Spc Control Chart Rel 3.2a

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Spc Control Chart Rel 3.2a as PDF for free.

More details

  • Words: 7,943
  • Pages: 163
การควบคุมกระบวนการดวยสถิติ Statistics Process Control สวนที่ 1 การวิเคราะหขอมูล Data Analysis

แนะนําวิทยากร

ประสบการณที่ปรึกษาและฝกอบรม (ตัวอยาง) กลุมยานยนตและชิน้ สวน ‹ ชื่อ-นามสกุล นายโสภณ ดวงประเสริฐ ‹ Isuzu Motors , Hino Motors , Summit Auto Seat Group ‹ Delphi Automotive Systems, Yuasa Battery ,Summit Showa ‹ ตําแหนง ที่ปรึกษาและผูเ ชี่ยวชาญอิสระ ‹ Thai Summit Group. ,Sammitr Motors, Yanmar S.P. Co., ‹ การศึกษา วิศวกรรมอุตสาหการ Ltd. , Bangchan General Assembly , Toyoda Kosei สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ‹ Vandapac (Max liner), Mitsuboshi Belting , Topy Fastener „ โทรศัพทติดตอ ‹ Auto Alliance, Aichi International, Miyoshi Precision Tel :0-2921-8818 ‹ Koyo Manufacturing , Toyoda Machine Works Mobile : 08-1347-5600 กลุมไฟฟาและอิเล็กทรอนิคส „ e-mail: [email protected] ‹ JVC Manufacturing , Electrolux , Western Digital „ [email protected] ‹ Thai Stanley Electric, Lite-On Electronics ‹ York Industrial , Star Microelectronics , ประสบการณทํางาน ‹ Kanom and Rayong Electricity Generating ‹ Gemba SPC Management กลุมอื่นๆ ‹ PTT PLC , GE Plastics (Thailand) , Surapon Foods Consultant and Manager ‹ Thai Airway International , APL Logistics ‹ LVM (Asia) Co., Ltd. ‹ Citi bank , Piyavate Hospital , Padang Industry Consultancy Service Manager ‹ Thai Caprolactum , Thai Polyacetal , UBE Nylon ‹ Andersen Consulting Co., Ltd. (Accenture) ‹ Thai Shell Exploration and Production , Index Furniture Quality Controller ‹ Bangkok Furnitech (Index furniture) , Bangsue Chiameng ‹ AT&T Microelectronics (Thai) Co., Ltd. (Agere ‹ South East Asian Packaging and Canning , STB Textile system) QRA and SPC Engineer ‹ Berli Jucker , Rubia Industry 08-1347-5600 , PQ Chemical เทคนิคการเพิ่มผลผลิตการผลิตและบริการ-DIP [email protected] TelCellox : 0-2921-8818 2

ตัวอยางหัวขอที่อบรม (Tools and Techniques) Management Group ISO 9001 , ISO 14001 9ISO/TS 16949 9Total Quality Management (TQM) 9Strategic Management 9Policy Management 9Business Plan 9Balanced scorecard 9Key Performance Indicator 9Benchmarking 9Six sigma 9Effective Decision Making 9Time management 9Daily management 9Eco-Design , RoHs 9Clean technology 9Life cycle analysis 9

Productivity Group Lean Manufacturing 9Toyota Production System 9Just In Time 9Kaizen 9Productivity Improvement 9Industrial Engineering Techniques 95S , VFP 9Poka-Yoke 9VA-VE 9Total Productive Maintenance (TPM) 9P-M Analysis 9Visual Control 9OEE 9Line Balancing 9Time Management 9Team Work and Building 9Managing Waste (Muda Mura Muri) 9

Quality Group Quality control / Assurance 9APQP and PPAP 9FMEA and Control Plan 9Statistical Process Control 9Measurement System Analysis 9QCC and 7 QC Tools 9New QC 7 Tools 9Problem Solving Methods and 8D 9Root cause analysis and corrective action 9Quality Awareness 9Continuous Improvement 9Why-Why Analysis (5 why) 9QFD/QFDE 9

เทคนิคการเพิ่มผลผลิตการผลิตและบริการ-DIP [email protected] Tel : 0-2921-8818

08-1347-5600

3

ขอมูล (Data) คือ อะไร……...

การวางแผน คําถามที่สําคัญที่ตองการตอบ การดําเนินการ SPC Control Chart_Rel_3.2a

“ ขอมูลนั้นมิไดใหสารสนเทศ (Information) ที่ตองการ สิ่งที่คุณ ตองทําคือการคั้นขอมูลเพื่อใหมัน แสดงสารสนเทศ ออกมา และ ขณะเดียวกัน เครื่องมือในการคั้น ขอมูล ดังกลาวก็คือ สถิติ ….” ดร. ไมเคิล แฮรี่ © 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

6

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

7

คุณภาพขอมูล

วัตถุประสงค เพื่อใหเห็นความจําเปนในการประเมิน ความไมแนนอนเพื่อคั้นเอาสารสนเทศมาใชตัดสินใจอยาง ถูกตอง พิจารณา ขอมูล = สารสนเทศเพื่อใชในการตัดสินใจ + สิ่งปนเปอน SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

8

สารสนเทศที่ปรากฏในขอมูลใด ๆ

ความแตกตางขอมูล คาไมแตกตางกัน สาเหตุธรรมชาติ (Common Cause) SPC Control Chart_Rel_3.2a

คาแตกตางกัน สาเหตุผิดธรรมชาติ (Special Cause) © 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

9

The Presence of Variation

8’

Measuring Device 4’

4’

4’

4’

4’

4’

4’

4’

4.01’

Tape Measure

4.01’

4.01’

4.00’

Engineer Scale

4.009’

3.987’

4.012’

4.004’

Caliper

4.00913’

3.98672’

4.01204’

4.00395’

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

Elec. Microscope

11

สาเหตุธรรมชาติ (Common Cause) แหลงความผันแปรที่มีอยูตลอดเวลาภายในกระบวนการหรือ ระบบ สามารถกําจัดไดโดยการปรับเปลี่ยนระบบเทานัน้ เชน • ความผันแปรของพนักงานในการตั้งคาควบคุมของ เครื่องจักร • ความผันแปรของเครื่องจักร • ความผันแปรของวัตถุดบิ • ขีดความสามารถของกระบวนการ SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

