉบับพิมพครั้งที่ 5 นกน้ํา ( Aquatic Bird ) -..นกเพนกวิน นกกระทุง ( pelican ) กินปลาหลายชนิด ปลาหมึก กุง ในสวนสัตวจะใช ปลาชนิด ตางๆ เชน smelt, capelin, herring, mackerel, whitingและปลาหมึก - คุณภาพปลาเปนสิ่งสําคัญ ( การตรวจสอบคุณภาพปลากอนที่จะเอาเขาตูแช การแชปลา คุณภาพ ของตูแช การละลายน้ําแข็งกอนใหสัตวกิน ) - การใหปลาทั้ง 2 ชนิดหรือมากกวาจะดีกวาเนื่องสัตวจะไดสารอาหารที่ครบถวนมากกวา - นกเพนกวินตองเพิ่มเกลือทะเล ไขมันไมอิ่มตัว วิตามินดี - เกลือทะเลจะทําใหตอมเกลือของนกเพนกวินทํางานเปนปกติ ในปริมาณ 0.5-1.0 กรัมเกลือทะเล/ นก/วัน - กรดไขมันแบบไมอิ่มตัว ( polyunsaturated fatty acid ) ชวยบํารุงระบบสืบพันธุและการผลัดขน (molting ) โดยการใหน้ํามันพืชแบบน้ํามันจากขาวโพด ( corn oil ) 2-3 ซีซี/ ตัว/วัน - ใหวิตามีนดี 3 250-500 IU/กิโลกรัมของปลา ใหกับนกที่ไมคอยไดสัมผัสกับแสงแดด - ในฤดูผสมพันธุใหแคลเซี่ยมคารบอเนตหรือไดแคลเซี่ยมฟอสเฟตเพื่อชวยในการสรางเปลือกไข ของนก - นกฟลามิงโกใชอาหารสําเร็จรูปของปลา Trout ขนาดเบอร 4 + อาหารเม็ดลูกเปด + อาหารลูกไก + อาหารเม็ดสุนัข + สารเพิ่มสี แคโรทีน( carotenoid ) - นกน้ํากลุมเปด ( Duck ) จะกินอาหารสําหรับเปด หรือ อาหารเม็ดสําหรับไกฟา สับรวมกับ การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

95

ผักใบเขียว อาหารเม็ดสําเร็จรูปสุนัข ใชในนกเปดกลุมดําน้ําเพื่อหาอาหาร ( diving duck ) นกพิราบ เปนนกที่กินเมล็ดพืช อาหารที่มีขายสําเร็จรูปจะอยูในลักษณะเมล็ดพืชหลายชนิดผสม กัน นกแกว - นกแกวที่กินเมล็ดพืชขนาดใหญ เชนนกแกวมาคอว นกแกว parrot นกกระตั้ว ใหเมล็ดทานตะวัน ( sunflower ) เมล็ดพืชกลุมดอกคําฝอย ( safflower ) ขาวเดือย ( millet ) ถั่วลิสง ( peanut ) + อาหาร สําเร็จรูปของลิงหรือของสุนัข + ผลไมเชน แอปเปล กลวย สม องุน + ผักใบเขียว แครอท ขาวโพด มันเทศ อาหารเสริมเชน ไขแดงตม การใหอาหารควรแยกภาชนะระหวางอาหารแหง กับอาหารที่มีน้ํา ผสมอยูมาก -. วิตามินหรือผงเกลือแรใหไดทั้งแบบผสมน้ําและโรยเปนผงบนอาหาร -. ตัวอยางอาหารของนกแกวที่นํามาวิเคราะหคุณคาทางอาหาร โปรตีน 15-30 % แคลเซียม 0.18-1.5 % ฟอสฟอรัส 0.29-1.06 % -. อาหารที่มีปริมาณของเหล็ก ซิงค ทองแดง แมงกานิส จะมีพิษตอตัวนก -.นกแกวขนาดเล็กเชน คอกคาเทล หงสหยก เลิฟเบริด ใหอาหารสําเร็จรูปชนิดที่เปนเมล็ดพืชผสม ผสมกับผักเขียวสดหั่น ขนมปง ผลไม -. ปริมาณอาหารที่ให 10-15 % ของน้ําหนักตัว ในชนิดนกที่เล็กใหเพิ่มมากขึ้น นกอินทรีและเหยี่ยว - .กลุมนก นกแรง ( vulture ), เหยี่ยว ( falcon ), hawks , นกเคาแมว ( owl ),นกอินทรี ( eagle ) , kite, ใหกินสัตวทั้งตัวเชนลูกไกที่อายุไมเกิน 5 สัปดาห นกกระทา หนู นกพิราบ การใหอาหารหลายชนิด รวมกันจะทําใหสัตวกินอาหารดีขึ้น - .กลุมนก Piscivorus, Blade eagle, Sea eagle, เปนกลุมที่กินปลาเปนอาหารหลัก - กลุมที่กินแมลงเชน Kestrel การใหแมลงตองคลุกแมลงดวยผงแคลเซียมกอน - การใหกินปลาหรือลูกไก ใหเพิ่มวิตามินไทอามีน 30 มิลลิกรัมตออาหาร 1 กิโลกรัม ไมตองควัก เอาอวัยวะภายในออก - .อาหารสําเร็จรูปของนกกลุมนี้เมื่อนําไปวิเคราะหคุณคาทางอาหารมีความชื้น 55-60 % โปรตีน 40-50.0 % - นกเหยี่ยวขนาดเล็กกินอาหารตอวันประมาณ 25 % ของน้ําหนักตัว ในนกขนาดใหญจะกินอาหาร ประมาณ 4 % ของน้ําหนักตัว - การชั่งน้ําหนักนกทุกวันเพื่อตรวจสุขภาพและเปนการกําหนดปริมาณอาหารที่จะใหแกนกดวย การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

96

นกที่บินไมได ( Ratite birds ) - นกบินไมไดที่มีขนาดใหญเชน นกกระจอกเทศ นกเรีย นกอีมู นกคาสโซวารี่ อาหารที่ใ หมีอาหาร สําเร็จรูปสําหรับนกกลุมนี้ เมื่อนําอาหารนี้มาวิเคราะหหาคุณคาของอาหารมีปริมาณโปรตีน 20-24 % เยื่อใย 12-19 % แคลเซียม 1.2-2.0 % ฟอสฟอรัส 0.6-1.1 % ในนกที่อยูในชวงการวางไขใ หเพิ่ม ปริมาณแคลเซียมเปน 2.8 % - .การใชอาหารสําเร็จรูปของเปด ไก กระตาย สุนัข เพิ่มเปลือกหอย - นกคาสโซวารี่ใหเพิ่มผลไมและผักหั่นเพิ่มเขาไปดวย - ลูกนกที่มีปญหาเรื่องขาบิด ใหการลดอัตราการเจริญเติบ โดยลดอาหารที่ใหพลังงานลงและเพิ่ม ปริมาณอาหารที่ใหเยื่อใยใหมากขึ้น ( ใหลดอาหารที่มีโปรตีนสูงเชนอาหารเม็ดไก เพิ่มปริมาณของผัก ใบเขียวใหมากขึ้น ( อัตราสวนอาหารเม็ดตอผักเขียว 9 ตอหนึ่ง - ผูแปล ) - นกกีวีกินหัวใจที่ตัดเปนชิ้นคลายตัวหนอน - นกอื่นๆ เชน นกเงือก นกทูแคน นกทูแคนัท เปนนกกินผลไม อาหารที่ใหเชน large –frugivore mixture กับแมลง ผักเขียว อาหารเม็ดสุนัขหรืออาหารสําหรับนกลาเหยื่อ - นกทูแคนและนกเงือกจะเกิดปญหาเหล็กสะสม ตองพิจารณาถึงชนิดอาหารใหดี โดยตองดูถึงปริมาณ สารอาหารที่มีในอาหารชนิดนั้นดวย สัตวเลี้ยงลูกดวยน้ํานม การเลี้ยงลูกสัตวออน -. เลือกนมที่ทําใหอัตราการเจริญเติบโตและระบบทางเดินอาหารเปนปกติ โดยดูสูตรนมกอนที่จะ เลือกใชวามีความใกลเคียงกับสูตรนมตามธรรมชาติของสัตวชนิดนั้นๆ หรือไม - .สิ่งที่ตอ งใหความสํา คัญในการเลี้ยง เชน ปริมาณ อัตราสวนของนมและน้ํา วิธีการปอน เพื่อ ปองกันการเกิดอาหารเขาหลอดลม - ใชอุปกรณที่สะอาดและฆาเชื้อโรค - ปริมาณแลคโตสในน้ํานมของสัตวแตละชนิดจะมีความแตกตางกัน เชนกลุมแมวน้ํา กระตา ยให เลือกสูตรนมที่มีน้ําตาลต่ํา หรือในสัตวบางชนิดจะมีปญหากับการใชน้ําตาลซูโครส - สัตวกีบ ( ungulate ) ใชนมผงสําหรับใหกับลูกวัว ลูกมา แกะหรือแพะ - นมสํา หรับใหกับลูกสุนัข ( milk dog replacer ) สามารถใหไดกับสัตวใ นกลุม สุนัข (canid ) procynid, หมี (bear), คางคาว, edentata, กระตาย, หนู, - ในกลุมแมวปาใช milk cat replacer - .ในลิงใชนมที่ใชเลี้ยงมนุษย หรือใช soy – base human milk replacer การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

97

- . สัตวกีบ ( ungulate ) สัตวในตระกูลจิงโจตองไดนมน้ําเหลืองภายใน 24 ชั่วโมง -. น้ํานมเหลืองของวัวสามารถใชกับสัตวปากลุมเคี้ยวเอื้องไดหลายชนิด และนมน้ํา เหลืองสามารถแช เย็นเก็บไวได - .หากมีสัตวเ ชนแพะกํา ลังใหนมลูก สามารถนํา น้ํา นมแพะมาใหลูกแอนติโ ลพที่กํา ลังกินนมได เนื่องจากมีปริมาณไขมันในน้ํานมที่ใกลเคียงกัน - .กลุมหมา แมว หนู กวาง ตองกระตุนการขับถายดวยการใชผาชุบน้ําอุนเช็ดบริเวณทวารและอวัยวะ เพศ - .ความถี่ในการใหนมหรืออาหาร จะขึ้นอยูกับชนิดของสัตวชนิดนั้นๆ สูตรนม น้ําหนัก อายุของตัว สัตวและแรงงานที่มี - .โดยทั่วๆ จะใหนมทุก 2-4 ชั่วโมง พลังงานที่ไดรับประมาณ 210* BW ยกกําลัง 0.75 Kcal ( BW = น้ําหนักของตัวสัตว ) - .การติดตามสุขภาพของลูกสัตวใหจดบันทึกความอยากอาหาร น้ําหนักทุกวันวันละหนึ่งครั้ง การจัด การลูกสัตวตองใหความสําคัญกับการลดพฤติกรรมฝงใจที่มีตอคน คางคาว - .คางคาวที่กินแมลงเปนอาหารอาหารที่เปนตัวเลือกเชน หนอน มิลเวอรม จิ้งหรีด ตัวแมลงจะมี แคลเซียมต่ํา ใหโรยที่ตัวแมลงโดยการใชแคลเซียมผง ทุกๆ 2 วัน หรือการใชโดยใชอัตราสวนแปง สาลี 40 % ผสมกับ อาหารสุนัขบดละเอียด 40 % และแคลเซียมผง 20 % - .การเสริมวิตามินใหไดโดยการหยดลงในน้ํา - การใหแมลงแกคางคาวอาจใชการยื่นอาหารใหดวยมือหรือบางชนิดฝกใหกินอาหารจากจาน - คางคาวที่กินผลไมเปนอาหารสามารถฝกใหกินอาหารเหลวจากจานได - ผลไมที่สามารถใหคางคาวกินไดเชน กลวย มะละกอ แอบเปล พีช องุน แครอท มันเทศ โรย อาหารเสริมที่ผลไมเชน นมผง ผงโปรตีน น้ํามันขาวโพด วิตามินและแรธาตุ สัตวกินเนื้อ -. การใหสัตวกินเฉพาะเนื้ออยางเดียวทําใหขาดแคลเซียม วิตามินเอและไอโอดีน - ในกลุมแมวปาตองการอัตราสวนของโปรตีนสูงและตองการวิตามินเอ มากกวาสัตวกลุมหมา โดย ตองการโปรตีน 45-50 % ไขมัน 30-35 % 3-4 % เยื่อใย 1.2-1.5 แคลเซี่ยม 1-1.2 % ฟอสฟอรัส และ วิตามินเอ 20K –40K IU วิตามินเอตอกิโลกรัม - แมวปาไมสามารถเปลี่ยนแคโรทีน ( carotene ) ไปเปนวิตามินเอได ไมสามารถเปลี่ยน ทริปโตเฟน ( tryptophan ) ไปเปนไนอาซีนได ไมสามารถเปลี่ยน ลิโนลิอิค ( linolenic )ไปเปน อาราชิโนนิคแอ การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

98

ซิด ( arachidonic acid ) ได ไมสามารถสังเคราะหเทารินได ( taurine ) และตองการอารจีนีนถาหากไม มีอารจีนีน จะเกิดกรณีแอมโมเนียเปนพิษ - การใหอาหารในลักษณะนิ่มแบบที่มีสารอาหารครบถวน ( เปนลักษณะเนื้อบด แชแข็ง ) จะมีสวน ทําใหเกิดหินปูนมากขึ้น ตอ งใหกระดูกติดเนื้อ อยา งนอย 2 ครั้งตอ สัปดาห (เลือกสวนที่สัตวชอบ ) เชน เสือขนาดใหญใชสวนขาหนาของวัวหรือมา แมวขนาดกลางใชหางวัว กระดูกซี่โครงของกระตาย แมวขนาดเล็กใชหนู mice หรือ หนู rat - การใหยาในลักษณะเม็ดหรือน้ําใชเหยื่อเปนตัว เชน ไก หนู ปลา - การเพิ่มเยื่อใยสําหรับสัตวกลุมนี้โดยการเพิ่มหญาสดสับหรือใหไปทั้งแบบเต็มใบ - .กลุมสุนัข สามารถใชเพิ่มอาหารเม็ดสําเร็จรูปของสุนัขได ตองใหกระดูกดวยถาอาหารที่ใหเปนแบบ เนื้อบดที่นิ่ม ใน Fox และ Coyote ตองเพิ่มผลไมและผักเขาไปดวย - สัตวกลุม Mustelidae ( weasels, martens, skunk, otter ) และ Viverids ( ชะมด ) ใชอาหารแมวแบบ อัดกระปอง ( canned cat food, ลักษณะเปนเนื้อบด ) หรือ เนื้อ บดแบบแชแข็งสํา หรับแมว ( frozen feline diet ) และยังเพิ่มผลไม ผัก ไขตม ใน - กรณีที่ใหยาใหเขาไปในสัตวทั้งตัวเชน ปลา หนู mice ลูกไก ใหกระดูกซี่โครงสัตวเพื่อใหสัตวแทะ ชวยทําใหสุขภาพฟนของสัตวดีขึ้น - .ตัว ferret สามารถใหอาหารเม็ดแหงของแมวกินได - .สัตวในกลุม procyonids ( แรคคูน ) ใชอาหารสุนัขขนาดเล็ก ผสมกับแอปเปล กลวย แครอท ซึ่ง จะชวยลดปญหาน้ําหนักมากเกินไปได - หมีใชอาหารผสมระหวางอาหารสุนัขแบบเนื้อบด อาหารสุนัขแบบเม็ดแหง ปลาและ commercial carnivore biscuit - Black bear เชน หมีควาย ( Asiatic black bear ) sun bear เชน หมีหมา ( Malayan Sun Bear ) , Sloth bear , Spectacle bear จะใหกลวย ผักใบเขียวและอาหารสุนัขเม็ดแหง สัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่อาศัยอยูในทะเล ( Marine Mammal ) -. ปลาเปนอาหารหลักสําหรับสัตวกลุม marine mammal ยกเวนกลุม herbivore sirenias เชน พะยูน ( dugongsและ manatee) - .การตรวจสอบปลาควรทําในชวงกอนที่จะนําปลาเขาตู ขณะที่แชในตูแชวาตูแชมีความเย็นเพียงพอ หรือไม ขั้นตอนการละลายน้ําแข็ง ชวงจะนําไปใหสัตวกินซึ่งชวงนี้ควรตองตรวจสอบปลาทุกตัว -. สอบถามจากคนสงปลาถึงชวงวันที่จับปลา ดูสภาพปลาที่นํามาสงวา เหงือกเปนสีแดงหรือไม ตายัง ไมเหี่ยว กดดูเนื้อแนน ผิวหนังไมเปอย ไมมีกลิ่นเหม็น ไมมีน้ําเนาที่ออกจากตัวปลาที่ทําการละลาย การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

99

เอาน้ําแข็งออก ตาสวนเลนสจะขาวขุนถาเก็บไวในที่อุณหภูมิต่ํากวา -30 องศาเซลเซียส ถาอุณหภูมิสูง กวา -30 องศาเซลเซียสจะทําใหเกิด peroxidative -. การเก็บปลาไวในตูแช ไมควรเก็บนานเกิน 6 เดือน ในปลาที่มีปริมารไขมันสูงไมควรเก็บไวเกิน 3-4 เดือน เชนปลา mackerel -. ในการละลายน้ําแข็งออกจากตัวปลา ใชการวางปลาไวที่อุณหภูมิหองดีกวาการแชในน้ํา - .คุณภาพของปลาจะมีความแตกตางกันตามชนิดปลา ฤดูกาล จุดที่จับปลา - .ตัวอยางปลาเชน herring, mackerel, blue runner, capelin, anadromouse smelt - ในกลุมแมวน้ํา ( pinnipped ) อาจเพิ่ม ปลาหมึก สวนตัววอลัสกินหอยกาบ ( clam) - .ชนิดของปลาที่ใหแกสัตวควรมี 2 ชนิดของปลาขึ้นไป เพื่อใหสัตวไดรับอาหารที่สมดุล -. เพิ่มวิตามินไทอามีน ( วิตามินบี 1 ) 25 มิลลิกรัมตอน้ําหนักปลา 1 กิโลกรัม การเพิ่มวิตามินอีใน ปลาเนื่องจากเนื้อปลาจะเกิดขบวนการ oxidative destruction และขบวนการ peroxide formation โดย ที่ปลาที่มีไขมันมากจะเกิดขบวนการ oxidative destruction ไดมากขึ้น โดยเพิ่มวิตามินอีในปริมาณ 100 IU/ ปลา กิโลกรัมตอวัน - .การเพิ่มเกลือ( Nacl ) ในปริมาณ 3 กรัมตอน้ําหนักปลา 1 กิโลกรัม ในสัตวกลุมแมวน้ํา ( Pinniped ) ที่อยูในน้ําจืดเพื่อปองกันการเกิด กรณีโซเดียมในเลือดลดต่ํามากวาปกติและชวยใหตอม เกลือทําหนาที่เปนปกติ - .ในกลุมแมวน้ํายังตองเพิ่มวิตามินซีและวิตามินเอเขาไปในอาหารดวย - .ปริมาณอาหารที่จะใหกับสัตวขึ้นอยูกับปริมาณของไขมันที่มีในตัวปลา อุณหภูมิของน้ํา กิจกรรม ของสัตว เชนในปลาโลมา ( dolphin ) ใหปลา 7-10 กิโลกรัมตอวัน ในแมวน้ําที่โตเต็มที่แลวใหปลา วันละ 5-8 % ของน้ําหนักตัว สัตวกลุมลิง ( Primate ) -.ในปจจุบันมีอาหารที่ทําสําเร็จรูปขายมีหลายรูปแบบ เชน ในรูปขนมปงแหง monkey biscuit, canned primate feed , marmoset diet แตเมืองไทยมีการใชนอย สวนใหญจะใชอาหารสุนัขเปนสิ่ง ทดแทน - .การใหผลไมหลายชนิดรวมกันและผัก เชน แอปเปล กลวย แครอท มันเทศ สม โดยใหอัตราสวน ของผลไม นอยกวา 25 % ของอาหารทั้งหมด - .อาหารสวนใหญตองเปนอาหารที่มีสารอาหารครบถวนเชน monkey biscuit, canned primate ( หรือ จะใชอาหารสุนัขที่สามารถหาซื้อไดในเมืองไทยที่มีขายทั่วไป ) - ลิง new world monkey เชน ลิงทามารีน ลิงมารโมเสท ตองการโปรตีนในปริมาณสูง การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

100

- ลิงเอพ เชน กอลิลา ชิมแพนซี ตองการอาหารที่มีเยื่อใยสูง มากกวา 20 % ในขณะที่อาหาร สําเร็จรูปทีใ่ หกับลิงในการทดลองจะมีปริมาณเยื่อใยประมาณ 5 % ดังนั้นตองเลือกชนิดของอาหารที่ เพิ่มปริมาณของเยื่อใยอาหารใหมากขึ้น - .ผักและผลไม เปนอาหารที่ใหพลังงานสูง ( มีน้ําตาลและแปง ) แตมีปริมาณของโปรตีนและ แคลเซียมต่ํา - .เพื่อเปนการเพิ่มรสชาดของอาหารลิง การแชอาหารในน้ําผลไมจะทําใหรสชาดของอาหารดีขึ้น เชนแช monkey biscuit ในน้ําผลไม - ชนิดของอาหารที่ใหกับสัตวกลุมลิงไดเชน โยเกิตร ไขตม องุน ถั่วลิสง ขนมปง จิ้งหรีด หนอนมิ ลเวิรม ลูกหนูอายุนอย แตในกรณีของลิงมารโมเสทการใหลูกหนูอายุนอยกินทําใหเกิดกรณี Lymphocytic choriomeningitis - .ในการเพิ่มกิจกรรมใหกับสัตวที่อยูในกรงตัวอยางที่สามารถทําไดโดยการใชอาหารเชน การโปรย อาหารภายในคอก อาหารที่ใชอาจเปนเมล็ดขาว ขาวโพดคั่ว มะพราวที่หั่นเปนชิ้นเล็กๆ เพื่อใหลิงมี กิจกรรมการเดินหาอาหารกิน - .การใชหญาแหง ฟางแหงปูในคอก ซึ่งใชเปนวัสดุปูรองแลวยังมีลิงบางชนิดกินเขาไปดวย - งดการใหอาหารที่เปนเนื้อสัตวแกลิงเอพขนาดใหญ เนื่องจากกรณีการเกิด hypercholesterolemia - . ในกลุมลิงควรใหอาหาร 2 มื้อ ในลิงขนาดเล็กจํานวนมื้อที่ใหตองใหบอยครั้งมากขึ้น - ในลิงกลุม new world monkey การดูดซึมวิตามินดีไปใชทําไดไมดี อาหารที่ใหสําหรับมารโมเสท จึงมีอัตราสวนของวิตามินดีมากกวา new world monkey ชนิดอื่นๆ การนําอาหารสําเร็จรูปที่ผลิตมา เพื่อมารโมเสทจึงไมเหมาะสมในการที่จะนํามาใหลิงชนิดอื่นๆ กิน เนื่องจากจะชักนําใหเกิดกรณีเปน พิษเนื่องจากวิตามินดี -. กลุมลิงทุกชนิดตองการวิตามินซี อาหารสําเร็จของลิงถึงแมวาจะผสมวิตามินซีมาดวย แตวิตามินซี สลายตัวภายใน 6 เดือน การเสริมวิตามินซีแบบผงหรือการใหผลไมและผักสดจะชวยใหลิงไดรับ วิตามินอยางเพียงพอ - .ลิงโคโลบัส (อยูในกลุมคาง )เปนสัตวที่ระบบการทางเดินอาหารแบบ pre - gastric fermentation in complex stomach ตองการอาหารที่มีเยื่อใยสูง ตัวอยางอาหารเชน ใชอัตราสวน 50 % high-fiber biscuit , 40 % ผักใบเขียวและใบไมสด, 10 % ผลไม การให Alfalfa pellet สามารถใหไดแบบใหกินอยางเต็มที่ ในกรณีที่ไมสามารถหาอาหารที่มี เยื่อใยสูงได การใหใบไมสดมากกวา 50 % และให monkey biscuit นอยกวา 25 % - ลิงหลายชนิดจะเกิดอาการเปนพิษจากสาร “ gluten “ ใหดูในเอกสารที่มากับอาหารวามีสวนผสม การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

101

ของ ขาวสาลี ( wheat ) ขาวไร ( rye ) หรือ oat หรือไม - สัตวกีบ ( ungulate ) - การใชหญาแหง ซึ่งสัตวที่ชอบกินเชน มาลาย ชาง ไบซัน ควายปา วิลเดอรบีท อูฐ - . สัตวที่ตองการใบไมซึ่งมีโปรตีนสูง อาหารที่สวนสัตวหาได เชน หญาแอฟฟาฟา ใชไดกับ ยีราฟ กวาง ดุยเกอร แรด สมเสร็จ ซึ่งใบไมยังใหปริมาณแคลเซียมและไนโตรเจนที่สูงกวาดวย (ใน เมืองไทยการจัดหาใบไมใหกับสัตวเหลานี้จึงตองจัดหาใหเพียงพอ หากตองเลี้ยงสัตวกลุมที่กินใบไม ตองเตรียมปลูกตนไมไวดวย ) - การวิเคราะหคุณภาพของอาหารจะเปนการชวยวางโปรแกรมอาหารไดวาตองเพิ่มชนิดของอาหาร ปริมาณที่เพียงพอ เพื่อใหสัตวไดอาหารในปริมาณและคุณคาที่เหมาะสมหรือไม - .อาหารสําเร็จรูป เมื่อจะใชอาหารประเภทนี้ ตองดูวาปริมาณของเยื่อใยของอาหารเหมาะสมหรือไม การใหอาหารเม็ดมากเกินไปปญหาที่จะเกิดตามมาเชน rumen acidosis, colic และน้ําหนัก ที่มาก เกินไป - ขนาดของอาหารเม็ด สําหรับกลุมกวาง ( cervidae ) ควรมีขนาดประมาณ 3/16 นิ้ว สวนกลุม มา สมเสร็จ ( perissodactyl ) มีขนาดประมาณ ½ นิ้ว - อาหารสําเร็จรูปของมาจะมีทองแดงสูง ( copper ) แตจะมีวิตามินอีต่ํา - อาหารวัวสําเร็จรูปมีวิตามินอีต่ํา และมีปริมาณของ non-protein nitrogen อยูสูงซึ่งสัตวในกลุมที่มี ขบวนการ fermentation ที่ hind gut ไมสามารถนําไปใชได - สมเสร็จใช omnivore biscuit รวมกับ อาหารสําเร็จของหมู -. สัตวกีบขนาดใหญ มากกวา 250 กิโลกรัม ปริมาณอาหารที่ใหอยูที่ 1.5-2.5 เปอรเซ็นตของน้ําหนัก ตัวตอวัน สัตวกีบขนาดกลางปริมาณอาหารที่ใหอยูในชวง 2-4 % ของน้ําหนักตัว ตอวัน - .เมื่อคุณภาพของหญาแหงลดลงตองเพิ่มปริมาณอาหารเม็ดใหกับสัตว - .ระดับของที่วางอาหารใหวางไวในระดับของสายตาสัตว - การวางอาหารเม็ดในสวนของคอกกักสัตวจะมีผลดี ในการกรณีที่ตองการสังเกตสุขภาพของตัวสัตว หรือในกรณีที่ตองการจับสัตวจะทําไดงายยิ่งขึ้น จํานวนทีว่ างอาหารตองวางใหมากเพียงพอเพื่อใหสัตว ทุกตัวไดมีโอกาสเขาถึงอาหารได - .การวางน้ํา ใหสัตวทุกตัวเขาถึงได การตัดใบไมสดใหสัตวกินจะเปนการลดความนาเบื่อหนาย ( Give fresh browse to relieve boredom. ) สัตวเลื้อยคลาน

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

102

-. สัตวเลือดเย็น ( poikilotermic animal ) เปนสัตวที่พึ่งพาสิ่งแวดลอมและสิ่งแวดลอมที่เหมาะสมมีอยู ชวงหนึ่ง ( ambient temperature ) รูปแบบของสิ่งแวดลอมสําหรับสัตวชนิดนั้นตองจัดการใหเหมาะสม ดวย - ปจจัยที่มีผลตอการกินอาหารของสัตวเลื้อยคลาน เชน ชวงแสง อุณหภูมิ ความชื้น วัสดุรองพื้น อุปกรณที่ตกแตงภายในคอก -. สภาพสิ่งแวดลอมเชนอุณหภูมิ ความชื้น ภายในคอกมีในระดับที่สัตวเลื้อยคลานสามารถเลือกที่จะ อยูได มีจุดหลบใหสัตวไดหลบจากสายตาของผูเที่ยวชม เพื่อลดความเครียดของสัตวลง เชน การวาง กระถางตนไม วางทอนไมใหสัตวไดซอนตัว - เหยื่อ เชน กระตาย หนู mice ลูกไก ควรใหเมื่อสัตวถูกทําใหตายแลวเพื่อปองกันกรณีเหยื่อทําราย สัตวผูลา แตงูบางชนิดที่ตองการเหยื่อในลักษณะที่ยังมีชีวิต บางชนิดที่ทราบเปาหมายของเหยื่อโดย การใชวิธีจับความรอนจากตัวสัตว - ในกรณีที่ใชเหยื่อที่แชเย็นไว ตองแชเย็นไวไมเกิน 6 เดือน ซึงมีสัตวบางชนิดที่การกินเหยื่อหรือไม ขึ้นอยูกับสภาพแหงหรือชื้นของตัวซากดวย - .สัตวบางชนิดจะกินเหยื่อเฉพาะที่ตัวเองรูจักและเคยชินเทานั้น ดังนั้นการฝกหัดและจัดตารางเพือ่ ให สัตวคุนเคยกับชนิดอาหารใหมากกวา 2 ชนิด การใชอาหารที่ทําขึ้นเองอยางเชนกรณีงูจงอางกินไส กรอกที่ทําขึ้นเองนั้น เกิดจากการฝกหัดใหสัตวกินอาหารดังกลาวตั้งแตอายุยังนอย - มีขอสังเกตที่นาสนใจคือการขาดวิตามินซีเปนสาเหตุหนึ่งของการเกิดชองปากอักเสบ - ของเสียที่สัตวเลื้อยคลานถายออกมาสวนใหญเปน uric acid สัตวเลื้อยคลานที่อาศัยอยูในน้ําจะเปน ยูเรียหรือแอมโมเนีย สัดสวนของสารที่ขับถายออกมาจะเปนสารชนิดใดขึ้นอยูกับปริมาณและความ เขมขนของอาหาร สภาพปริมาณน้ําในรางกาย ระยะเวลาของอาหารแตละมื้อ - เกาตท เกิดขึ้นเนื่องจากการสะสมของ urate crystal ในขอตอ ไต สาเหตุการเกิดยังไมทราบแนชัด ขอสันนิฐาน เชน อาหารที่มีปริมาณของโปรตีนอยูสูง ไตที่ทํางานไมเปนปกติ การขาดวิตามินเอ โปรตีนที่คุณภาพไมดี แนวทางการรักษาดวยวิธีการลดปริมาณโปรตีน แตยังวิธีที่เปนขอสงสัยกันอยู แนวทางการปองกันคือการจัดน้ําใหสัตวอยางเพียงพอ - .การสังเคราะหวิตามินจะเกิดขึ้นเมื่ออยูในชวงอุณหภูมิที่เหมาะสมและชวงแสงที่มีความยาวคลื่น 290-315 นาโมเมตร การเพิ่มวิตามินในอาหารเมื่อสิ่งแวดลอมที่มีในคอกไมเหมาะสม - สัตวเลื้อยคลานที่ตองการรับแสงแดด ถาไมไดแสงแดดจะเปนสาเหตุที่ทําใหเกิด โรคกระดูกออน ( ricket ) กระดูกหักงาย การทํางานของไตไมปกติ อาการแข็งเกร็งตามรางกาย อาการที่สัตวแสดงเชน ไมอยากเคลื่อนที่ ผอมแหง ไมกินอาหาร การวินิจฉัยโรคใหใชการถายภาพเอ็กเรย การตรวจเลือดเพื่อ การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