12

สาเหตุธรรมชาติ (Common Cause) ถามีความผันแปรเฉพาะสาเหตุธรรมชาติ ผลลัพธของกระบวนการ จะแสดง การแจกแจงที่ เสถียร (Stable) ตลอดเวลาและ สามารถคาดหมายได (Predictable)

Target

Time Size SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

13

สาเหตุผดิ ธรรมชาติ/พิเศษ (Special Cause) แหลงความผันแปรที่เปนไปไดที่จะตรวจจับโดยวิธีการทางสถิติ ซึ่งตองถูกระบุ และกําจัดเพือ่ รักษาไวของการควบคุมเชิงสถิติ เชน • การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอม • พนักงานที่ไมมีทักษะเพียงพอ • วัตถุดบิ ที่ไมมีคณ ุ ภาพ • เครื่องจักรเสื่อมสภาพ • การปรับตั้งผิด • ความผิดพลาดพลัง้ เผลอของผูปฎิบัติ SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

14

สาเหตุผิดธรรมชาติ/พิเศษ (Special Cause) ถาความผันแปรของกระบวนการแสดงสาเหตุผิดธรรมชาติ/พิเศษ ผลลัพธของกระบวนการจะไมเสถียรตลอดชวงเวลา (Not Stable) ??

Target

Time Size SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

15

ทําไมเราตองสนใจความผันแปร (Variation) เพราะความผันแปรนําไปสู ความไมแนนอน (Consistency) ความไมแนนอน นําไปสู การที่คาดหมายไมได (Prediction) การที่คาดหมายไมไดทําใหไมสามารถวางแผนไดอยางถูกตอง (Ineffective planning) การไมสามารถวางแผนไดอยางถูกตองนําไปสู ตนทุน (Cost) ตนทุนนี้คือ ตนทุนของการไมไดคุณภาพ (Cost of poor quality) SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

16

พื้นฐานทาง สถิติ และการนําไปใชเพื่อปรับปรุง

X-Bar Chart for Process A

X-Bar Chart for Process B UCL=77.20

80 UCL=77.27

75

X=70.91 70

65

Sample Mean

z

ความผันแปร – กระบวนการไดผลตามเปาหมาย โดยมีคาผันแปรต่ําหรือไม ? – เราจะใช คากลางของผล (Y) มาพิจารณาความหางของ คาเปาหมายที่ตองการเพียงใด และจะใชคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อแสดงความไมสม่ําเสมอของผล ที่ได ความเสถียร – ถูกใชเพื่ออธิบายวา กระบวนการใหผลการดําเนินการเปนอยางไรเมื่อเวลาผานไป – ความเสถียร มีความหมายวา คากลางคงที่ และสามารถคาดการณความผันแปรของผล จากกระบวนการที่พิจารณา ไดตลอดเวลา แมวาจะเปลี่ยนเวลาไป

Sample Mean

z

X=70.98

70

LCL=64.70 60

LCL=64.62 50 0

5

10

15

20

25

Sample Number

SPC Control Chart_Rel_3.2a

0

5

10

15

20

25

Sample Number

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

17

แบบฝกหัดอุนเครื่อง “ผมควรใชเครื่องอะไร มาทํางานให” z

z

สมมุติวา ในการผลิตผลิตภัณฑหนึ่ง สามารถใชเครื่องจักร ได 3 ตัว เพื่อผลิต ผลิตภัณฑดังกลาวใหชื่อแทนเครื่องจักร A,B,C จากการผลิตพบวาเครื่องจักร ทั้ง 3 สามารถแสดงคานิสัยอยูในการควบคุม หากมีการกําหนด คาเปาหมายของ ผลิตภัณฑที่ตองการ คือ 100 มม. ลอง พิจารณาผลจากการผลิตโดยใชเครื่องจักรอัตโนมัติทั้ง 3 แลวตอบคําถาม ตอไปนี้ 1. เครื่องจักรใดบางที่แสดงความผันแปร? 2. เครื่องจักรใดบางที่เครื่องใหผลตรงกลาง? 3. เครื่องจักรใด ที่สามารถคาดการณผลไดตลอดเวลา ? 4. เครื่องจักรใดมีลักษณะความผันแปรแบบพิเศษ (Special Cause) 5. เครื่องจักรใดที่เราปรารถนาจะใชมันผลิตงาน? 6. เครื่องจักรใด ที่มโี อกาส ที่จะแกไขไดงาย? SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

18

แบบฝกหัดอุนเครื่อง “ผมควรใชเครื่องอะไร มาทํางานให”

Sample Mean

X-bar Chart for M achine A 145 135 125 115 105 95 85 75 65 55

138.4

X= 100.7

62.93 0

10

20

S am ple Num ber

X-bar Chart for M achine C

X-bar Chart for M achine B 1

108.5 X= 101.0

100

93.42

Sample Mean

Sample Mean

110

120

119.7

115

X=115.0

110

110.4

90 1

0

10

20

S am ple Num ber

SPC Control Chart_Rel_3.2a

0

10 Sam ple Num ber

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

20

19

การควบคุมกระบวนการดวยสถิติ Statistics Process Control สวนที่ 2 แผนภูมิควบคุม Control Chart

วัตถุประสงคการสัมมนาการควบคุมกระบวนการดวยสถิติ z อธิบายประเภทของแผนภูมิทั้ง 2 แบบ. z อธิบายและใชงานแผนภูมิควบคุมชิ้นงานผันแปรและคุณภาพ. z เลือกใชแผนภูมิควบคุมใหเหมาะสมประเภทขอมูลกระบวนการ. z หาเสนควบคุมและอธิบายจุดแตกตางของเสนกับเสนขอบเขตสเปก. z อธิบายและตัดสินใจความผิดพลาดในระบบ

SPC. z อธิบายกฎของการตัดสินใจวากระบวนการออกนอกการควบคุมเปน อยางไร.