103

หาระดับของคาแคลเซียมในเลือดอาจไมชัดเจน การฉีดวิตามินดีและแคลเซียมอาจไดผลในระยะสั้นๆ การตรวจสอบชนิดของอาหารเปนแนวทางที่ตองตรวจยอนกลับไปดู - การเกิด metestatic calcification ใน อีกัวนาเขียวสาเหตุอาจไมไดเกิดจากความเปนพิษของวิตามิน ดี โดยมีตัวอยางในอีกัวนาที่มีกระดูกหักหลายแหงและมีระดับของ 25-droxyl vitaminD3 ในระดับต่ํา การสรางสวนซอมแซมยังเกิดขึ้นได จระเข -. อาหารที่ใหสัตวกินเชน หนู ไก ปลา อาหารที่ใชเปนปลาและเนื้อ เพื่อไดอาหารที่สมดุลชนิดอาหาร ที่ใหอยางนอย 3 ชนิดขึ้นไป - ปลาที่แชเย็น ตองเพิ่มวิตามินไทอามีน 25-30 มิลลิกรัม เอลิเกเตอรสามารถยอยคารโบไฮเดรตไดแต ปริมาณที่ใหไมควรเกิน 20 % งู -. กินสัตวที่มีกระดูกสันหลัง ไมมีกระดูกสันหลังและไข -.งูในตระกูล Boids, python, vipers, colubrids, crotalids; จะกินหนู ลูกไก ลูกเปด กระตาย ถาใชเหยื่อ ที่แชเย็น เมื่อเอาใหสัตวกินตองไมเย็นจนเกินไป ระดับอุณหภูมิของเหยื่อตองเทากับอุณหภูมิหองหรือ อุนๆ จะดีกวา - .งูในตระกูล king cobra, hog-nose, ตองการกินอาหารที่เปนสัตวเลือดเย็น เชนงูชนิดอื่น ๆ ตัวอยาง งูจงอางชอบกินงูสิง - ขนาดของเหยื่อตองเหมาะสมกับขนาดของตัวงู - . เพื่อเปนการปองกันการเกิดการอาเจียน ปลอยใหอยูตัวเดียวและงดการสัมผัสตัวงูอยางนอย 3 วัน - .งูสวนใหญจะกินอาหารทุกๆ 1-2 สัปดาห ถาเปนงูที่มีกิจกรรมนอยระยะหางระหวางมื้ออาจมากกวา 4 เดือน Turtle เตาน้ํา เปนสัตวเลื้อยคลานที่อาศัยอยูในน้ําจืดหรือน้ําทะเล มีกระดองที่มีลักษณะเปนหนังหุม และแบบที่ลักษณะคลายกระดูก ขามีลักษณะเปนใบพายเพื่อเหมาะกับการวายน้ํา ( n.1 a marine or freshwater reptile with a bony or leathery shell and flippers or webbed toes. [Many species in the order Chelonia.] ุ the flesh of a sea turtle, used chiefly for soup.) - .เตาน้ําจืดสวนใหญจะกินอาหารที่เปนสัตวและกินพืชดวย บางชนิดกินสัตวอื่นเปนอาหารเมื่อเขาสูรุน หนุมสาวก็จะเปลี่ยนเปนกินทั้งพืชและสัตว และเมื่อถึงอายุโตเต็มวัยก็จะกินพืชเพียงอยางเดียว - .อาหารควรมีปริมาณโปรตีน 30-50 % ชนิดที่กินทั้งพืชและสัตวใหเพิ่มผักและผลไม การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

104

- สามารถใชเจลาตินเพื่อใหอาหารเปนเนื้อเดียวกัน Tortoises เตาบก เปนสัตวเลื้อยคลานที่เคลื่อนที่ชาบนนก อยูในเขตภูมิอากาศอบอุน มีกระดอง สามาถ ดึงหัวและขากลับเขาในกระดองได ( n. a slow-moving land reptile of warm climates, enclosed in a scaly or leathery domed shell into which it can retract its head and legs. [Family Testudinidae: many species.] ) - Tortoise เปนสัตวที่กินพืชเปนอาหารหลัก ตองการพืชเพื่อใหระบบทางเดินอาหารทํางานเปนปกติ ชนิดที่มีขนาดเล็กตองการจํานวนของมื้ออาหารที่มากขึ้น - ชนิดที่มีขนาดใหญ เชน เตาอัลดาบาหรือกาลาปากอส ให alfafa pellet ได - ตัวอยางของชนิดผักที่ใหแบบรวมกันเชน บล็อคเคอรี่ (คลายกะหล่ําดอก กะหล่ําดอก ใชคําวา cauliflower ) ถั่วเขียว ผักกาด ( lettuce ) kale แครอท - ผักและผลไมจะใหโปรตีน แคลเซียม ต่ํา พืชที่สัตวกลุมนี้เลือกกินจะมีโปรตีนมากกวา 15% - การใหโปรยเปลือกหอยหรือเปลือกถั่วลิสงเปนการกระตุนในสัตวมีพฤติกรรมการเดินกินอาหาร Lizard ( สัตวเลื้อยคลานที่มีลําตัวและหางยาว มีขา 4 ขาง เปลือตาสามารถเคลื่อนไหวได มีเกล็ด ตามลําตัว อยูซับออรเดอร ราเซอรทิเลีย ( n. a reptile that typically has a long body and tail, four legs, movable eyelids, and a rough, scaly, or spiny skin. [Suborder Lacertilia: many species.] ) - กลุมที่กินแมลงเปนอาหาร เชน day gecko, leopard gecko, whip tail, anole lizard, chameleon; จะ กินหนอนมิลเวิรม จิ้งหรีด ในกลุมที่มีขนาดลําตัวใหญ จะกินลูกหนูอายุนอยและไสเดือน -. กลุมที่กินเนื้อเปนอาหารหลัก เชน ตะกวด เหี้ย ( monitor lizard ), Gila monster, Mexican bear lizard จะกินหนูที่โตเต็มที่แลว ลูกไก และไข - กลุม ที่กินทั้งพืชและสัตว เชนอีกัวนา กินผัก แมลงและ vertebrate prey - lizard จะกินอาหารทุกวัน หรือให 2-3 วันครั้ง ถาเปนชนิดที่กินเนื้อที่มีขนาดใหญใหกิน 1-2 สัปดาหตอครั้ง - .กลุมที่กินพืชเปนอาหารตองการอาหารที่เปนพืชเพื่อใหทางเดินอาหารดําเนินไปไดเปนปกติ อาหารที่ ใหไมแนะนําการใหแมลงและอาหารสุนัข

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

105

บทที่ 8 ความปลอดภัย เนื้อหา - หลักความปลอดภัยเมื่อทํางานกับสัตว - การออกแบบสวนสัตว เพื่อความปลอดภัย - อุปกรณ - กฏเพื่อสุขภาพและความปลอดภัย - สรุปและการตรวจสอบ

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

106

ความปลอดภัยคือการไมตองประสบกับสิ่งอันเปนอันตรายใดๆ ขณะที่ทํางานในสวนสัตว เรา ตองบอกกับตัวเองเสมอวา - สถานที่นี้คือที่แหงใด - อันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นคืออะไร - อันตรายที่จะเกิดกับเราไดและเราจะหลีกเลี่ยงไมใหเกิดขึ้นไดอยางไร - คําเตือนใจที่วา “ ปลอดภัยไวกอน ” เปนประโยคที่ตองระลึกอยูเสมอในขณะที่ปฏิบัติงาน ทักษะของการทํางานอยางปลอดภัย กอนที่จะลงมือทํางานทุกครั้งตองทราบกอนวา - รูถึงความเสี่ยงหรืออันตรายที่จะเกิดขึ้นไดมีอะไรบาง - กําหนดวิธีปฏิบัติงานที่จะกําจัดหรือการลดอันตรายที่จะเกิดขึ้น - จดจําขั้นตอนการทํางานดังกลาวใหได ในกรณีที่งานนั้นทํารวมกันหลายคน ใหชวยกันตักเตือน เพื่อนที่ทํางานรวมกัน เพื่อลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดกับเพื่อนรวมงานคนอื่นๆ - มีการซอมการปฏิบัติงานเปนชวงๆไป

A ในงานที่ทานทําอยูนั้น - ใหเขียนถึงงานของทานมีอันตรายที่อาจเกิดขึ้นในรูปแบบใดบาง - ใหเขียนถึงวิธีการปองกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้น - เมื่อมีผูเลี้ยงสัตวเขามาทํางานใหม อะไรคือสิ่งที่ทานจะตอ งพูดใหผูเลี้ยงสัตว ทราบถึงอันตรายที่ อาจเกิดขึ้นและวิธีการปองกันตัวเอง

ใหเขียน สิ่งเหลานี้ลงในสมุดจดงาน “ ขอคิดเพื่อความปลอดภัยในการทํางาน “ 1. อันตรายที่อาจเกิดขึ้นไดคืออะไร 2. การปองกันอันตราย การหลีกเลี่ยง ทําไดอยางไร 3. ขั้นตอนการทํางานจะตองอยางไร 4. มีการซอมการปฏิบัติงานนั้นเปนชวงๆ อยางสม่ําเสมอ

ในบทนี้ตองการใหการทํางานในสวนสัตวปลอดภัยเทาจะเปนไปได โดยใหความสนใจใน การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

107

ขบวนการที่ไดกลาวไปแลว รวมทั้งมีการตรวจสอบความปลอดภัยดวย การทํางานในพื้นที่ที่เกี่ยวของกับสัตว มี 3 หัวขอที่ตองพิจารณาคือ 1.ความปลอดภัยของเจาหนาที่เลี้ยงสัตวในขณะทํางานใกลชิดกับสัตว 2.ความปลอดภัยของเจาหนาที่เลี้ยงสัตวเมื่อตองเขาไปภายในคอกกักหรือสวนแสดง 3 ความปลอดภัยของตัวสัตวเอง ยกตัวอยางเราจะไปยิงยาสลบกับละมั่งฝูงหนึ่ง ในขั้นตอนการเขาควบคุมตัวสัตว - ตองใหระดับของการสลบเพียงพอที่เขาจับตัวสัตว เชนสัตวนอนลงในทานอนกับพื้นแลว ทีมงาน จึงจะเขาควบคุมตัวสัตว ถาเราเขาคุมตัวสัตวในขณะที่สัตวยังสลบในระดับที่ไมเพียงพอ ถาเปนละมั่ง ตัวผูอันตรายที่เกิดกับผูเขาควบคุมสัตวอาจเกิดจากเขาสัตวได - ในแงของความปลอดภัยของสัตวทั้งฝูง ในชวงที่จะสัตวตื่น การบาดเจ็บของสัตวบางตัวภายในฝูง อาจเกิดขึ้นได ถาถาสัตวตกใจตื่นทั้งฝูง การวิ่งไปมาของสัตวทั้งฝูงอาจมีบางตัวที่โดนตัวอื่นดันใหวิ่ง ในแนวที่ชนสิ่งกีดขวางเชนตนไมหรือกอนหิน ที่ทําใหเกิดการบาดเจ็บแกสัตวได - ในชวงการทําใหสัตวฟนตองมีพื้นที่ที่เพียงพอ ไมทําการฟนสัตวในบริเวณพื้นที่เปนซีเมนต ให สัตวฟนในพื้นดินและในบริเวณดังกลาวไมมีสัตวที่ปกติอยูในบริเวณ เนื่องจากตัวที่กําลังฟนยังควบ คุมการทรงตัวไมได ความรูสึกตัวยังนอยอยูมาก อาจเกิดกรณีโดนเหยียบหรือชนจากสัตวตัวอื่น ซึ่ง อาจเกิดการบาดเจ็บขึ้นได ในการวางยาสลบ ใหเตรียมตัวในเรื่องขั้นตอนการทํางานตั้งแตเริ่มตนจน กระทั่งสัตวฟนขึ้นจนสมบูรณ โดยลดอันตรายที่จะเกิดกับตอสัตวใหนอยที่สุดแลว 1.ความปลอดภัยของผูเลี้ยงสัตวในขณะทํางานใกลชิดตัวสัตว ชนิดสัตวที่เราคาดวาจะปลอดภัยจะเปนสัตวเลี้ยงเชนสุนัขและแมว ซึ่งเชื่องและคุนเคยกับเรา ที่เปนเจาของ ในแงของสัตวที่เปนอันตรายแกเราไดเราแบงเปนสองกลุมคือ 1.1. กลุมที่ชัดเจนวาดุรายและมีการทํารายที่รุนแรง 1.2.กลุมที่โดยปกติแลวไมเปนอันตราย แตการเขาทํารายเปนแบบคาดการไมได ไมแสดงอาการอะไร ใหเห็นเปนสัญญาณลวงหนา ในสัตวที่จะเปนอันตรายได เราตองทํางานดวยความระมัดระวัง แตในสัตวที่เราไมสามารถ คาดเดาอารมณวาจะทํารายเราหรือไม เชน หมา แมวที่เปนสัตวเลี้ยงที่เราหยอกเลนทุกวัน สัตวเหลานี้ เรามักบอกกับตัวเองเสมอวาเราคุนเคยกับสัตวเหลานี้ ทําใหเราลืมนึกถึงเรื่องความปลอดภัยไป ดังนั้น ไมวาจะเปนสัตวชนิดใดก็ตามตองมีความระมัดระวังเสมอ สัตวเกือบทุกชนิดมีอวัยวะบางสวนเพื่อเปนอาวุธ เชน ฟนเพื่อใชกัดในสุนัข จะงวยปากเพื่อ จิกในนก เขาหรืองาเพื่อใชแทง สัญญาณที่สัตวแสดงวาพรอมจะทําราย เชน การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

108

ดวงตา เปลือกตาหรี่ลง หู หลูลง ปาก อาปากแสดงเขี้ยวใหเห็น ขนตามลําตัวหรือขนนกที่พองขึ้น ทาทาง เชน ทาทางตัวสั่น หัวต่ําลง เสียง เสียงขู เมื่อคนเลี้ยงผานเขาไปในกรงเลี้ยง ขอสังเกตอันแรกที่ผูเลี้ยงตองมองคือ ทาทางของสัตว สัตว ที่คาดเดาอารมณไมได อารมณอ าจมีการปรวนแปรไปตามฤดูก าล อารมณทางเพศ สภาพสังคม ภายในกรงเลี้ยงที่เปลี่ยนไป ผูเลี้ยงคนใหม -

ใหคุณเขียนชนิดสัตวที่อยูในกลุมอันตรายตองทํางานดวยความระมัดระวัง และกลุมที่ปกติแลว ไมเปนอันตราย แตการเขาทํารายเปนแบบคาดการณไมได รวมทั้งเขียนอาการของสัตวที่แสดงกอนที่ จะเขาทําราย

A

ใหคุณเขียนขอมูลในสัตว 2 ชนิด ชนิดที่ 1 เปนชนิดที่คุณทราบเรื่องราวของสัตวชนิดนั้นดี

ชนิดที่ 2 คุณทราบเรื่องราวของสัตวชนิดนี้เพียงเล็กนอ ย โดยใหเขียนในหัวขอ ถามีคนเลี้ยงสัตวค น ใหมเขาไปทํางานกับสัตวทั้ง 2 ชนิดนั้น คุณจะบอกขอควรระวัง ขั้นตอนการทํางาน อุปกรณที่จะใช ปองกันตัว ข. ใหคุณสอบถามในคําถามเดียวกันกับผูเลี้ยงสัตวที่ความชํานาญ วาจะมีความแตกตางกับแนวคิดของ คุณหรือไม

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

109

2.ความปลอดภัยของผูเลี้ยงสัตวเมื่อตองเขาไปภายในคอกกักหรือสวนแสดง ทั้งกลุมสัตวอันตรายหรือ กลุมสัตวที่เชื่อใจไมไดวาจะทําอันตรายหรือไม มีแนวคิดสําหรับการตรวจสอบความปลอดภัยในการ ทํางาน เมื่อตองเขาไปภายในคอกกักหรือสวนแสดง เชน - ระบบของคอกกักและประตูที่ปลอดภัย เมื่อผูเลี้ยงสัตว เขาไปทํางานภายในคอกกัก สามารถนํา สัตวเขาออกไดโดยสะดวก ระหวางคอกกักและสวนแสดง - บริเวณที่เปดปดประตูแบบรางเลื่อนที่ควบคุมดวยคันชักอยูในบริเวณที่ปลอดภัย - กอนที่จะเขาไปทํางานในสวนแสดงสัตวตองแนใจวา สัตวทุกตัวเขาไปในคอกกักเรียบรอยแลว - คอกกักของลิงขนาดใหญเชนชิมแพนซี ลวดตาขายของคอกไมชํารุดที่สัตวเอามือลอดออกมาเพื่อ ทํารายได - ในจุดที่ตองกุญแจ ตองมีครบทุกจุดและแข็งแรงพอที่จะทนแรงสัตวไดเชน ลิงขนาดใหญ - ผูเ ลี้ยงสัตวที่เขาใหมตองอยูในการฝกสอนของผูเ ลี้ยงเกาเปนระยะเวลาหนึ่งกอนที่จะปลอยให ทํางานเพียงลําพังได หลังจากเขาใจขั้นตอนการทํางานที่ปลอดภัยแลว อุบัติเหตุมักเปนผลจากการขาดความระมัดระวัง ขาดความรอบคอบในการปฏิบัติงาน คิดถึง เรื่องอื่นๆ ความคิดไมอยูกับงานที่กําลังทําอยู ขอคิดเพิ่มเติม - ทํางานดวยความระมัดระวังและรอบคอบ - อยาทํางานที่มีความเสี่ยงหรือระบบการปองกันไมพรอม - ทําตามลําดับขั้นตอนของการทํางานที่มีไวเพื่อความปลอดภัย - ผูที่ไมมีสวนเกี่ยวของกับการทํางานไมอนุญาตใหเขาในสวนคอกกักสัตว - กอนที่ผูเลี้ยงสัตวจะเขาจัดการในสวนแสดง ตองมั่นใจวาสัตวอยูในคอกกักทั้งหมดแลว ประตูได ใสกุญแจแนนหนาแลว - เมื่อยืนอยูใกลคอกสัตวที่มีลักษณะเปนซี่กรง (เหล็กเสน) ใหระวังการโดนดึงแขนหรือขาจากสัตว เชนลิง ชะนี - อยาใหผูที่ไมเกี่ยวของในงานถือกุญแจ

Q

ใหเขียนแนวคิดเพื่อความปลอดภัยในการทํางานของผูเลี้ยงสัตวในสวนสัตวในสวนอื่นๆ

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

110

ความปลอดภัยของสัตว การลดความเครียดที่จะเกิดกับสัตว ผูเลี้ยงจะตองเปนผูสังเกตพฤติกรรมสัตววา สัตวแสดง อาการตื่นกลัวหรือ ตอบสนองตอสิ่งเรารอบขาง เชน ในกรณีการซอ มแซมคอกที่มีเสียงดัง หรือ การออคเชื่อมที่เกิดประกายไฟ การใชแกสตัดเหล็กที่เห็นเปนเปลวไฟ ในตัวอยางเหลานี้ตอ งสังเกต พฤติกรรมสัตวใหดี เคยมีกรณีที่สัตวพยายามหนีจากคอกเมื่อเห็นแสงไฟจากการออคเชื่อม ซึ่งถาสัตว หลุดออกจากคอกไดจะมีปญหาหลายอยางติดตามมา การเขาจับสัตวเพื่อการขนยาย ตัวอยางเชน จะเขาจับแอนติโลพชนิดหนึ่ง โดยการยิงลูกดอก ยาสลบที่สัตวตัวเปาหมาย เมื่อสัตวสลบแลวจับสัตวเขาลังขนยาย กระบวนการทํา งานเหลานี้ สราง ความตกใจใหกับตัวอื่นๆ เราตองมั่นใจวา ความสูงของรั้วกันสัตวก ระโดดออกจากคอกได ถาสัตว โดดออกจากคอก ตัวสัตวจะอยูในสถานะที่เราจะเขาควบคุมไดลดนอยลงมาก วัตถุที่อาจจะเปนอันตรายกับสัตวไดเชน - ถุงพลาสติก ปากกา เหรียญที่สัตวกินเขาไป - ถามีกระจกแตกตองจัดการเก็บออกจากบริเวณนั้นทุกชิ้น - เชือกที่เอาเขาไปเพื่อจับบังคับสัตวตองอยาลืมไวในคอก - ตะปูที่นําเขาไปในงานซอมแซมคอกตองตรวจตราใหดีกอนที่จะจบงานชิ้นนั้น - อยานําพืชที่เปนอันตรายแกสัตวไดเชนกระถินสัตวจะตายไดถากินในปริมาณมากและตอเนื่อง - อยาใหมีวัตถุที่จะเปนตัวขวางแนวที่สัตววิ่ง เชนรั้วที่กั้นภายในคอกนกกระจอกเทศ - คูแหงที่ลึก มีสัตวบางตัวที่จะหลบเมื่อตกใจวิ่งขึ้นวิ่งลง เทาหรือขาเกิดบาดแผลกลายเปนแผลติด เชื้อเรื้อรัง - วัตถุรองพื้นที่ติดไปกับอาหารและเขาสะสมในทางเดินอาหาร - อาหารที่สัตวรับจากประชาชน - บาดแผลที่เกิดจากวัตถุในคอกที่ชํารุด เชนเสนลวดตาขายที่ชํารุด - เสนลวด เชือกฟางที่มัดหญาแหงแลวไมเก็บออกนอกคอก - ผาพลาสติกกันแดดที่หลุดลุยตองระวังการกินเขาไปของสัตว มีสัตวบางชนิดที่ไดรับอันตรายจากนิสัยตามธรรมชาติของสัตวชนิดนั้น เชนการกินหินหรือ กอนกรวด จระเข ชาง นกในกลุมที่บินไมได เชนนกกระจอกเทศ นกอีมู นกคาสโซวารี่ หรือ สัตวที่มีการเคลื่อนที่อยางรวดเร็ว โดยไมมีการการระวังสิ่งของที่มีการกีดขวางทางอยูแ ลวเกิดกรณีวิ่ง ชน เชน มาลาย กวางและแอนติโลพ

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

111

A

.1.ใหคุณเขียนเหตุการณที่สัตวภายในสวนสัตวของคุณเองไดรับบาดเจ็บหรือตายจากวัตถุตางๆ 2. ใหเขียนวิธีการปองกันไมใหเหตุการณนี้ขึ้นซ้ําอีก

การออกแบบสวนสัตวเพื่อความปลอดภัย เราไดกลาวถึงการออกแบบสวนสัตวไวในบทที่ 5 แลว ซึ่งขอพิจารณาอีกสวนหนึ่งที่สําคัญคือ ความปลอดภัยของผูเที่ยวชม ตัวสัตว ผูเลี้ยงสัตว ตัวอยางเชน - เพื่อความปลอดภัยของผูเที่ยวชมในการสัญจรควรแยกทางเดินเทาออกจากทางเดินของยานพาหนะ เชนรถยนตพวง รถกอลฟ - ปายเตือนถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นไดเปนปาย 2 ภาษา เชนไทยและอังกฤษ - การบํารุงรักษาสวนสัตวใหอยูที่สภาพที่เรียบรอย เชน ทางเดินเทา บันได สะพาน ถนน ทาง ลาดชัน - แนวขอบของคอกสัตวตองมีความชัดเจน วาเปนสวนที่ผูเที่ยวชมไมสามารถเขาในสวนของบริเวณ ของสัตวหรือบริเวณเฉพาะเจาหนาที่ผูเกี่ยวของเทานั้น - ประตูที่ใชตองมีความเหมาะสมกับการใชงานทั้งที่เปนประตูของสัตวและสวนของผูเลี้ยงสัตว - พื้นคอกที่ไมทําใหสัตวลื่น - คอกสามารถปองกันสัตวที่จะเขาในบริเวณคอกเชน งูที่จะเขามากินสัตว กันหนูที่จะเขามารบกวน แยงอาหารสัตว และเปนพาหะนําโรค

ใหคุณเขียนถึงความเสียหายที่เกิดขึ้นกับวัส ดุ สิ่งของ สิ่งกอ สรา งที่เกิดขึ้นในสวนสัตว ตามประสบการณของคุณ ประตู แนวคิด - ขนาดของประตูตองมีความเหมาะสมกับขนาดของตัวสัตว

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

112

- งา ยตอ การควบคุมเปดปด แข็งแรง ทนทาน เหมาะสมกับชนิดสัตว ประตูแบงเปน 2 แบบ ใหญๆ คือ 1.ประตูแบบบานพับ ( swing door ) การใชประตูแบบนี้มีคําถามเกิดขึ้นเชน - คุณจะรูไดอยางไรวาสัตวอยูหลังประตูหรือไม ถาประตูของคุณทึบทั้งหมด - เมื่อคุณเปดประตูคุณจะตองใชพื้นที่สวนหนึ่ง - เราจะบังคับเปด-ปดประตูจากระยะไกลไดอยางไร ประตูแบบนี้เราตองอยูในบริเวณที่จับบานจับ ไดเทานั้น - ทิศทางที่ประตูจะเปดเขาไปคือเปดเขาไปในคอกหรือดันออกนอกคอก แบบไหนจะปลอดภัยกวา กันในการปองกันสัตวออก - กลอนประตู ควรจะมีทั้งสองดาน เพื่อใหสามารถปดประตูไดจากทั้งสองดาน 2. ประตูแบบที่บังคับไดจากระยะไกล ( remote door ) จะเปนประตูแบบรางเลื่อน หรือแบบกิโยติน ( บังคับปดเปดโดยดึงขึ้นลง บังคับจากลวดสลิงจากดานนอกคอกกักที่สัตวนั้นอยู ) แบบกิโยตินจะมี ขอเสียที่หากประตูใหญการบังคับตองใชแรงงานหลายคนและมีลิงบางชนิดที่จะเรียนรูการเปดปดได หรือเกิดกรณีที่เสนลวดที่บังคับขาด แบบรางเลื่อนจะมีแบบที่ใสลอดานใดดานหนึ่งที่ดานลางหรือดานบน หรือแบบที่มีลอทั้งบน และลาง มีคันบังคับการเปดปดจากบริเวณที่อยูดานนอกบริเวณที่สัตวอยู การออกแบบลอและรางตอง ใหแนนหนา มั่นคง ใชวัสดุที่ทนตอสนิม หากเปนบริเวณที่รางอยูสัมผัสกับน้ําเสมอๆ การใชกุญแจ มีคําถามที่นาสนใจ เชน 1 มีกุญแจเพียงพอกับการใชหรือไม 2 กุญแจตองมีการเปดเปนครั้งคราว เนื่องจากพบวาแมกุญแจมักจะมีปญหาเปดไมออกเมื่อไมมีการ หมุนดวยลูกกุญแจ 3 มีการเขียนเครื่องหมายที่ตัวกุญแจหรือไมเพื่อใหทราบไดทันที่วา กุญแจดอกนี้ใชกับแมกุญแจดอก ใด 3.ใครเปนผูถือกุญแจบาง 4. ในกรณีฉุกเฉิน กุญแจสํารองอยูที่ใด ผูที่ไมคุนเคยจะรูไดอยางไรวาลูกกุญแจที่ตองการอยูที่ใด 5.เมื่อลูกกุญแจหาย สิ่งที่ตองทําคืออะไร 6. ผูเลี้ยงสัตว ไมควรเอากุญแจคอก กรงกลับบานดวย ตองเก็บไวในสวนสัตว

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

113

A

ทานมีคําถามที่เกี่ยวของกับการใชกุญแจนอกเหนือจากนี้อีกหรือไม

การใชอุปกรณที่ปลอดภัย การตรวจสอบและซอมแซมอุปกรณเครื่องมือ เครื่องใชตางๆ ใหอยูในสภาพที่พรอมใชงาน การปลอยอุปกรณทิ้งไวโดยไมดูแลและไมวางใหเปนที่เปนทางอาจจะกอใหเกิดอันตรายกับผูที่ผานเขา ไปในบริเวณดังกลาว ซึ่งอาจจะเปนผูที่ใชอุปกรณนั้นเองก็ได อุปกรณที่ชวยในการผอนแรง เชนรถเข็น แบบเข็นน้ํา 2 ลอที่ชวยผอนแรงในการขนหญา เขาไปในคอก ซึ่งจะชวยลดปญหาการปวดหลังหากบางวันที่คนยกใชทายกที่ไมถูกตองหรือน้ําหนัก ที่ ยกมากเกินไป เมื่อตองยกของ สิ่งที่ตองคิดกอนที่จะยกของเชน 1. ถามีของหลายชิ้นที่ตองการยกในครั้งเดียว จะมีของบางชิ้นหลนใสเทาเราหรือไม 2.เสนทางที่เราจะยกของไป มีสิ่งของกีดขวางอยูหรือไม 3.จุดที่เราจะวางของลงเปนจุดใด ในการยกของนั้น 1.ตั้งหลังใหตรง 2.อยาหมุนตัวมากเกินไป 3.เตรียมกลามเนื้อในสวนที่ตองออกแรงใหพรอม

วิธีการจัดการกับปญหาคนถูกไฟดูด มีขั้นตอนการแกไขปญหาอยางไร เขียนลงในสมุด จดขอความสําคัญ

กรณีไฟไหม วัสดุที่เปนเชื้อไฟไดดี เชน ฟางแหง พลาสติก ไม อันตรายที่เกิดขึ้นจากไฟที่มีกับคนและสัตว 1.ความรอน เปลวไฟ ที่ทําใหเกิดการเผาไหมทีผิวหนัง 2.การสําลักควันไฟ 3.การบาดเจ็บที่เกิดจากความตื่นตระหนก การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

114

ในหัวขอตอไปนี้ ใหคุณเขียนรายละเอียดลงในสมุดจดขอความสําคัญ ในการจัดการกับ กรณีไฟไหม - มีการฝกซอมดับไฟหากเกิดกรณีไฟไหมขึ้น เพื่อเปนการเตรียมเจาหนาที่ของสวนสัตว - มีกําหนดผูรับผิดชอบในการดับเพลิงใหเรียบรอย - การสรางสัญญาณ หรือ มีการสื่อสารเชนวิทยุเพื่อบอกเหตุแกเจาหนาที่คนอื่นอยางไร วาเกิดกรณี ไฟไหมขึ้น - การฝกอบรมใหเจาหนาที่รูถึงวิธีการเบื้องตนในการดับไฟทําไดอยางไร - ในอาคารมีทางออกฉุกเฉินและมีเครื่องหมายชี้ทางออกฉุกเฉิน

ความปลอดภัยของผูเที่ยวชม เราโฆษณาประชาสัมพันธใหประชาชนทั่วไปมาเที่ยวชมสวนสัตว เมื่อเราเปนผูชักชวนเขามาใน สวนสัตว สวนสัตวตองเปนผูรับรองความปลอดภัยเมื่อเขา มาเที่ยวในสวนสัตว โดยเจาหนาที่สวน สัตวทุกคนมีหนาที่ ที่ตองดูแลความปลอดภัยแกผูเที่ยวชมทุกคนที่เขามาในสวนสัตว สิ่งที่แสดงใหผูเที่ยวชมใหเห็นถึงความปลอดภัย เมื่อเขามาเที่ยวสวนสัตว โดยการจัดการ สวนแสดงสัตวที่สามารถกันสัตวใหอยูในอาณาเขตของสัตว การเที่ยวชม ทางสัญจรมีความปลอดภัย รวมทั้งลายลักษณอักษรที่แสดงไวที่บัตรและปายทางเขาวา “ สวนสัตวไดมีการจัดการเพื่อใหการเที่ยว ชมสวนสัตวแหงนี้มีความปลอดภัย “ ซึ่งเมื่อเปนขอความที่ชัดเจนแลว เจา หนา ที่ทุกคนตองรวมกัน รักษาคําสัญญาที่ใหกับผูเที่ยวชม อันตรายที่อาจเกิดขึ้นไดเชน เชนกรณีเด็กขี่จักรยานเชาและเกาะไปกับรถพวงที่วิ่งนํา เที่ยวชม ในสวนสัตว เมื่อเห็นเหตุการณเชนเราตองมีหนาที่เขา ตักเตือ น เพื่อ มิใหก ารบาดเจ็บที่เกิดขึ้นได เกิดขึ้น การแตงตัวใหผูเที่ยวชมรูวาเราคือเจาหนาที่ของสวนสัตวเปนสิ่งสําคัญ เมื่อผูเที่ยวชมตองการ ความชวยเหลือ ในกรณีตางๆ เมื่อเขามาใชบริการในสวนสัตวสามารถหาหรือทราบวาบุคคลที่เขา สามารถสอบถามหรือรองขอความชวยเหลือได คือบุคคลใด