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

25

แนวคิดเกี่ยวกับ SPC การเปลี่ยนแปลงจากขอมูลไปสูสารสนเทศเพื่อ การวิเคราะห- สถิติ (Statistics) (S) เพื่อดูพฤติกรรมของกระบวนการ (Process) (P) เพื่อการบันทึก (Control) (C) SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

26

Process control system model with feed back Voice of the Process Statistical Methods People Equipment Material Methods Measurement Environment

The way We Work/Blending of Resources

Products or Services

Customers

Identifying Changing needs And Expectation Inputs

Process/System

Outputs

Voice of the Customers SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

27

ความสัมพันธของกระบวนการผลิตและการควบคุมคุณภาพ สิ่งนําเขาที่สามารถควบคุมได เชน อุณหภูมิ ความดัน อัตราปอน X1

X2

Xp

การควบคุมการ ประเมินการวัด

---------สิ่งที่นําเขา

กระบวนการ

ชิ้นสวน, วัตถุดิบ ชิ้นสวนประกอบยอย

ผลิตภัณฑ

y= คุณลักษณะทางคุณภาพ ---------Z1

Z2

Zp

สิ่งนําเขาที่ไมสามารถควบคุมได เชน ปจจัยสิ่งแวดลอม, คุณภาพของวัตถุดิบ SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

28

ความผันแปรของสิ่งนําเขา INPUT VARIABLES การออกแบบ

กระบวนการผลิต

สภาพแวดลอม

วิธกี าร

วัสดุ

สภาพแวดลอม กระบวนการผลิต

พารามิเตอร การออกแบบ

คน

เทคนิควิธีการ และกรรมวิธี

คุณสมบัติและ การเลือกใชวัสดุ

การใชงาน

การวัด

เครือ่ งจักร

สภาพแวดลอมใช งาน และความผัน แปรของผูใชงาน

พารามิเตอร ของเครื่องมือ

การฝกอบรม และทักษะของ พนักงาน

SPC Control Chart_Rel_3.2a

ความเอนเอียงและ ขอบกพรองการวัด

พารามิเตอรของ กระบวนการ

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

29

การควบคุมกระบวนการเชิงสถิติและการปรับปรุงอยางตอเนื่อง ระบบการควบคุมกระบวนการ (Process Control System) กระบวนการ (Process) จะหมายถึงผูสงมอบ ผูผลิต บุคลากร อุปกรณ วัสดุ วิธีการ สภาพแวดลอม ที่จะทํางานรวมกันเพื่อผลิตผลิตภัณฑ และลูกคาผูซึ่งจะใชผลิตภัณฑสมรรถนะ ของกระบวนการจะขึ้นอยูกับการติดตอสื่อสารระหวางผูสงมอบและลูกคา ขอมูลของสมรรถนะ(Information about performance) เราศึกษาสมรรถนะสวน มากจากผลที่ไดแตยังมีขอมูลสวนหนึ่งมาจากกระบวนการและความผันแปรในกระบวนการ คุณลักษณะของกระบวนการเชน อุณหภูมิ รอบเวลา อัตราปอน เปนตน โดยตองกําหนดคา เปาหมายแลวเฝาติดตามดูวาอยูในสภาพปรกติหรือผิดปรกติเพื่อการควบคุมที่ถูกตอง การกระทํากับกระบวนการ (Action on the Process) การกระทํากับกระบวนการจะมี ประโยชนมาก และสามารถกระทําไดโดยการปองกันคุณลักษณะที่สําคัญจากความผันแปรที่ หางจากคาเปาหมาย การรักษาความเสถียรภาพ (Stability) และความผันแปร (Variation) ของ ผลที่ไดของกระบวนการใหอยูภายในขีดจํากัดที่ยอมรับได (Acceptable Limits) การกระทํากับผลที่ได (Action on the Output) เปนการกระทําที่มีประโยชนนอย เพราะการตรวจจับและแกไขผลผลิตใหมที่ถูกตองไมไดเปนการแกปญหาในกระบวนการ SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

30

ความผันแปร : สาเหตุธรรมดาและสาเหตุพิเศษ ความแตกตางของขอมูล จะมีรูปแบบการแจกแจงซึ่งมีความแตกตางกันดังนี้ ‰ ตําแหนง (Location) ‰ การกระจาย (Spread) ‰ รูปราง (Shape) สาเหตุธรรมดา (Common Cause-Chance Cause) จะหมายถึงความผันแปรที่ เกิดขึ้นในกระบวนการมีความเสถียรภาพและเกิดขึ้นซ้ําไดกระจายในแตละชวงเวลา ซึ่งจะเรียกสภาพนี้วา“In Control” สาเหตุพิเศษ (Special Cause-Assignable Cause) ปจจัยที่เปนความผันแปรที่ไม เกิดขึ้นเสมอในกระบวนการผลิต ซึ่งถาเกิดขึ้นตอไป จะใหผลทีไ่ ดไมสามารถ พยากรณได ทําใหกระบวนการไมเสถียรภาพ SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

31

การแจกแจง(Distribution)

ขอมูลตัวอยาง

การวัดซ้ํา SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

32

การกระทําเฉพาะแหงและการกระทํากับระบบ การกระทําเฉพาะแหง - เปนการกระทําที่ใชขจัดสาเหตุพิเศษของความผันแปร - สามารถกระทําไดโดยพนักงานผูใกลชิดกับกระบวนการ - สามารถแกไขปญหาของกระบวนการได 15% การกระทํากับระบบ - ใชลดความผันแปรที่เกิดจากสาเหตุธรรมดา - ตองการกระทําในงานบริหารสําหรับการแกไข - สามารถแกไขปญหาของกระบวนการ 85% SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

33

Two Types of Control Chart z

ใชกับคาวัด รอบเวลา, ความยาว, ขนาดศูนยกลาง, ขนาดหยด ฯลฯ ปกติมี 1 คุณลักษณะตอ 1 แผนภูมิ ใชเงินมากในการรวบรวมสารสนเทศแตให สารสนเทศสูงสุด

แผนภูมิควบคุมเชิงผันแปร z z

แผนภูมิควบคุมเชิงคุณภาพ

z z z

SPC Control Chart_Rel_3.2a

สารสนเทศแบบผานไมผาน, ดี / เสีย, ใชได / ใชไมได สามารถมีมากกวา 1 คุณลักษณะตอ แผนภูมค ิ วบคุม ใชเงินไมมากในการรวบรวมสารสนเทศ แตสารสนเทศที่ไดมีขด ี จํากัด