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

115

- ผูเลี้ยงสัตวซึ่งเปนเจาหนาสวนหนึ่งของสวนสัตว มีหนาที่ตองเขาตักเตือนบุคคลที่เสี่ยงตอการเกิด อันตราย - หากเกิดอันตรายขึ้นเชนเด็กขี่จักรยานลม เกิดบาดแผล ถาบาดแผลเล็กนอย การเขาชวยเหลือชวย พาเด็กไปลางแผลในสถานที่ที่จัดเตรียมไว หรือถาเกิดกรณีที่บาดเจ็บรุนแรงการติดตอกับสํานักงาน กลางเพื่อนําผูบาดเจ็บสงโรงพยาบาลโดยเร็ว - ทั้ง 2 กรณีเปนการสรางความประทับ ใจใหกับผูเที่ยวชมวา เมื่อเขามาในสวนสัตวมีเจาหนาที่คอย ดูแลความปลอดภัยและชวยเหลือเมื่อมีเกิดปญหาขึ้น การเขาดําเนินการในการตักเตือน ควรทํา ดวยความนิ่มนวล เชนเห็นเหตุการณที่เด็ก ขี่ จักรยานเกาะรถพวงอาจเริ่มตนดวยการยกมือหามกอน ซึ่งพอเปนสัญญาณหามการกระทําดังกลาวได สัตวหลุดจากกรง มีขอควรพิจารณาดังนี้ แสดงวา คอกไมสามารถควบคุมสัตวได 1. ถาสัตวไมมีอาการตกใจดูเหมือนวาแนวรั้วจะสามารถปองกันสัตวกระโดดขามไดแตเมื่อสัตวตกใจ ความสูงของคอกที่มีกลับไมเพียงพอ ถาเกิดเหตุการณเกิดขึ้นแลวอยานิ่งนอนใจรีบแกไขเมื่อเหตุการณ สงบลงไมวาผลของเหตุการณจะเปนอยางไรก็ตาม 2.วัสดุที่เปนผนังคอกชํารุด โดยเฉพาะสวนที่เปนตาขาย ตองมีการตรวจสอบทุกเชาวามีความชํารุดเกิด ขึ้นหรือไม 3.ขนาดของซี่กรงใหญเกินไป เชนนกที่มีขนาดเล็กกวาขนาดของซี่กรง .4. ประตู ไมสามารถทนแรงของสัตวได เชนลิงชิมแพนซี 5. ประตูไมเหมาะสม สัตวใชจังหวะทีผ่ ูเลี้ยงสัตวเปดประตู สัตวใชจังหวะดังกลาวสวนออกมา 6. สัตวที่มีพฤติกรรมดุรายและมีอาวุธประจําตัว คอกกักตองมีพื้นที่สองชั้นเมื่อพนจากประตูคอกกัก แลวยังมีพื้นที่อีกสวนหนึ่ง ไมควรหลุดจากประตูแลวออกสูพื้นที่ภายนอกเลย 7. ลักษณะสวนแสดงทีส่ ัตวมีโอกาสหลุดงายเชนเกาะชะนี ความกวางของคูน้ําตองอยางนอย 3.5 เมตร และสรางสภาพเกาะใหมีรมเงา ตกแตงคอกใหเหมาะกับพฤติกรรมสัตว เมื่อสัตวหลุดออกมาเราตองทําอยางไร - การจัดการสัตวขึ้นอยูกับชนิดสัตว เชน ชะนีหรือลิง สวนมากจะขึ้นตนไม การใชลูกดอกยาสลบ ยิง เมื่อไดจังหวะที่ดี มีมือยิงลูกดอกที่ไวใจได ซึ่งตองมีการฝกยิง ใชงานเปนประจํา อุปกรณที่มี ประสิทธิภาพ จุดที่ยิงไดสวนมากจะเปนจุดที่อยูสูงของตนไม บางครั้งสัตวจะคางตองปนขึน้ ไปเอา ที่อันตรายคือสัตวจะหลนจากที่สูง ตองเตรียมอุปกรณรองรับใหดี - ปองกันไวจะดีที่สุด การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

116

ลองคุยกับที่ปรึกษาของเราในสวนสัตว วาในกรณีสัตวหลุด (ลองเขียนแผนในสัตวหลายชนิด) ไฟไหม เราจะมีวิธีจัดการกับปญหาฉุกเฉินแบบนี้อยางไร สรุป ในบทนี้ ใหแนวคิดตางๆ เพื่อใหคุณมีแนวคิดที่วา 1. ในฐานะที่เปนผูเลี้ยงสัตวใหทํางานไดอยางปลอดภัยเมื่อ เขาใกลตัว สัตว มีความปลอดภัยเมื่อเขาใน งานในคอกกักหรือสวนแสดง มีความปลอดภัยในการใชอุปกรณตางๆ 2.ใหผูเที่ยวชมที่เขามาในสวนสัตว มีความปลอดภัย 3.สัตวที่อยูในสวนสัตว ไดรับการดูแลจากผูเลี้ยงสัตวใหมีความปลอดภัย ตรวจสอบสิ่งตอไปนี้วา - คุณรูถึง “ ขอคิดเพื่อความปลอดภัยในการทํางาน “ - คุณสามารถนํา ขอคิดเพื่อความปลอดภัยในการทํางาน ไปปรับใชกับงานของคุณได - คุณรูถึงอันตรายที่จะเกิดขึ้นจากการทํางานแลว วิธีการปองกัน และวิธีปฏิบัติงานที่ปลอดภัยแลว - คุณรูแลววาสัตวที่คุณทํางานอยูทํารายคุณดวยวิธีใดและถาถูกทํารายการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นจะเปนรูป แบบใด - คุณรูถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับเครื่องมือที่คุณใชบอยๆ อุปกรณ ไฟฟา - คุณรูวิธีการชวยเหลือคนปวยในกรณี คนเปนลมหมดสติจากอาการตกใจ ( shock ) - คุณรูวา ในฐานะที่เปนผูเลี้ยงสัตว คือสวนหนึ่งของสวนสัตวที่ตองใหความปลอดภัยกับผูเที่ยวชม - ในกรณีที่เกิดสัตวหลุด ไฟไหม คุณทราบระหัสวิทยุที่แจงใหทราบในกรณีดังกลาว - คุณเปนคนหนึ่งใชไหมเมื่อเห็นผูเที่ยวชมตองการความชวยเหลือไมวาในกรณีใด คุณเปนคนหนึ่งที่ เขาไปสอบถามและชวยเหลือดวยความเต็มใจ

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

117

บทที่ 9 ความสะอาดและการทําความสะอาด เนื้อหา --ความสะอาดและการทําความสะอาด - การปองกันการแพรกระจายของเชื้อโรค - สารเคมีที่ใชฆาเชื้อโรค - วิธีการจัดการ - โรคสัตวสูคน - สัตวตาย - ขอมูลเพิ่มเติม

สว นแสดงสัตวเปนสวนที่ป รากฏตอสายตาของผูเที่ย วชม ความสะอาดของอาคารสถานที่จึง เปน องคประกอบที่สําคัญ การจัดการสถานที่ใหสะอาดเรียบรอ ยและเปนระเบียบ ทําใหสถานที่ดูนามอง นาเที่ยวชม ซึ่งเปนหลักทั่วไปของการจัดการสวนสัตว การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

118

ความสะอาดและการทําความสะอาด - ความสะอาด ( Clean ) หมายถึงการไมมีสิ่งสกปรก - การทําความสะอาด ( Cleanliness ) คือกิจกรรมที่เอาสิ่งสกปรกออกไป - คําวา Hygiene คือการทําความสะอาด ซึ่งเปนกิจกรรมที่สําคัญในการปองกันโรค ที่จะทําใหสัตวใน สวนสัตวและผูเลี้ยงสัตวมีสุขภาพแข็งแรง การทําความสะอาดจึงเปนสิ่งสําคัญที่จะทําใหสวนสัตวเปนสถานที่ที่ปลอดภัยสํา หรับสัตว ผู เที่ยวชม และผูเลี้ยงสัตว การเก็บกวาดเพื่อเอาสิ่งสกปรกที่มีอยูในสวนสัตวออก ทําใหสถานที่ดูนามอง นาเที่ยวชม ซึ่ง เปนหลักทั่วไปของการจัดการสวนสัตว สิ่งที่ตองเอาออกจากคอกเชน เศษอาหาร เศษหญาที่สัตวกิน เหลือ มูลที่สัตวถายออกมา รวมทั้งมีวิธกี ารจัดการกับของเสียเชน น้ําลางคอก น้ําที่ออกจากสระน้ําที่มี การใชน้ําปริมาณมากเชน น้ําทิ้งจากบอแมวน้ํา เพนกวิน มูลสัตว ขน หนัง ไขมัน ทําใหเกิดกลิ่นที่ไมพึงประสงค เปนตัวเก็บเชื้อโรค เชื้อโรคคือ สิ่งมีชีวิตที่เปนตนเหตุทําใหเกิดโรค ตัวอยางเชน การแพรก ระจายของเชื้อราใชการแพรกระจายของ สปอร หรือในพยาธิโดยไขที่มีขนาดเล็ก การควบคุมการแพรกระจายจากสัตวตัวหนึ่งไปยังสัตวอีกตัวหนึ่งจึงเปนสิ่งที่มีความสําคัญ สิ่ง เหลานี้จะอยูในสิ่งสกปรกตาง ๆ การทําความสะอาดที่ตองการเอามูลและขนออกเพื่อตองการลดการ แพรกระจายเชื้อโรคเหลานี้นั้นเอง การแพรกระจายของเชื้อโรค การแพรกระจายเชื้อโรคของสัตวตัวใดตัวหนึ่งไป หรือคนใดคนหนึ่งไปยังสัตวตัวอื่นหรือคน อื่นๆ ซึ่งเชื้อโรคมีขนาดเล็ก การแพรกระจายโดยผานละอองของเหลวขนาดเล็ก ผานอากาศ ผา น พาหะนําโรคเชนยุงแมลงวัน ตัวอยางการแพรกระจายเชื้อโรค เชน 1.ในน้ําลายซึ่งจะปนเปอนในอาหาร ผานมาทางการเลียดวยลิ้น การกัด ตกคางที่ผนัง ตกคางในถวย น้ําและน้ํา 2.วัตถุรองพื้น 3.จากดินผานไปที่บาดแผล 4.ปนเปอนในทุงหญา 5.เปนละอองที่กระจายจากตัวสัตวเวลาจามหรือไอ 6.การสัมผัสระหวางตัวสัตวดวยกัน 7.แมลงวัน ยุง หอยที่เปนพาหะหรือตัวพาหะนําโรค การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

119

8.อาหารที่ปนเปอนมูลหรือปสสาวะของหนู หรือมูลของนก 9.แบคทีเรียจากมือของผูเลี้ยงสัตวผานไปที่อาหารของของสัตว 10.ผานผาที่ใชจับตัวนก จากบูตของผูเลี้ยงสัตวที่ย่ําจากคอกสูคอก การปองกันการแพรกระจายของเชื้อโรค สัตวที่มีสุขภาพแข็งแรง สัตวที่มีสุขภาพดี การจัดการทั่วไปที่จะทําใหสัตวมีสุขภาพดีจะทําใหจํานวนของเชื้อโรคที่ออก จากตัวสัตวนอยลง รวมทั้งสัตวที่แข็งแรงยังมีความตานทานตอโรคดีกวาดวย สัตวที่อยูในชวงอายุหนุมสาวจะมีความตานทานตอโรคดีกวาสัตวที่อยูในชวงอายุมาก จัดการ สัตวที่ดี อาหารที่มีคุณคาเหมาะสมและปริมาณที่เพียงพอเปนการชวยรักษาระดับความแข็งแรงของ รางกายสัตวไวได สิ่งที่ชวยในการทําความสะอาด การทําความสะอาดกรงสัตวใหสะอาด โดยการใชอุปกรณและสารเคมีตั้งแตน้ําสะอาด การ ใชสบูหรือสารเคมีอื่นๆ ตัวอยางสิ่งที่ใชทําความสะอาดเชน - ใชน้ํากับสบูเพื่อทําความสะอาดที่มือและรองเทาบูต - น้ําสะอาดสําหรับทําความสะอาดพื้นและผนัง - น้ํารอนอุณหภูมิระหวาง 25-60 องศาเซลเซียส - ไอน้ํา ที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส ใชสําหรับพื้นที่เปนดิน วัสดุปูรอง - เมื่อมีการใชน้ําผสมกับสารเคมีทําความสะอาดเชนสบู น้ํายาทําความสะอาด ซึ่งตองมีการลางออก ดวยน้ําสะอาดทุกครั้ง - น้ําสะอาดจะมีประสิทธิภาพในการทําความสะอาดไดนอยกวาน้ําผสมน้ํายาทําความสะอาด น้ําที่ รอนมีประสิทธิภาพในการฆาเชื้อโรคไดมากกวาน้ําเย็น การใชน้ําเย็นมักจะใชรวมกับเครื่องฉีดน้ํา แรงดัน - การใชผงซักฟอกจะชวยลดแรงตึงผิวของไขมันทําใหการทําความสะอาดทําไดดียิ่งขึ้น การใชสาร ทําความสะอาดในลักษณะน้ํายาลางจาน ( tepol) เปนการใชที่เหมาะสมกับพื้นและผนัง - คราบไขมันการทําความสะอาดใหใชผาชุบน้ํายาทําความสะอาดเช็ดเสียกอน กอนที่จะลางออกดวย น้ําสะอาด - พื้นที่การไหลของน้ําไมสะดวก เมื่อใชน้ําลางตองกวาดน้ําที่คางอยูตามพื้นลงทางระบายน้ําใหแหง

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

120

- .สวนประกอบของคอกที่เปนเหล็ก เชน ซี่กรง ตาขายถาถูกน้ําเปนประจํา การสึกกรอนเปน สนิมจะเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว ในกรณีนี้ตองพิจารณาใชวัสดุที่ปลอดสนิมเชน สแตนเลส แตราคาจะ แพงแตในระยะยาวจะคุมคากวา - ภาชนะใสอาหารเชนถวยของนกแกว ถาดอาหารของลิง ชะนีตองลางทําความสะอาดดวยน้ํายาลาง จานเพื่อเอาคราบไขมันออกแลวลางออกดวยน้ําสะอาด ตากใหแหงกอนที่จะนํากลับไปใชใหม ดังนั้น การมีภาชนะที่มากพอเพื่อใหมีการหมุนเวียนใช - การใชไอน้ําเพื่อทําความสะอาดพื้นที่ที่เปนดิน พื้นคอกปูน วัสดุรองพื้นคอก - น้ําสะอาดผสมกับน้ํายาทําความสะอาดสําหรับพื้นผิวทุกแบบ จากนั้นจึงลางออกดวยน้ําสะอาด - การใชน้ําผสมกับน้ํายาทําความสะอาดจะมีประสิทธิภาพในการทําความสะอาดไดดีกวา น้ํารอนจะ มีประสิทธิภาพที่ดีกวาน้ําอุณหภูมิปกติ - ถวยโลหะควรลางดวย bicarbonate of soda ในปริมาณ 25 กรัมตอน้ํา 1ลิตร ซึ่งสารชนิดนี้จะมีผล ทําลายเนื้อโลหะนอย

- การเช็ดกระจกโดยใชกระดาษหนังสือพิมพจะชวยใหการทําควาสะอาดทําไดงายยิ่งขึ้น - สวนใหญน้ํายาทําความสะอาด (detergent solution ) จะลางเอาไขมันที่อยูบนผิวหนังออก ควรใสถุง มือเมื่อสัมผัสกับน้ํายาเหลานี้ ใหคุณเขียนขอความลงในสมุดขอความสําคัญวาแตละชนิดของพื้นผิวเชน ซีเมนต พื้นดิน พื้นหญา ทราย กระจก มีวิธีทําความสะอาดอยางไร อุปกรณ น้ํายาเคมี และมีขั้นตอนอยางไร ใหคุณเขียนถึงวิธีการทําความสะอาดมา 1 วิธีที่ใชเวลาและแรงงานนอย

Q

ทําไมการทําความสะอาดจึงเปนการลดการแพรกระจายของเชื้อโรค

ทําไมเราจึงตองใชถุงมือและผาปดจมูก ชวงเวลาใดในการทํางานที่เราจะตองใชอุปกรณนี้เสมอ

น้ํายาทําความสะอาด - คําวา disinfection หมายถึงวิธีการที่กําจัดสิ่งสกปรก เชื้อโรค - สารเคมีที่ใชในการกําจัดสิ่งสกปรกนั้นเราใชศัพทคําวา disinfectant - คําศัพทที่เรียกขบวนการกําจัดสิ่งสกปรกยังมีอีกคําหนึ่งคือ sanitation การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

121

- คําศัพทที่ใชเรียกสารเคมีที่ใชทําความสะอาดและปลอดภัยกับผิวหนังของคนคือคําวา antiseptic โดยความหมายของคํานี้คือหยุดการติดเชื้อที่บาดแผล - ขบวนการที่ทําความสะอาดแบบปราศจากเชื้อ เราเรียกขบวนการนั้นวา sterilization ตัวอยางของ disinfectant ชื่อสารเคมี ชื่อทั่วไป ความเขมขน การใช Halogen -hypochlorite Chloros (ICI ) 1-5 % - ใชเพื่อฆาเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส ราคา ถูก แตตองใชดวยความระมัดระวัง Hypochlorite 3–5% - กัดกรอนโลหะ ใชไมไดกับพื้นดิน Domestos หรือกับวัสดุอินทรยสารอื่นๆ Phenlos( Cresol )

- Lysol (BP)

4%

- pine oil, Jeyes, 4 % Jeypine Quaternary ammonium Nonidet( Shell ) - 0.5 % Compounds - Cetavlon (ICI ) - 1 % Ampholytic Compounds Formaldehyde ( 5 % solution of formalin )

Tego MGH

-1%

-

-

- ใชฆาเชื้อแบคทีเรียผสมน้ําสบู เพื่อ เปนน้ํายาฆาเชื้อ - ใชฆาเชื้อแบคทีเรีย ผสมในน้ําสบู เพื่อเปนน้ํายาฆาเชื้อ - น้ํายาฆาเชื้อแบคทีเรีย - ไมผสมน้ําสบู ใชกับบาดแผลที่ ผิวหนัง ใชสําหรับฆาเชื้อแบคทีเรียและไวรัส ไมมีพิษตอสัตว กลิ่นฉุนแสบจมูก ราคาถูก ใชไดดี ในอากาศที่ชื้น ใชฆา เชื้อ แบคทีเ รีย ใหใชดวยตวามระมัดระวัง

น้ํ า ยาฆ า เชื้ อ โรคทุ ก ชนิดตองใชดวยความระมัดระวัง เชน ฮาโลเจน (ฮาปรคลอไรด ) บริเวณที่ใชควรมีการถา ยเทอากาศ สะดวก สวมถุงมือ ใสเสื้อผาที่มิดชิด ปองกันผิวหนัง การจัดการสัตว - การจัดการสวนสัตวที่สามารถเคลื่อนยายสัตวไปยังสวนตางๆ ของสวนแสดง เชนจากคอกกัก การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

122

ไปสวนแสดง หรือจากสวนแสดงไปคอกกักไดโดยงายก็จะทําใหการทําความสะอาดทั้งสวนของคอก กัก สวนแสดงเปนไปโดยสะดวก สามารถทําไดทุกวัน ทําใหการสะสมของเชื้อโรคลดลง - พื้น ผนัง เพดานทําจากวัสดุที่สามารถทําความสะอาดได - ใหความสําคัญกับการกําจัดหนู แมลงสาบ มด นกปา พยาธิภายนอกตางๆ เชน หมัด ไร - ภาชนะใสน้ําและอาหารตองทําความสะอาดทุกครั้งที่เปลี่ยนอาหารใหม - ภาชนะใสน้ําและอาหารลางดวยน้ํารอนและใชน้ํายาฆาเชื้อโรคที่ปลอดภัย - วัสดุรองนอน วัสดุทํารัง คอนที่นกเกาะ ตองเปลี่ยนใหมถาสภาพเริ่มเกา - แหลงที่จะเปนตัวแพรกระจายเชื้อโรค เชน พื้นดินภายในคอก รองเทา บูต สัตวใ หมที่นํา เขาฝูง สัตวที่เปนพาหะนําโรคเชน หมัด ไร ตัวอยางการปองกันการแพรกระจายของเชื้อโรค - สัตวนําเขาใหมตองแยกสวนออกจากสัตวที่อยูเดิมจนกวาจะแนใจวาจะไมมีการนําเชื้อโรคติดตอไป ยังสัตวอื่น ระยะการกักกันโรคสัตวอยูในชวง 60-90 วัน - อาหารที่สัตวกินเหลือตองมีการนําออกจากคอก เชนหญาแหงที่กองกับพื้น วัสดุรองพื้นที่เปน ดินหรือตองมีการนําวัสดุรองพื้นใหมเขาไปเพิ่มเมื่อเวลาผานไปชวงหนึ่ง - ทางเขาสูคอกสัตวแตละคอกควรมีอางน้ํายาฆาเชื้อโรค เพื่อฆาเชื้อโรคที่ติดมากับรองเทาบูต และ เมื่อจบงานในแตละวันตองลางทําความสะอาดรองเทาบูตใหสะอาด - - ผูเลี้ยงสัตวที่ทํางานกับสัตว ตองลางมือใหสะอาดกอ นรับประทานอาหารหรือกอนที่จะเตรียม อาหารใหสัตว - ผูเลี้ยงสัตวตองใชผาปดจมูกทุกครั้งที่ทํางานที่มีฝุนคลุง นี้คือตัวอยางของการปองกันการแพรกระจายของเชื้อโรคจากสัตวสูคนหรือคนสูสัตว ซึ่งขอ กําหนดเหลานี้ตองถือเปนกฎแหงความปลอดภัยที่สําคัญ การปฏิบัติตามขอกําหนดเหลานี้เปนคุณ ลักษณะที่ดีของผูเลี้ยงสัตวที่ทํางานในสวนสัตว

ใหคุณเขียนบรรยายถึงวิธีปองกันการแพรกระจายของเชื้อโรค จากสัตวสูคนและจากคนสูสัตว

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

123

ลางมือภายหลังการทํางานที่เกี่ยวของกับสัตว อยาเอามือสัมผัสกับหนาขณะที่ทํางานอยู อยากิน ดื่ม สูบบุหรี่ แตงหนาขณะทํางานกับสัตว โรคสัตวสูคน. - จุดมุงหมายประการหนึ่งของสวนสัตวคือการเลี้ยงสัตวใหมีสุขภาพแข็งแรงและลดปริมาณ ของเชื้อโรคใหนอยที่สุด - เมื่อมีสัตวปวย ในฐานะทีเ่ ราเปนผูเลี้ยงสัตวที่ดูแลสัตวนั้นและอยูใกลชิดสัตวอยู ใหเราพึง ระลึกไวเสมอวาเรามีโอกาสที่จะรับเชื้อจากสัตวนั้นได - การปวยของผูเลี้ยงสัตวไมวาจะเปนการปวยในระดับใดก็ตาม เมื่อไปพบแพทยตองบอกอาชีพ วาเราทํางานในสวนสัตว กลุมสัตวที่เราเกี่ยวของดวยคืออะไร เพื่อเปนขอมูลในการวินิจฉัยโรคดวย - ในสวนของผูบังคับบัญชาตองติดตามสอบถามอาการของผูเลี้ยงสัตวคนนั้น - ตัวอยางของโรคติดตอที่มาสูคนเชน โรค dysentery ในลิง โรคซาลโมแนลลาจาก สัตวเลื้อยคลาน - สัตวที่จากปาหรือไมทราบแหลงที่มา ตองระวังเรื่องของโรคติดเชื้อไวเสมอ ความรูสึก อันหนึ่งที่ไมเปนความจริง คือสัตวปาที่อยูอยางอิสระในปาจะมีสุขภาพดี - ดังนั้นสัตวที่เขามาใหมการใหการดูแลเอาใจใสที่จะชวยใหสัตวมีสุขภาพรางกายแข็งแรง เชน การถายพยาธิภายนอก ภายใน การจัดอาหารที่เหมาะสม รวมทั้งการกักดูอาการสัตวจนกวาจะแนใจ วาสัตวไมเปนพาหะนําโรค - เมื่อเราศึกษาโรคสัตวสูคน จะมีความรูสึกวามีโรคสัตวสูคนจํานวนมากจนเกิดความกลัวกับ การเขาจัดการกับสัตวเหลานี้ การจัดการในเรื่องการปองกันตามเนื้อหาที่ไดกลาวไปแลวเปนผลดีตอตัว ของผูเลี้ยงสัตวเองซึ่งอาจมีงานตองทํา มีขั้นตอนที่มากขึ้น แตเปนการลดความเสี่ยงที่มีใหลดลง - ตัวอยางโรคสัตวสูคนที่ตองใหความระมัดระวัง 1. ไวรัส บี ในลิงปา ตองระวังน้ําลายจากลิงปา ลิงที่เขาใหมหรือลิงที่ไมทราบแหลงที่มาโดย เฉพาะในชวง 6 สัปดาหแรก รวมทั้งลิงที่มีแผลสดที่ปลายลิ้นใหรายงานใหสัตวแพทยทราบ 2. ตับอักเสบ ทําใหเกิดอาการอักเสบที่ตับ ซึ่งเชื้อจะผานมาที่มูลสัตวและผานไปที่น้ําและอาหาร สิ่งทีตองระวังโรคนี้ ติดมาสูคนเนื่องจากสัตวที่ปวยดวยโรคนี้มักไมแสดงอาการใหเห็น 3. แบคทีเรียที่มผี ลใหคนเกิดอาการทองเสีย ซึ่งพบในสัตวหลายชนิด จะผานมาที่คนโดยการ สัมผัสดวยมือ การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

124

4. นกปาและนกที่เขาใหมในกลุมนกแกว โดยเฉพาะนกหงสหยกจะเปนพาหะนําโรคในกลุมทาง เดินหายใจ เชนโรคไขนกแกว ( psittacosis) 5. เชื้อราที่ผิวหนัง เชนที่ศรีษะ ขาหนีบ เทา ดังนัน้ ในชวงที่ทํางานใกลชิดกับสัตวไมควรเอามือ มาเกาที่หัว ภายหลังทํางานเสร็จตองลางมือใหสะอาด เมื่อเลิกงานใหกลับบานเพื่อเปลี่ยนเครื่องแตงตัว อาบน้ําใหเรียบรอย กอนที่จะมีกิจกรรมอื่นๆ ตอไป เชน ตองอาบน้ําเปลี่ยนเครื่อ งแตงตัวใหเรียบรอย กอนที่จะอุมลูกออน อาบน้ําเปลี่ยนเครื่องแตงกายกอนที่ไปรวมงานสังคมอื่นๆ เนื่องจากเราสัมผัสกับ เชื้อโรคในคอกสัตวมาทั้งวัน หรือถาไมกลับบา นการอาบน้ําในที่ทํา งานและการเตรียมชุดอีก ชุดหนึ่ง เปลี่ยนใหเรียบรอย ในกรณีที่เห็นสัตวแสดงอาการคันมากวาปกติตองแจงอาการนั้นตอสัตวแพทย 6.โรคบาดทะยัก เชื้อแบคทีเรียของโรคบาดทะยักจะอยูในลําไสของมาและวัว และจะผานมาที่ พื้นดินเมื่อสัตวมีการถายมูลออกมา ดินที่ปนเปอนเชื้อโรคจะผานเขาที่บาดแผล ผูเลี้ยงสัตวที่มีบาด แผลและไมทําการลางบาดแผล ผูเลี้ยงสัตวนั้นอาจจะเจ็บปวยจากเชื้อนี้ แตสําหรับเชื้อชนิดนี้สามารถ ฉีดเพื่อสรางภูมคุมกันได ( anti toxoid ) การไปพบแพทยรวมทั้งเลางานที่คุณทํา การแจงแกผูบังคับ บัญชาถึงความบาดเจ็บที่เกิดขึ้น 7.โรคพิษสุนัขบาเปนโรคที่อันตรายที่มากับสัตวที่นําเขามา ในลิงตองการการกักโรคอยางนอย 6 เดือน เปนโรคที่รายแรงที่คนรับจากสัตวหลายชนิด คนเลี้ยงสัตวตอ งระวังการโดนกัดและการเลียจากสัตว สัตวจะแสดงอาการเปนสองแบบคือ - แบบที่หนึ่ง แสดงอาการหงอยซึมและอาการกลืนลําบาก - แบบที่สองแสดงอาการบาคลั่ง ทํารายสัตวอื่น ดังนั้นเมื่อเห็นอาการสัตวผิดปกติไปใหแจงให สัตวแพทยทราบ 8.โรคแอนแทร็กซ เปนโรคที่อันตรายถึงแมวาจะเกิดขึ้นไมบอยครั้งนักในสวนสัตว สัตวกีบคือกลุม สัตวที่เกิดโรคนี้ไดบอยครั้ง อาการที่พบคือ การตายอยางกระทันหัน มีเลือดสีดํา ไหลจากทวาร จมูก หรือทั้งสองทาง ลางมือใหสะอาดหลังทํางานกับสัตว - ไมสูบบุหรี่ ดื่มน้ํา กินอาหาร ใหสวมผาปดจมูกในชวงที่ทํางานใกลสัตว - รายงานการเจ็บปวยใหผูบังคับบัญชาทราบ - เมื่อไปพบแพทยตองแจงใหแพทยทราบถึงลักษณะงานของคุณเอง -