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

36

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

37

X-bar R Chart

แนวทางการเลือกแผนภูมิควบคุม ขอมูลวัด / ขอมูลนับ

ขอมูลวัด

ขอมูลนับ

มีปริมาณมาก / นอย

มีนอย

Individuals & Moving Range

ขอมูลนับ ไม

ใช

ขอบกพรอง หรือ % ของเสีย

ขอบกพรอง หรือจํานวน ของเสีย

มีมาก

X-Bar & Range

u SPC Control Chart_Rel_3.2a

p

c

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

np 39

แผนภูมิควบคุม X - R Chart ขั้นตอนการเขียนแผนภูมิ ขั้นที่ 1 กําหนดคุณลักษณะที่ตองการศึกษาที่สะทอนความสามารถของกระบวนการ ตรงกับที่ลูกคาตองการ ซึ่งอาจไดมาจากแผนการควบคุม หรือจุดที่พิจารณาแลววาวิกฤติ ขั้นที่ 2 กําหนดรูปแบบการเก็บขอมูลเพื่อศึกษา ความเสถียร โดยแบงขอมูลออกเปน กลุมยอยอยางนอยกลุมละ 4 โดยใหไดอยางนอย 20 กลุม +0.025 ขั้นที่ 3 แสดงดังตารางตรวจสอบ O 37 -0.050 HUB REAR KFLF

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

40

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

41

วันที่ตรวจ สอบ 2-May-01 3-May-01 4-May-01 5-May-01 6-May-01 8-May-01 9-May-01 10-May-01 11-May-01 12-May-01 14-May-01 15-May-01 16-May-01 17-May-01 18-May-01 19-May-01 20-May-01 TOTAL Average

9.00 X1 36.96 36.958 36.959 36.958 36.958 36.962 36.961 36.964 36.959 36.961 36.958 36.963 36.96 36.959 36.959 36.961 36.962

11.00 X2 36.964 36.961 36.969 36.962 36.961 36.3958 36.96 36.961 36.961 36.96 36.96 36.963 36.96 36.961 36.961 36.959 36.959

14.00 X3 36.959 36.96 36.96 36.955 36.961 36.96 36.958 36.96 36.96 36.959 36.96 36.958 36.962 36.96 36.963 36.958 36.96

16.00 X4 36.94 36.961 36.965 36.965 36.96 36.988 36.96 36.961 36.959 36.958 36.962 36.956 36.959 36.959 36.958 36.96 36.961

19.00 X5 36.961 36.959 36.962 36.963 36.962 36.962 36.958 36.96 36.958 36.962 36.959 36.96 36.958 36.96 36.961 36.959 36.961

X

R

36.96 36.96 36.96 36.96 36.96 36.96 36.959 36.96 36.959 36.96 36.959 36.959 36.959 36.959 36.96 36.959 36.96

0.024 0.003 0.005 0.01 0.004 0.004 0.003 0.004 0.003 0.004 0.004 0.007 0.004 0.002 0.005 0.003 0.003

Σ X=628.313 Σ R=0.092 Σ X=36.959 =

CL X = 36.959 A2R = 0.577 x 0.005 = 0.003 = UCL X + A2R = 36.959 + 0.003 = 36.962 = LCL X - A2R = 36.959 - 0.003 = 36.956 R = CHART CL R = 0.005 SPC Control Chart_Rel_3.2a © 2003-2007 บริษัทxเกมบะ เอสพีซี แมนเนจเม นท จํากัด UCL D4 R = 2.115 0.005 = 0.011

X = CHART

Σ R=0.005

42

ขั้นที่ 4 คํานวณคาพิสัย (R) ในแตละกลุม จากสูตร R = Xmax - Xmin แทนคา R = 36.964 - 36.94 = 0.024

หากดําเนินการพล็อตกราฟแลวพบวาคา พิสัยที่ปรากฏในแตละกลุม มีคาติดคา ศุนย มาก เกินไปนั่นแสดงวาผลที่วัดไดที่ใชอธิบายกระวนการกําลังประสบปญหาเรื่องความละเอียดของ ระบบการวัด ซึ่งทําใหไมสามารถประเมินคาความผันแปรได ปกติการพิจารณาวามีคาติด ศูนย มากกวา 1 ใน 4 ของจํานวนคาพิสัยทั้งหมด SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

43

ขั้นที่ 5 เขียนแผนภูมิ R Chart

0.015 0.012 R 0.009 0.006 0.003 0

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

44

ขั้นที่ 6 หาคาเฉลี _ ่ยของคาพิสัย (R) โดยรวมคา R ในกลุมยอย แลวหารดวยจํานวนกลุม (k) สูตร R _= R1+ R2+ R3+ ……….. + Rk แทนคา R = 0.024+0.003+0.005+………..+0.003 = 0.005 17 ขั้นที่ 7 คํานวณหาเสนควบคุม เพื่อ R chart

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

45

R chart CL = R = 0.005 UCL = D4 R = 2.115(0.005) = 0.011 LCL = D3R (ไมคิด LCL เมื่อN < 6) ตารางที่ 2 คาสัมประสิทธิ์สําหรับ x - R Chart ขนาดของ X Chart กรุปยอย(n) A2

2 3 4 5 6

1.880 1.023 0.729 0.577 0.483

SPC Control Chart_Rel_3.2a

R Chart D3 D4 -

3.267 2.575 2.283 2.115 2.004

d2 1.128 1.693 2.059 2.326 2.534

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

46

ขั้นที่ 8 เขียนเสนควบคุมลงแผนภูมิ R Chart

0.015 0.012 R 0.009 0.006 0.003 0

UCL = 0.011 CL = 0.005 LCL=0

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

47

ขั้นที่ 9 ประเมิน คุณภาพของเสนควบคุมR Chart ตีความขอมูลเทียบกับเสนควบคุม R Chart 1. หากคา พิสัย มีคาออกนอกเสนควบคุมนอยกวาหรือเทากับ 2 จุดใหตัดชุดขอมูลออก จากการวิเคราะหได แลวไปคํานวณเสนควบคุม R barใหม 2. หากคา พิสัย แสดงแนวโนม 6 จุดขึ้นหรือลงใหไปดูการเกิดภาวะคอยเสื่อมหรือคอย ๆ เปลี่ยนของปจจัยในกระบวนการ เชน สภาพเครื่อง, การจับยึดงาน เปนตน เมื่อแกไข กระบวนการแลว เริ่มเก็บขอมูลใหมทั้งหมด 3. แตหากคาพิสัย มีลักษณะที่ ขึ้นและลงสลับฟนปลา ใหหทางแยกกลุมสาเหตุออก เมื่อ แกไขกระบวนการแลว เริ่มเก็บขอมูลใหมทั้งหมด 4. และ ถาพิสัยเกาะกลุมดานดานหนึ่ง 6 จุดติดตอให ดูวาเกิดอะไรเปลี่ยนเงื่อนไขในการ ผลิตตางกันบาง เชน การเปลี่ยนงาน หรือ ตั้งเครื่องใหม เปนตน เมื่อแกไข กระบวนการแลว เริ่มเก็บขอมูลใหมทั้งหมด 5.

แตหากคา พิสัย มีคาออกนอกเสนควบคุมมากกวา 2 จุดใหหาสาเหตุ เมื่อ แกไขกระบวนการแลว เริ่มเก็บขอมูลใหมทั้งหมด SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

48

ขั้นที่ 10 คํานวณคาเฉลี่ย (x) ไดคา x ในแตละกลุมยอย จากสูตร x = x1 + x2 + x3 +………..+ xn n

แทนคา

x = 36.96+36.964+36.959+36.94+36.961 = 36.96 5

ขั้นที่ 11 พล็อตขอมูลลงแผนภูมิควบคุม

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

49

X

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

50

_ _ ขั้นที่ 12 คํานวณหาคาเฉลี่ยขอมูลทั้งหมด (X) โดยรวมคาเฉลี่ย (X) ในกลุมแลวหารดวยจํานวน ของกลุม ยอ__ย (k)_ _ _ _ จากสูตร X = X1 + X2 +X3 +………..+Xk _ k แทนคา X = 36.96+36.96+36.96+……….+36.96 = 36.959 17

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

51

ขั้นที่ 13 หาเสนคาเฉลี่ย (x) X_ chart _ CL = X _ UCL = _X+A2R _ LCL = X - A2R

R chart CL = R UCL = D4 R LCL = D3 R

X chart CL = X = 36.959 UCL = X + A2R = 36.959 + 0.577(0.005) = 36.957 + 0.003 = 36.92 LCL = X - A2R = 36.959 - 0.577(0.005) = 36.959 - 0.003 = 36.956 SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

52

ขั้นที่ 14 เขียนเสนควบคุมลงแผนภูมิ

UCL = 36.962 X

CL = 36.959 UCL = 36.956

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

53

ขั้นที่ 15 ประเมิน คุณภาพของเสนควบคุม x bar Chart ตีความขอมูลเทียบกับเสนควบคุม x bar Chart 1. หากคา เฉลี่ย มีคา ออกนอกเสนควบคุมนอยกวาหรือเทากับ 2 จุดใหตัดคาเฉลี่ยที่ออก นอกนั้นออกจากการวิเคราะหได แลวไปคํานวณเสนควบคุม x barใหม 2. หากคา เฉลี่ยแสดงแนวโนม 6 จุดขึ้นหรือลงใหไปดูการเกิดภาวะคอยเสื่อมหรือคอย ๆ เปลี่ยนของปจจัยในกระบวนการ เชน สภาพเครื่อง, การจับยึดงาน เปนตน เมื่อแกไข กระบวนการแลว เริ่มเก็บขอมูลใหมทั้งหมด 3. แตหากคาเฉลี่ย มีลักษณะที่ ขึ้นและลงสลับฟนปลา ใหหทางแยกกลุมสาเหตุออก เมื่อ แกไขกระบวนการแลว เริ่มเก็บขอมูลใหมทั้งหมด 4. และ ถาคาเฉลี่ยเกาะกลุมดานดานหนึ่ง 6 จุดติดตอให ดูวาเกิดอะไรเปลี่ยนเงื่อนไขใน การผลิตตางกันบาง เชน การเปลี่ยนงาน หรือ ตั้งเครื่องใหม เปนตน เมื่อแกไข กระบวนการแลว เริ่มเก็บขอมูลใหมทั้งหมด 5. แตหากคา เฉลี่ย มีคาออกนอกเสนควบคุมมากกวา 2 จุดแสดงวากระบวนการยังไมมี การบังคับและจัดทํามาตรฐาน ใหหาสาเหตุ เมื่อแกไขกระบวนการแลว เริ่มเก็บขอมูล ใหมทั้งหมด SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

54

ขั้นที่ 16 กําหนดเสนควบคุมเพื่อการควบคุมกระบวนการ 1. นําเสนควบคุมที่ไดจากการปรับปรุงแลวตีบนแผนภูมิควบคุมเปลา ๆ เพื่อใชกําหนด ขอบเขต รักษาการควบคุมใหกระบวนการคงมาตรฐานเหมือนเดิม UCL = 36.962 X

CL = 36.959 UCL = 36.956 UCL = 0.011

R

CL = 0.005 LCL=0

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

55

ขั้นที่ 17 ใชเสนควบคุม 1. เมื่อมีการดําเนินการในกระบวนการ และวัดผลก็นํามาพล็อต ทีละกลุม ตามชวงที่ กําหนด พรอมตีความเสนควบคุมทันที และปฏิบัติการแกไขใหเหมาะสม UCL = 36.962 X

CL = 36.959 UCL = 36.956 UCL = 0.011

R

CL = 0.005 LCL=0

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

56

การตีความหมายของ Control Chart 1. การเกิดจุดอยูนอกเสนควบคุม (Out of Control Line Limits) UCL CL LCL

พบไดชัดเจน คือมีจุดในแผนภูมิปรากฏอยูนอกเสนขอบเขตควบคุม เรียกวา จุด อยูนอกควบคุม ซึ่งอาจจะเปนการอยูนอกเสนทั้งดานบนหรือดานลาง แสดงวา ณ จุดนั้น เกิดความผันแปรที่ผันแปรที่ผิดปกติเกิดขึ้นในกระบวนการผลิตแลว SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

57

2. การเกิดจุดเรียงตัว (Run) UCL CL LCL เมื่อมีจุดปรากฏติดตอกัน เราเรียกวา เกิดการเรียงตัว (Run) ความยาวของการ Run โดยพิจารณาจาก สัญญลักษณดังตอไปนี้ • 7 จุดอยูดานใดดานหนึ่งอยางเดียวของ Xdouble-bar หรือ Rbar • 7 จุดปรับตัวเพิ่มขึ้นหรือลงอยางตอเนื่อง ตอเนื่องเราตีความวา “ไดเกิดความผิดปกติขึ้นแลวในชวงการผลิตที่เกิดการ Run นั้น” SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