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

125

การแยกสัตวและการกักโรค เปนวิธีการปองกันโรคติดตอในสัตว ในกรณีของสวนสัตวการรับสัตวเขามาใหม สัตวตัวนั้น อาจจะปวยไดจากความออนเพลียและเครียดจากการเดินทาง โดยขั้นตอนการกักโรคตองทําภายใตขบวนการที่ถูกตองและอยูภายใตการควบคุมของเจาที่ทาง ราชการ เมื่อ ไดปฏิบัติต ามขั้นตอนทุก อยา งแลว ทั้งการสัง เกตอาการและการตรวจสอบทาง หองปฏิบัติการก็เปนการยืนยันวาสัตวนั้นมีสุขภาพดีปลอดโรคที่จะติดตอไปยังสัตวตัวอื่นๆ หลายประเทศมีกฎหมายที่รัฐบาลมีอํานาจที่จะควบคุมการแพรกระจายของโรคระบาดที่เกิดขึ้น ในสัตวปศุสัตว ซึ่งการเขาควบคุมตองมีหลักฐาน (การประกาศเขตพืน้ ที่เปนเขตโรคระบาด ) ขอมูล ที่ยืนยันชัดเจนวาสัตวนั้นมีการติดเชื้อจริงจึงจะสามารถเขา ควบคุมโดยถูกตองตามกฎหมายได เชน หามมีการนําสัตวออกนอกประเทศในโรคพิษสุนัขบา ในกรณีโรคปากและเทาเปอยใหทําลายสัตวที่มี การติดเชื้อและแสดงอาการชัดเจน ซึ่งขบวนการเหลานี้ตองการความเอาใจใสจากผูเลี้ยงสัตวเอง การเกิดเขตควบคุมโรคติดตอ ในสัตว เปนสิ่งที่มีผลกระทบตอสวนสัตวในหลายระดับเชน ถาสวนสัตวอยูในเขตที่มีการระบาด สวนสัตวตองถูกสั่งใหปดสวนสัตวซึ่งเสียหายตอรายไดหรือการ เกิดโรคระบาดขึ้นผูเที่ยวชมจะเกิดความไมมั่นใจถึงความปลอดภัยในการเขา ชมสวนสัตว รายไดที่ เกิดขึ้นจะลดลงอยางเห็นไดชัด ตัวอยางเหตุการณที่เกิดขึ้นจริงคือเมื่อเกิดวิกฤติก ารณไขหวัดนก ที่มี สวนสัตวบางแหงตองถูก สั่งปดและตองใชเวลานานที่จะเรียกความมั่นใจใหกับผูเที่ยวชมกลับมาใช บริการอีกครั้ง หรือแมแตในชวงที่มีก ารระบาด สวนสัตวที่ไมไดมีคําสั่งใหปดสวนสัตวก็ไดรับ ผลกระทบไปดวยเมื่อเกิดความตื่นกลัวในหมูของผูเที่ยวชมเกิดขึ้น การจัดการคอกสัตวที่ส ะอาด มีการจัดการสัตวที่ถูก ตอง สัตวดูมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ บริเวณทั่วไปที่สะอาดทุกๆวัน ไมวาผูเที่ยวชมเขามาเที่ยวเมื่อไหร เปนสรางความมั่นใจแกผูเที่ยวชม วา การจัดการของสวนสัตวนี้ดีไดมาตรฐาน นี้คือการสรางความมั่นใจที่ตองสรางใหไดทุกครั้งที่ผู เที่ยวชมเขามาในสวนสัตว

ใหคุณเขียนชื่อสัตวที่คุณตองใหการระมัดระวังในเรื่องโรคสัตวสูคนลงในสมุดจดขอความสําคัญ

-

ใหรายงานแกผูบังคับบัญชาทราบในกรณีถูก สัตวกัด ขวน หรือการบาดเจ็บที่ผิวหนังจาก สัตวที่คุณดูแลอยู

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

126

เมื่อจะตองไปทํางานตอหลังจากที่ไปพบแพทยแลว การปกปดแผลใหมิดชิดกันฝุนหรือสิ่ง สกปรกอื่นๆเปนสิ่งที่จําเปน - ลางมือทุกครั้งหลังการทํางานกับสัตว - อยาเอามือขยี้ตาหรือเขาหองน้ําโดยที่มือยังไมไดลาง หลังหรือระหวางที่ปฏิบัติงานอยู - อยาสูบบุหรี่ กินอาหาร ดื่มน้ํา ขณะที่ทํางานอยูในบริเวณคอกสัตวหรือจากมือที่ยังไมไดลาง ใหสะอาด - สวมหนากากเมื่อทํางานในลักษณะงานที่มีฝุนหรือตองทํางานกับสัตวที่ฝุนออกจากตัวมากเชน นกกระตั้ว - การเขาจัดการกับสัตวปวย ตองใสถุงมือ ถามีบาดแผลตองปดบาดแผลใหเรียบรอ ย ลา งมือ ทุกครั้งเมื่อเสร็จงาน -

สัตวตาย สภาพแวดลอมในสวนสัตวมีการจัดการที่ไมมีศัตรูผูลา มีการจัดการดานการสุขาภิบาล ดาน อาหาร การปองกันโรค ดังนั้นสัตวในสวนสัตวชนิดที่สามารถปรับตัวเขากับสภาพของสวนสัตวได จะ มีอายุยืนยาวกวา สาเหตุของการตายกอนอายุขัยมีสาเหตุ เชน - ถูกทํารายจากสัตวที่อยูภายในกรงหรือคอกเดียวกัน - ลูกสัตวถูกทํารายจากสัตวตัวอื่นๆ - สาเหตุจากผูเที่ยวชมที่โยนวัตถุที่ทําใหเกิดการอุดตันในทางเดินอาหาร - โรคในจากระบบทางเดินอาหาร อาหารเปนพิษ อาหารไมยอย - อุบัติเหตุ - โรคที่เกิดขึ้นที่หัวใจและหลอดเลือด - คลอดยาก - ความเครียด - เมื่อสัตวตายจากการติดเชื้อ ตอ งเตือนตัวเองเสมอวาเชื้อ โรคที่อยูใ นตัวสัตวนั้นยังอยูในตัวสัตว อันตรายจากเชื้อโรคนั้นยังมีอยู - ดังนั้นซากสัตว มูล ปสสาวะ และสิ่งคัดหลั่งเปนสิ่งที่ผูเขาสัมผัสตองทําดวยความระมัดระวัง ตองลางมือใหสะอาดทุกครั้งที่สัมผัสซากสัตว การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

127

- ไมใหสัตวที่อยูในคอกเดียวกันสัมผัสกับซาก ใหรีบนําซากนั้นออกจากคอก - เก็บซากไวในถุงพลาสติกที่หนาเหนียว โดยใหหุมดวยถุง 2 ชั้น - นําซากนั้นทําการพิสูจนหาสาเหตุการตายหรือนําแชในตูเย็น - ผูที่จะทําการผาซากและผูชวยตองสวมถุงมือ ผาปดจมูก ผาคลุมกันเปอนใหเรียบรอย - การผาซากพิสูจนควรทําโดยผูมีประสบการณและมีการวิธีการทางวิทยาศาสตรเขาชวยเชน การเพาะเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส มีการจดบันทึก ถายภาพเปนหลักฐาน รวมทั้งการตีพิมพเผยแพร เพื่อเปนการปรับปรุงการจัดการสัตวชนิดนั้นๆใหดียิ่งขึ้น - ปญหาที่มักเกิดขึ้นที่มีความเกี่ยวของกับกรณีสัตวตาย 1.สัตวบางตัวที่มีอายุมากอยูในสภาพที่เจ็บปวดและไมสามารถรักษาใหมีสภาพที่ดีขึ้นได แนวทางจัด การมีอยู 2 ทางคือ ปลอยใหสัตวนั้นตายไปตามสภาพหรือการใชวิธีเมตตาฆาตซึ่งขึ้นอยูกับชนิดสัตว และการตัดสินของผูที่เกี่ยวของทั้งหมด ถาสัตวตัวนี้อยูในปาอาจตายตกเปนเหยื่อของสัตวชนิดอื่นหรือ ตายจากสภาพรางกายที่เสื่อมจนทรงสภาพไมไหว 2.มีสัตวบางชนิดที่สามารถออกลูกเพิ่มจํานวนอยางรวดเร็ว จนกระทั่งพื้นที่ในสวนแสดงไมเพียงพอ เชน กวาง แอนติโลพ โดยเฉพาะเพศผูเมื่อ โตเต็มที่แ ลวการตอสูระหวา งกันจะเกิดขึ้น ซึ่งก็จะ เหมือนกับการตอสูที่เกิดขึ้นในปาที่แยงชิงอาณาเขตกัน สิ่งที่ทํา ไดคือการขนยายไปยังสวนสัตวอื่นที่ ตองการสัตวชนิดนั้นไปจัดแสดง หรือถามีโครงการที่จะปลอยสัตวนั้นเขาสูปา หากมีวิธีการที่จะตอง ทําตอเนื่องไปอยางถูกตองและเหมาะสมแลว ถาไมมีแนวทางทั้งสองวิธีดังกลาวการลดจํานวนสัตวลง ดวยการเมตตาฆาตก็เปนวิธีการแบบหนึ่งที่จะควบคุมประชากรสัตว ซึ่งเรื่อ งนี้ตอ งไดรับการรับรอง จากนโยบายของหนวยงานนั้นๆวาวิธีการเปนสิ่งที่ส ามารถปฏิบัติได ตองผานการอนุญาตจากเปน ลําดับชั้นใหถูกตอง

เนื้อหาเพิ่มเติม สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่เปนสาเหตุของการเกิดโรคแบงเปน 4 กลุมคือ แบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา และโปรโตซัว สิ่งมีชีวิตขนาดใหญที่เปนสาเหตุของโรคเชน พยาธิ แมลงเชนเห็บ หมัด ไร ที่เปน พาหะนําโรค - แบคทีเรีย เปนสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กที่ส ามารถเพิ่มจํานวนไดอ ยางรวดเร็วในสภาพที่มีความชื้น เชนภายในรางกายของสัตว ในสภาพที่แหงแบคทีเรียสามาถมีชีวิตรอดไดโดยการสรา งเซลหุม ที่ แข็งแรงอีกชั้น อยูไดในดิน อาหาร อากาศ น้ําลายของสัตว ไอ จาม มูล ปสสาวะ แบคทีเรีย เปนสาเหตุของโรคอาหารเปนพิษ บาดทะยัก วัณโรค ปอดอักเสบ เปนตน การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

128

- ไวรัส เปนสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่ตองอาศัยในรางกายของสิ่งมีชีวิต หรือมีชีวิตไดชวงหนึ่งในละออง น้ําในอากาศ ไวรัสที่มีขนาดใหญที่สุดคือกลุมที่ทํา ใหเกิดฝดาษในคน วัวและไก ไวรัสเปนสาเหตุ ของไขหวัด พิษสุนัขบา ปากและเทาเปอย ไขหัดในสุนัข ไวรัสบีในลิง - เชื้อรา เพิ่มจํานวนและแพรกระจายในรูปของสปอร ในอากาศ หรือในพื้นผิวที่แหง เปนสาเหตุ ของโรคกลาก ( ringworm ) โรคไขจากสปอรของเชื้อราที่อยูในฟางแหง ( aspergillosis ) - โปรโตซัว เปนพยาธิ (parasit ) ที่อยูในทางเดินอาหารของสัตวหรืออยูในเลือด เปนสาเหตุของโรค มาเลเรียที่พบในนกและในสัตวกลุมลิง (รวมทั้งคนดวย ) โรคบาบีเซียในมาบานและมา ลาย โรค sleeping sickness โปรโตซัวที่อ ยูในทางเดินอาหาร เชน อะมีบา( amoaeba )ในงูแ ละลิง คอคซิเดีย ( coccidia )ในนก ไก และกระตาย giardia ในตัวชินชิลา บาลานทิเดียม ( balantidium ) ในลิงชิมแพน ซี สาเหตุอื่นที่ทําใหเกิดโรค -แมลง เชน ไร หมัด บอท ฟาย ( bot fly ) - พยาธิ เชน พยาธิตัวกลม พยาธิเสนดาย พยาธิตัวแบน พยาธิใบไม

สัตวแพทยในสวนสัตวตองพยายามที่จะตองมีหองวินิจฉัยโรคในสวนที่สามารถทําไดดวยตนเอง เชน การดูพยาธิจากมูลสัตว การยอมสีเม็ดเลือด การยอมสีแบคทีเรีย เพื่อเปนการเพิ่มศัก ยภาพของ งานตัวเองในสวนสัต ว หรือมีวิธีการเก็บตัวอยางแบคทีเรียเพื่อสงตอ หรือมีการติดตอ กับหอ ง ปฏิบัติงานทางดานพยาธิวิทยา เชน สถาบันสุขภาพสัตว ของกรมปศุสัตว

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

129

บทที่ 10 การควบคุมสัตว เนื้อหา - การทํางานใหสัตวเกิดความเครียดนอยที่สุด - การวางแผน - วิธีการควบคุมสัตว - การปลอยสัตว - การขนยายสัตว

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

130

การควบคุมสัตวนั้นมีจุดประสงค เชน ยายสัตวไปสูสถานที่แหงใหม ตรวจสุขภาพหรือเพื่อ การรักษา การทํางานใหสัตวเกิดความเครียดนอยที่สุด เมื่อเรากระทําในสิ่งใดที่มีผลตอรางกายและสภาพจิตใจความเครียดของตัวสัตวจะเกิดขึ้นได แมแตสัตวที่เปนสัตวเลี้ยงที่มีความคุนเคยกับมนุษยมาก ตัวอยางเชน ในนกแกวที่เชื่องมากตัวหนึ่ง ใหจับคอนไวภายในคอกและติดเครื่องวัดอัตราการเตนของหัวใจไว เมื่อมีคนเดินเขามาใกลพบวาอัตรา การเตนของหัวใจสูงขึ้นแมวานกจะไมไดแสดงอาการตื่นกลัวแตอยางใด การเขาบังคับสัตวจะทําใหสัตวเกิดความเครียดขึ้น แมจะทําดวยความนิ่มนวลอยางที่สุดก็ตาม ความเครียดจะมีผลตอสุขภาพ การสืบพันธุ หรือทําใหรางกายสัตวบาดเจ็บ ดังนั้นการเขาจับตัวสัตว ทุกครั้งตองทําดวยใจอันเปนเมตตาและทําเฉพาะที่มีความจําเปนเทานั้น ความเครียดของสัตวปาที่เกิดขึ้นจะมากกวาสัตวที่เลี้ยงเปนเพื่อนหรือสัตวปศุสัตว ความเครียด ที่เกิดขึ้นอยางรุนแรงทําใหสัตวตายไดอยางกระทันหัน ตัวอยางเชน hare ( กระตายพันธุหนึ่ง ) จิงโจ วอลลาบี้ ( wallaby ) ในกรณีที่สัตวเกิดอาการเครียดทั้งฝูง อัตราการตายโดยรวมของทั้งฝูงจะมีอัตราสูงขึ้น การ ตายอาจจะไมเกิดขึ้นทันทีแตอาจจะเกิดตามมาในระยะหลัง เนื่องจากความออนเพลีย สภาพรางกายที่ ออนแอลง สัตวทุกชนิดเกิดความเครียดไดทั้งหมด ไมวาจะเปนกบ งู นก การวางแผน กอนที่จะทําการควบคุมสัตว มีความจําเปนที่จะตองคิดเสียกอนวาใครจะตองทําอะไร ชวงเตรียมการ กอนที่จะลงมือคุณตองทราบหรือตองตัดสินใจวาในเรื่องตอไปนี้ 1 ใครเปนผูตัดสินใจวาจะทําการควบคุมสัตวหรือไม 2.จะทําวันไหน เวลาเทาไหร 3.ตองมีสัตวแพทยรวมงานหรือไม คนไหน ถาไมมีจะเปนใคร 4.ตองมีการกันฝูงชนใหใหหางจากจุดที่จะทําการเขาควบคุมสัตวหรือไม 5. ตองใชอุปกรณอะไรบาง 6.ขั้นตอนการทํางานตองทําอยางไรบาง 7.ขั้นตอนการปลอยสัตวตองทําอยางไรบาง ในขั้นตอนการทํางาน 8.ดูวาอุปกรณอยูครบถวนแลวหรือยัง การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