58

3. การเกิดจุดมีแนวโนม (Trend) UCL CL LCL การที่มีจุดตอเนื่องไปในทิศทางเดียวกันโดยไมมีการสลับขึ้น-ลงเลย เราเรียกวา มีการเกิดแนวโนมขึน้ ในแผนควบคุม แนวโนมนี้กําลังจะบอกเราวา คาเฉลี่ยของการควบ คุมที่ผลิตไดจากกระบวนการผลิตนั้นกําลังมีปญหา หรือมีแนวโนมที่จะเคลื่อนที่ไปจากที่ ไดกําหนดไวแตแรก SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

59

4. การเกิดจุดเขาใกลเสนควบคุม UCL CL LCL หากเราแบงระยะจากเสนกลาง ไปยังเสนควบคุมในดานใดดานหนึ่งเปน 3 สวน แลวมีจดุ 2 ใน 3 จุด มีการตอเนื่องอยูในชวงดังกลาว เราเรียกวา เกิดการเขาใกลขอบเขต ควบคุม ซึ่งก็หมายความวา ไดเกิดการผิดปกติในกระบวนการผลิต ในชวงเวลาดังกลาวขึน้ มาแลว

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

60

5. การเกิดจุดกระจายเปนชวง (Periodicity) UCL CL LCL มีลักษณะคือ คาในเสนกราฟจะเปลี่ยนแปลงขึน้ ๆ ลง ๆ หรือมีลักษณะเปนวงจร วงรอบหรือวัฎจักร ที่เกือบจะทํานายลักษณะเสนกราฟในชวงตอไปได เรียกวาเกิดการกระ จายเปนชวง หรือวัฎจักร ซึ่งก็ถือวาเปนความผิดปกติที่เกิดขึ้นในกระบวนการเชนกัน

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

61

6. การเกิดจุดเขาใกลเสนคากลาง UCL CL LCL หากพบวาเสนกราฟเกือบทั้งหมดเขาใกลเสนคากลาง ก็ไมไดหมายความวา กระบวนการผลิตนั้นอยูในการควบคุม แตกลับแสดงวา คงมีความผิดพลาดเกิดขึ้นใน การกําหนดขนาดของกลุมยอย ขอมูลอาจจะมีการปะปนกันของขอมูลคนละชุดคนละ กลุม คงจะตองมีการตรวจสอบขอมูลใหม

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

62

การออกแบบจัดกลุม ยอย Rational Subgroup

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

64

ผลตอบสนอง กระบวนการ

หลักการกําหนดกลุมยอย

เวลา

การกํ การกําาหนดกลุ หนดกลุมมยยออยย:: การเลื การเลืออกกลุ กกลุมมยยออยอย ยอยาางมี งมีเหตุ เหตุผผลก็ ลก็เพืเพื่อ่อ:: 1.1. โอกาสสู โอกาสสูงงสุสุดดทีที่เป่เปนนไปได ไปไดขของการวั องการวัดดในแต ในแตลละกลุ ะกลุมมทีทีจ่ จ่ ะคล ะคลาายกั ยกันนกลุ กลุมมยยออยควรมี ยควรมีสสาเหตุ าเหตุคความ วาม ผัผันนแปรตามปกติ แปรตามปกติเพีเพียยงอย งอยาางเดี งเดียยวว 2.2. โอกาสสู โอกาสสูงงสุสุดดทีที่เป่เปนนไปได ไปไดขของกลุ องกลุมมทีที่จ่จะแตกต ะแตกตาางจากกลุ งจากกลุมมอือื่น่นๆๆความแตกต ความแตกตาางนี งนี้ (ที ้ (ที่ร่ระหว ะหวาางง กลุ กลุมม))เรีเรียยกว กวาาสาเหตุ สาเหตุคความผั วามผันนแปรแบบพิ แปรแบบพิเศษ) เศษ) SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

65

การจัดกลุมยอย Rational Subgroup • แผนภูมคิ าเฉลี่ย X bar , Average ใชแสดงความแตกตาง ระหวางกลุมยอย (ตําแหนง , Location) หรือ ความผันแปรระหวางกลุมยอย (Between subgroup variation) • แผนภูมิพิสยั Range ใชแสดงความสม่ําเสมอภายในกลุมยอย (การแผ , Spread) หรือ ความผันแปรภายในกลุมยอย (Within subgroup variation) SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

67

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

68

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

69

การจัดกลุมยอย Rational Subgroup • กลุมยอยตองสามารถแสดงความผันแปรที่มีอยูในสิ่งที่สนใจได • การสุมขอมูลตองพยายามลดความผันแปรภายในกลุมยอย (Within subgroup variation ) โดยถาเปนไปไดควรเลือกจากชิ้นงาน ที่ตอเนื่องกัน ในเวลาใกลกนั และในกรณีของกลุมยอยที่เปน เนือ้ เดียวกัน Homogeneous subgroup ซึ่งขอมูลไมเปนอิสระ ก็ไมจําเปนตองเก็บขอมูลเปนกลุม • ตองใหแผนภูมิควบคุมสามารถแสดงความผันแปร ระหวางกลุมยอยใหมากที่สุด (Between Subgroup variation) เพื่อใหงายตอการวิเคราะห SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

70

การจัดกลุมยอย Rational Subgroup • ตัวอยาง 1 พิจารณาจาก • ทําการสุมชิ้นงาน 5 ชิ้นจาก โมลด หนึ่งเบา Cavity mold ตอ เนือ่ ง กัน ทุกชั่วโมง • ดังนัน้ ขนาดตัวอยางเปน 5 และความถี่ในการสุมคือทุกชั่วโมง • แหลงของความผันแปรคือ รอบตอรอบ (shot-to-shot) และชั่วโมงตอชัว่ โมง (hour-to-hour) • ดังนัน้ กระบวนการควรมีความผันแปรต่ําระหวางรอบ รวมกับความผันแปรของวัตถุดิบต่าํ ที่กระทบกับการวัด ชั่วโมงตอชั่วโมง SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

71

ตัวอยาง 2 ตารางแสดงขอมูล Day 1 2 3

Shift

n1

n2

Adjustment Tooling Material Lot

A

25

23

Yes

No. 1

B

23

24

Yes

No. 1

A

22

23

Yes

No. 2

B

21

22

Yes

No. 2

A

23

23

Yes

No. 3

B

22

21

Yes

No. 3

25 26 27

Shift = กะ , n = ตัวอยาง , Adjustment = การปรับระยะมีดตัด Tooling = มีดตัด , Material lot = ล็อต วัตถุดบิ SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

72

การจัดกลุมขอมูล n= 2 และ n = 4 Day 1 2 3

Shift

n1

N=2 n2

A

25

23

Yes

No. 1

B

23

24

Yes

No. 1

A

22

23

Yes

No. 2

B

21

22

Yes

No. 2

A

23

23

Yes

No. 3

B

22

21

Yes

No.3

Adjustment Tooling Material Lot 25 26 27

N=4 SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

73

ความแตกตางของผลการจัดกลุมยอยและความผันแปรที่จะตรวจพบ

n=2

ความผันแปร

n=4

- ความคลาดเคลื่อนจากการวัด

- ความคลาดเคลื่อนจากการวัด

- ความคลาดเคลื่อนจากการสุมตัว อยา ง

- ความคลาดเคลื่อนจากการสุมตัว อยา ง

ภายใน Within - ความผัน แปรของกระบวนการผลิตภาย - ความผัน แปรของกระบวนการผลิตภาย ในการปรับระยะเดียวกัน ในการปรับระยะและระหวา งการปรับ ระยะครั้งตา งๆ

ระหวา ง Between

- ระหวา งการปรับระยะ

- ระหวา งวัน

- ระหวา งวัน

- ระหวา งมีดตัดตา งอัน กัน

- ระหวา งมีดตัดตา งอัน กัน

- ระหวา งวัตถุดิบล็อต ตา งๆ

- ระหวา งวัตถุดิบล็อต ตา งๆ SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

74

I & MR Chart

แนวทางการเลือกแผนภูมิควบคุม ขอมูลวัด / ขอมูลนับ

ขอมูลวัด

ขอมูลนับ

มีปริมาณมาก / นอย

มีนอย

Individuals & Moving Range

ขอมูลนับ ไม

ใช

ขอบกพรอง หรือ % ของเสีย

ขอบกพรอง หรือจํานวน ของเสีย

มีมาก

X-Bar & Range

u SPC Control Chart_Rel_3.2a

p

c

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

np 76

Individuals & Moving Range Charts z มักมีประโยชนกับที่มีขอมูลปริมาณนอย และการทํางานชวงสั้นๆ. z มีสวนคลาย X bar - R charts

– ใชคาเดียวไมใชกลุมยอย. – คาพิสัยเกิดจากการลบคากอนหนา. – บางครัง้ เปนตัวกอกวนเพราะการสูญเสียขอมูลที่มมี ารองรับ z

IM charts.

z

Individuals chart: พล็อตคาเดียวแปรตามชวงเวลา.

z ชารตพิสัยเคลื่อนที่ = (Moving range chart) :คือ การพล็อตคาพิสัยที่ยายที่ไป.

– สําหรับ 2 ตัวอยาง |Xi - Xi-1|) ใชตามชวงเวลา. SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

77

สูตรหาเสนคาแผนภูมิควบคุม X chart _ CL = X _ UCL = _X+E2R _ LCL = X - E2R

MR chart CL = R UCL = D4 R LCL = D3 R

1. ประเมินความมีมาตรฐาน กระบวนการโดยสรางเสนควบคุม

ตารางที่ 3 คาสัมประสิทธิ์สําหรับ x - R Chart E2

R Chart D3 D4

2.66 1.77 1.46 1.29 1.18

-

ขนาด (n) X Chart

2 3 4 5 6

3.267 3.575 2.283 2.115 2.004

d2 1.128 1.693 2.059 2.326 2.534

ทดลอง 2. นําเสนควบคุมไปใช 3. ประเมินคาขีดความสามารถ SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

78

การใชงานแผนภูมคิ วบคุมเชิงผันแปร z

z

z

z

แผนภูมิควบคุมเชิงผันแปรถูกนํามาใชในขอมูลตอเนื่องเพื่อบอกวาเมื่อไรสภาวะ กระบวนการจะเปน - อยูในภาวะปกติมีความผันแปรจากสาเหตุตามธรรมชาติและการทํางานที่เรียกวาดีที่สุด - เมื่อกระบวนการเริ่มเบี่ยงเบนและจําเปนตองมีมาตรการแกไขใหถูกตอง แผนภูมิควบคุม - พล็อตเปลี่ยนไปตามแกนเวลา - สะทอนคาพิสัยที่เปนความผันแปรของขอมูลที่คาดหมาย - ระบุเมื่อมีสาเหตุผิดปกติเกิดขึ้นที่สงผลตอขอมูล. X-bar - R charts จะใชศึกษาขอมูลที่ในรูปคากลางและพิสัยของกลุมยอยที่แปรตาม เวลา. I & MR charts จะใชศึกษาคาขอมูลและพิสัยเคลื่อนที่ตามแกนเวลา. SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

79

ประเภทความผิดพลาดของแผนภูมิควบคุม z

z

z

3σ-ระดับของเสนควบคุม

- ออกแบบพัฒนาโดย ดร. ชิวฮารทเพื่อลดโอกาสความผิดพลาด ทั้ง 2 แบบ - วางเปนสูตรตายตัวเพื่อใหลดโอกาสความผิดพลาดทั้ง 2 ประเภท - ไมใชเสนขอบเขตความนาจะเปน 2 ประเภทของความผิดพลาด: – คิดวามีเหตุผิดปกติ (special cause) ในขณะที่เปนสาเหตุความผันแปรตาม ธรรมชาติ (มีโอกาสเขาใจผิดในการชี้บงการเปลี่ยนในกระบวนการ) – บอกวาสาเหตุความผันแปรตามธรรมชาติแตขณะที่ความจริงเกิดสาเหตุความผัน แปรแบบผิดปกติ (อางผิงกับกระบวนการที่เสถียร, ใชทรัพยากรที่สูญเปลาในการ คนหาเหตุผิดปกติที่ไมเคยมีอยูจริง. เสนควบคุมกับเสนสเปก – เสนควบคุมใชระบุขีดความสามารถกระบวนการ. – เสนสเปกใชกําหนดสิ่งที่ลูกคายอมให (ตองการ) SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

80

แผนภูมิควบคุมที่ถกู ตองควรมี... ... z z z z

z

ขอมูลตามเวลาหรือตามลําดับการผลิต - เพื่อแสดงความเสถียร, ความผันแปร / เมือ่ เวลาเปลี่ยนไป ใชวัดแนวโนมสูศนู ยกลาง - เปนภาพแสดงพฤติกรรมสูศ นู ยกลางของกระบวนการ ใชวัดความผันแปร แผนภูมิควบคุม - เพื่อใหสามารถแยกแยะสาเหตุผิดปกติออกจากสาเหตุปกติ X-bar-R charts.