131

9.ตรวจสอบดูวาพื้นที่ที่เราจะทํางานมีการวางวัสดุมีคมบนพื้นหรือไม 10.ตรวจสอบดูวาในบริเวณที่จะเขาทํางาน มีสัตวตัวอื่นๆ อยูหรือไม เปนสัตวชนิดใด 11. ตรวจสอบเสนทางที่สัตวชนิดนั้นจะหนีอยางไรและไดปดเสนทางนั้นแลวหรือยัง 12. ย้ําขั้นตอนการปฏิบัติงานอีกครั้ง กอนลงมือทํางาน 13.ตรวจสอบจุดที่จะปลอยสัตว 14.เตรียมคนไวหนึ่งคนเพื่อจดขอมูลทั้งหมดตั้งแตเริ่มจนกระทั่งสัตวฟน 15. ในการทํางานการควบคุมสัตว ในกรณีที่ไมใชงานเรงดวน ตองมีการวางแผนลวงหนาและมีเวลา ในการทํางานที่เพียงพอ 16. มีการจดการบันทึก วามีอะไรเกิดขึ้นบาง เพื่อใชเปนที่อางอิงสําหรับการทํางานครั้งตอไป วิธีการทีใ่ ชในการควบคุมสัตวมีดังนี้ 1 การควบคุมดวยการฝกสัตว ( Psychological tool )วิธีการนี้ตองมีความเขาใจในพฤติกรรมของสัตว ชนิดนั้นๆ ตัวอยางของวิธีการนี้เชน การใชเสียง การฝกสัตวบางชนิดซึ่งทํากันในสัตวที่ใชเปนละคร สัตวได 2 การลดการเห็นสิ่งแวดลอมของสัตวลง ตัวอยางของกรณีนี้เชน ความเครียดของนกแกว parakeet จะลดลงเมื่ออยูในหองที่มืด กอนที่จะจับตัวนกเพื่อตรวจหรือใหยา การใชผาบังที่ตาของกลุมนกเหยี่ยว ( falcon ) ซึ่งจะทําใหสัตวสงบลงได เพียงพอที่จะสัมผัสกับตัวสัตวอยางเบาๆ ได 3.การจํากัดพื้นที่ ตัวอยางเชน การใชก รงบีบสําหรับลิง macaque การจับนกแกวดวยผา ขนหนู การ บังคับนกกระจอกเทศในซองที่เหมือนกับซองที่ใชกับวัวและควาย 4.การเพิ่มระยะการจับบังคับ ตัวอยางเชน 4.1การใชเชือกเหวี่ยงเขาที่เขาเพื่อจับกวางตัวผูที่มีเขาแก 4.2 การใช สแนร ( snare n.1 a trap for catching small animals, consisting of a loop of wire or cord that pulls tight. ) 4.3 สวิง ( net )ลักษณะของสวิงควรจะตองมีการปรับเปลี่ยนไปตามขนาดชนิดสัตว ตั้งแตแมลง เปน ตนไป เมื่อจับสัตวในสวิงไดงานที่สามารถทําไดเชน การใหยา การตรวจรางกาย การใหยาสลบ สิ่งที่ ตองใหความสําคัญกับการใชงานสวิงเชนขนาดความกวางของตาขา ย ใหเหมาะกับขนาดของตัวสัตว ถาตาของตาขายใหญเกินไปสัตวจะลอดออกมาได วัสดุที่ใชทําซึ่งจะมีความออน ความแข็งที่แตกตาง กัน เชนไนลอน เชือกฝาย ปอมะนิลา net1n.1 a length of open-meshed material of twine, cord, etc., used typically for catching fish. ุ a net supported by a frame at the end of a handle, used for catching fish or insects.) การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

132

4.4 การใชอุปกรณพรางตา ( Physical barrier ) ตัวอยางการใชเชน - การใชแผนไมกันการเตะของนกคาสโซวารี่ - การยายสัตวกลุมกวางจากคอกหนึ่งไปอีกคอกหนึ่งโดยการใชทางเดินที่สรางจากผาพลาสติค ทึบ ซึ่งควรจะเปนแนวตรง 4.5 การใชอุปกรณชวยจับบังคับ (.Physical force ) ตัวอยางการใชเชน - การจับโดยใชถุงมือหรือผาขนหนู ซึ่งแรงที่กดที่ตัวสัตวจะมีความแตกตางกัน การจับนกแกวที่ หนัก 100 กรัมกับจับลิงที่หนัก 12 กิโลกรัม การจับกดที่แรงเกินไปอาจทําใหเกิดกระดูกหักได - การใชถุงมือที่หนาจะทําใหจะลดความรูสึกการสัมผัสที่มือลง นอกจากนั้นความหนาจะทําให การบีบตัวสัตวใหแนนลดลง - สัตวที่มีฟนแหลมคมเชนกลุมสัตวกินเนื้อจะสามารถกัดถุงมือหนังทะลุได การใสถุงมือจึงไม เปนการบอกวาปลอดภัยจากเขี้ยวสัตวได 4.6 . การบังคับสัตวโดยการใชยาสลบ ขอควรระวังในการใชยาเชน - การใหยาสลบเกินขนาดจะเปนอันตรายตัวสัตว - สัตวที่ไดรับยานอยเกิน สัตวอาจแสดงอาการทรงตัวไดไมเต็มที่ การเดินและลมลงอาจเปน อันตรายแกสัตวได - การใหยาดวยการยิงจากระยะไกล อุปกรณที่มีประสิทธิภาพ ผูยิงที่มีฝมือเชื่อถือได เพื่อให ปริมาณยาที่มีในหลอดยาครั้งนั้นที่เปนปริมาณที่จะใหสัตวสลบเขาสูตัวสัตวทั้งหมด หากปริมาณยาที่ เขาตัวสัตวเขาไมครบปริมาณและตองยิงซ้ํา ปญหาที่อาจจะเกิดตามมามีกรณีเชน สัตวไดปริมาณยามาก เกินไป - การใชยากับสัตวที่เราไมคุนเคยการสอบถามจากผูมีประสบการณในการใชยา ซึ่งอาจจะมี คําแนะนําอื่นๆ ดวย อันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับผูรวมในการจับสัตวดวยการใชยาสลบ - สัตวที่ยังไมอยูในสภาพที่เขาทํางานได แตผูรวมงานทุกคนอยูในสภาวะที่ตองเขาจับบังคับซึ่งอาจ ไดรับอันตรายจากการเขาควบคุมสัตวได เชนโดนเขาหรือโดนเทาเตะ - หลอดฉีดยาสลบระยะไกลไมไดมาตรฐาน น้ํายาสลบกระเด็นเขาตาหรือปาก ยาสลบบางชนิด ที่ตองมีระบบการปองกันผูใชอยางรัดกุม เนื่องจากผลของยาจะมีผลตอผูใชหากรับเขาในรางกาย การถือกระบอกปนสําหรับยิงยาสลบไมวาจะอยูในสถานการณใดก็ตาม - อยาหันกระบอกปนไปยังบุคคลใดบุคลหนึ่ง การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

133

อยาหันกระบอกปนไปที่เทาของตัวเอง - ผูที่รวมในการจับสังเกตวา ตัวเองอยูในแนวของการยิงหรือไม สิ่งที่ตองระวังเมื่อเขาจับตัวสัตว - ฟน เขี้ยวที่กัด จะงอยปากของนกที่กัดขบได พิษของงู - กรงเล็บ เดือยของไก - ไลขวิดดวยเขา โดนชน โดนเตะดวยเทา - พิษที่ผิวหนัง - ขนของเมน เครื่องแตงกายที่ชวยปองกันรางกาย - ถุงมือหนัง - ผาขนหนู - ชุดหมี (เสื้อที่ติดกับกางเกง ) - รองเทาบูต ขอควรจํา - ในชวงที่เขาทํางานควรใชเสียงใหนอยที่สุด - ในการทํางาน ถาพบวางานครั้งนั้น ถายังทําตอไปจะเกิดอันตรายแกสัตวหรือคนอาจจะยกเลิก ในครั้งนั้นกอน เตรียมตัวใหพรอมมากกวานี้จึงกลับมาทําใหม - ในการทํางานแตครั้งตองมีการจดบันทึกการทํางานไว เพื่อชวยใหการทํางานครั้งตอไปมีจุดบก พรองที่นอยลง - กอนที่จะทํางาน ทบทวนขั้นตอนการทํางานทั้งหมดวาทั้งสัตวและผูปฏิบัติงานปลอดภัย -

การขนยายสัตว - การจับสัตวผูจับสัตวตองรูถึงพฤติกรรมของสัตวชนิดนั้นๆ เชน ความแข็งแรงของสัตว ราง กายของสัตวสวนใดจะทํารายผูจับสัตวได เพื่อจะไดเลือกอุปกรณ วิธีการ ในการเขาควบคุมสัตว - เวลาที่ใชในการจับสัตว ไมควรทําในชวงที่มีอุณหภูมิสูงเกินไป หรือความชื้นสูงมากเกินไป เชน การวางยาสลบกวางควรเลือกชวงเชาหรือเย็นที่อ ากาศไมรอนมาก และชวงเวลาที่ควรหลีกเลี่ยง เชน ชวงที่มีฝนตก - การขนยายสัตวโดยใชกลองขนยายหรือใชกระบะทายของรถ เปนกระบวนการที่สราง ความเครียดใหกับสัตวมาก ยิ่งระยะเวลายิ่งนาน โอกาสที่สัตวจะเกิดความเครียดและความรอนใน การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

134

รางกายยิ่งสูงมากขึ้น ดังนั้นการจัดการสัตวในทุกๆ ชวงจึงมีความสําคัญ ไมวาชวงการจับกอนเขา กลอ ง ชวงที่สัตวอยูในกลองและชวงการปลอย จะตัวอยา ง การจับเนื้อทรายเขา กลอ งขนยาย มี แนวคิดบางประการดังนี้ 1.ถาเลือกการใชยาสลบเพื่อใหสัตวสลบกอนที่จะนําเขากลอง การมีคอกกักทําใหพื้นที่ที่สัตวจะหนีได นอยลงทําใหการยิงยาสลบทําไดงายขึ้น มีอุปกรณเชนลูกดอกยาสลบระยะไกล รูชนิดยาและปริมาณยา ที่เพียงพอสําหรับการสลบของสัตว 2.เมื่อสัตวสลบแลวเราตองทําอะไรบางเชน ถายังไมไดทํา เครื่องหมายสัตวก็ทําใหเรียบรอย ตองการ เจาะเลือดเพื่อตรวจสุขภาพสัตว ใหยาปฏิชีวนะ ยาถายพยาธิแบบฉีด การวัดอุณหภูมิรางกาย วัดขนาด ชั่งน้ําหนักสัตว วัดอัตราการเตนของหัวใจเพื่อเปนการประเมินสภาพสัตว ในชวงที่สัตวอยูใ นสภาพ สลบ ขนาดกลองตองพอเหมาะและสอบถามผูที่มีประสบการณมากอนวาสัตวชนิดนี้สามารถทําได หรือ ไม เมื่อ นํากลองขนยายวัตวขึ้นรถใหใ ชเชือกผูกติดกับตัวรถตอ งทํา ใหแนนหนา ผูขับรถเปน บุค คลที่เรามั่นใจในฝมือ และประสบการณ รูเ สนทางการเดินทางเปนอยา งดี การมีเครื่องมือ ติดตอสื่อสาร เชนวิทยุเพื่อ สอบถามอาการระหวางการเดินทางระหวา งสัตวแพทยหรือหัวหนา ที่ ควบคุมไปกับคนที่ดูแลอยูใกลตัวสัตว มีโทรศัพทมือถือเพื่อติดตอกับปลายทางวาขณะนี้รถที่ขน 3. เมื่อทํางานเหลานี้เสร็จเรียบรอยแลว นําสัตวเขาลัง (ลังกอนที่จะเริ่มงานตองตรวจสอบขนาดให เรียบรอยวาเหมาะสมกับตัวสัตวที่เราจะขนยาย รวมทั้งดูความแข็งแรงของลังขนยายใหเรียบรอย ) การใหยาแกฤทธิ์ยาสลบเพื่อใหสัตวสลบในเวลานอยที่สุดดวยปริมาณที่เหมาะสม เพื่อลด อัตราการเกิดกาซเพิ่มปริมาณขึ้นในกระเพาะอาหาร การลดความรอนที่เกิดกับตัวสัตว เชนการใชน้ํา ราดตัวสัตวในสวนที่ต่ํากวาหัวลงมา สวนพับในของขาหลัง 4. การติดตามดูการฟนของสัตวขนกวาสัตวจะสามารถนั่งได จนกระทั่งสามารถลุกขึ้นยืนได นั้นคือ สภาพที่นาพอใจระดับหนึ่งของสัตวที่ฟนจากฤทธิ์ของยาสลบ 5. ตําแหนงการวางกลองในรถถามีกลองหลายใบตองดูวาเมื่อวางกลองแลวทุกกลองมีโอกาสไดรับลม 6.การนําสัตวใสกลองถาทําไดควรใชสัตวหนึ่งตัว ตอหนึ่งกลอง ถาจะตองใชหลายตัวตอสัตวหนึ่งกลอง สัตวถึงจุดไหนแลวเพื่อเตรียมตัวสําหรับการยกสัตวลงคอก เพื่อใหฝา ยที่อยูปลายทางเตรียม คนชวย เตรียมรถยก เตรียมน้ําและอาหารใหสัตว หรือหากเปนเวลากลางคืนการเตรียมไฟที่สอง สวางเพียงพอ การรับสัตวที่มาจากตางประเทศ จุดที่ไปบอยครั้งเชน คลังสินคาที่สนามบินดอนเมือง เมื่อไดรับการ ติดตอจากผูสง สิ่งที่ตองสอบถามใหชัดเจนคือ การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

135

- คลังสินคาที่เปนจุดรับสัตวคือคลังสินคาใด - เจาหนาที่ที่ไปดําเนินการเรื่องเอกสารคือใคร( ทราบเบอรโทรศัพทไวเพื่อการติดตอสื่อสาร ) - วันและเวลาที่เครื่องลง เพื่อจะไดกําหนดเวลาที่รถจะตองเดินทาง เพื่อการนัดกับรถเครนในกรณีที่ ตองวา จางรถยกจากดา นนอก สอบถามขนาดกลองที่ใสสัตวมา และจํา นวนกลอง เพื่อจัดรถให เหมาะสมกับขนาดกลอง - เตรียมกลองถายรูปไวอาจมีความจําเปนตองใช - การรับสัตวเขาใหมไมวากรณีใดก็ตามตองมีคอกกักเพื่อกักสัตว มีความพรอมเรื่องสภาพสังคม พื้นที่ที่จะปลอยออกแสดง หากความพรอมในสิ่งเหลา นี้ไมมีแลว การรับสัตวเขามาจะเปนการเพิ่ม ปญหาใหกับคอกสัตวชนิดนั้นๆ มากยิ่งขึ้น 7.การปลอยสัตวออกจากกลอง ถากลองมีขนาดใหญและมีน้ําหนักมาก เพื่อความปลอดภัยของตัวสัตว การเตรียมรถยกเพื่อยกกลองลงไวมีความจําเปนอยางยิ่ง หรือการจัดซื้อเครนที่ติดกับรถ 6 ลอ ซึ่งเปน เครื่องมือที่ยังใชงานอื่นไดอีกหลายอยางเชนการตกแตงสถานที่ จัดสวน 8.คอกที่นําลง ตองเตรียมอาหารและน้ําสําหรับสัตวไวใหเรียบรอย (ตองสอบถามขอมูลจากผูสงสัตวถึง ชนิดอาหารที่ตองเตรียมไวและลักษณะของภาชนะควรเปนอยางไรดวย ) มั่นใจในเรื่องของระบบ ประตูวาแข็งแรง แนนหนา สามารถใชงานไดปกติ ตัวกลอนสามารถปดไดอยางปกติ 9.ทีมงานที่เตรียมรับสัตวลงคอกตองมองวิธีการวาเมื่อรถมาถึงรถจะเขาสูตําแหนงใดของคอก รถยกจะ ตองจอดอยูจุดไหน ถาไมใชรถยกแตใชคนยกอุปกรณที่จะใชตองมีอะไร เตรียมไวแลวหรือยัง คนที่จะ มาชวยยกตองมีกี่คน นัดหมายเวลาหรือสามารถติดตอใหเขามาไดทันที 10. ตองเตรียมน้ํา เตรียมอาหารสําหรับผูที่ชวยในการยกลังเปนสินน้ําใจเล็กๆ นอย 11.กักสัตวไวระยะหนึ่งจะนอยหรือมากเพียงใดขึ้นอยูกับชนิดสัตวและสภาพของสังคมของสัตวที่จะ ปลอยสัตวชนิดใหมเขารวม - วิธีการจับสัตวในสัตวชนิดหนึ่งอาจไมสามารถใชกับสัตวชนิดอื่นๆได วิธีการที่เหมาะกับสัตว ชนิดใดตองประกอบดวยเรียนรู ประสบการณและการปฏิบัติบอยๆครั้งอยางตอเนื่อง - วิธีการที่ไมเหมาะสมจะทําใหเกิดอันตรายแกสัตวหรือรวมทั้งเกิดกับผูบังคับสัตวดวย

การจัดการสัตวในสวนสัตว/ วิชิต กองคํา / 1 มิย 51

Related Documents

Zoo
November 2019 43
Zoo
December 2019 44
Zoo
April 2020 32
Zoo
April 2020 34
Maintenance Management1
December 2019 33