– X และ R = ใชพล็อตคากลางที่เปลี่ยนตามเวลา – ใชพล็อตคาพิสัย (ความแตกตางระหวางคาสูงสุดและคาต่ําสุด) ของตัวอยางที่เปลี่ยนตามเวลา SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

81

การใชงานแผนภูมคิ วบคุมเชิงผันแปร z z

z z

เสนควบคุมโดยปกติถูกคํานวณภายใตการคิดคากลางออกไป 3 เทาของคาเบี่ยงเบน มาตรฐานของกระบวนการ เสนควบคุมและเสนสเปกตางกันและหามใชปะปนกัน - เสนควบคุมไดมาจากขอมูลทีร่ วบรวมจากตัวอยาง ซึ่งมาจากกระบวนการ - สเปกถูกกําหนดโดยมาตรฐานสมรรถนะและมาจากนอกกระบวนการ (เชนลูกคา) ความรูเมื่อกระบวนการออกนอกการควบคุม ยึดกฎการวิเคราะห 8 ขอ แผนภูมิควบคุมจะสามารถใชไดดีเมื่อพยายาม ปฏิบัติเพื่อรักษาการควบคุม กระบวนการใหอยูภายใตการควบคุม

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

82

การประเมินความสามารถ กระบวนการ

สเปกคืออะไร กําหนดสเปก

ออกนอก สเปก

เขตการยอมรับ

ขอกําหนด เฉพาะดานต่ํา

ออกนอก สเปก ขอกําหนด เฉพาะดานสูง

จะไดขอกําหนดเฉพาะมาจากที่ใดกันไดบาง? 1. 2. SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

84

สเปกกับการควบคุม ออกนอก สเปก

เขตการยอมรับ

ขอกําหนด เฉพาะดานต่ํา

ออกนอก สเปก

ขอกําหนด เฉพาะดานสูง

1. เปนไปไดหรือไม ที่แมกระบวนการอยูในสเปกแลวแต ลูกคาก็ไมพอใจ ? 2. เปนไปได หรือไมที่ แมการผลิตจะบอกวาอยูในสเปกแต ลูกคา ก็ยัง เคลม ? SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

85

สเปกกับการควบคุม ออกนอก สเปก

เขตการยอมรับ

ขอกําหนด เฉพาะดานต่ํา

ออกนอก สเปก

ขอกําหนด เฉพาะดานสูง

SPC Control Chart_Rel_3.2a

คุณจะเลือกการ ควบคุมแบบใด

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

86

…SHIFT HAPPENS Thursday Wednesday

Tuesday Monday

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษทั เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

89

Monday

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษทั เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

90

Monday Monday Monday Monday Monday Monday Monday Monday Monday Monday

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษทั เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

91 91

Tuesday

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษทั เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

92

Tuesday Tuesday Tuesday Tuesday Tuesday Tuesday Tuesday Tuesday Tuesday

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษทั เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

93

Wednesday

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษทั เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

94

Wednesday Wednesday Wednesday Wednesday Wednesday Wednesday Wednesday

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษทั เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

95

Thursday

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษทั เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

96

Thursday Thursday Thursday Thursday Thursday

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษทั เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

97

Lo ng

Te rm

D is tr ib ut io n

This distribution is made up of many smaller time periods

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษทั เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

98

Thursday Wednesday

Tuesday Monday

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษทั เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

99

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษทั เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

100

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษทั เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

101

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษทั เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

102

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษทั เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

103

Sh or t

Te rm

D is tr i bu tio n

This distribution is an average of the small ones and centered on target

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษทั เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

104

ความสําคัญของความเสถียรในกระบวนการ ¾การศึกษาความสามารถเกี่ยวของกับการพยากรณสถานะอนาคตของผลจาก กระบวนการที่สนใจ ¾กระบวนการใดที่ไมเสถียรยอมไมสามารถกําหนดไดถูก และมีรูปแบบที่ไมสามารถ คาดการณได (ไรสาระสนเทศ)

“เมื่อใดก็ตามที่กระบวนการตกอยูภายใตสถานะของการควบคุมทางสถิติ, มันยอมที่จะ กําหนดความสามารถได, แสดงออกในระดับคุณภาพเชิงเศรษฐศาสตรที่เหมาะสมของ กระบวนการ ไมมีกระบวนการ, ความสามารถ, ความหมายใดๆ ในขอกําหนดเฉพาะหาก มิไดอยูในภาวการณควบคุมทางสถิติ” - ดร. เอ็ดเวิรด เดมมิ่ง SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

107

กระบวนการที่เสถียร Sample Mean

Xbar/R Chart for C1-C5 40 39 38 37 36 35 34 33 32 31 30

Sample Range

Subgroup

3.0SL=39.29

X=35.06

-3.0SL=30.84 0

10

20

30

40

50

3.0SL=15.49

15 10

R=7.324 5 -3.0SL=0.000

0

แผนภูมิควบคุม เสียงสะทอนของกระบวนการ

In Control: คาดการณได, คงที,่ เสถียรตลอดชวงเวลา Out of Control: คาดการณไม, ไมคงที,่ เปลี่ยนตลอดเวลา SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

108

กระบวนการที่เสถียร Lower Upper Spec Limit Spec Limit

อยูในการควบคุม แตไรความสามารถ ตัวความผันแปรมาจาก สาเหตุความผันแปร ตามปกติที่เกินมา

Upper Lower Spec Limit Spec Limit

อยูในการควบคุม และ มีความสามารถ ความผันแปรจากสาเหตุตามปกติถูกลดลง SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

109

ดัชนีวดั ความสามารถ แนวโนมกระบวนการ : อัตราสวนของความกวางของสเปกเทียบกับ 6 เทาของตัววัดความ ผันแปรของกระบวนการ Cp = USL-LSL 6sP

Pp = USL-LSL 6sT

sP = Pooled Std. Dev. sT = Total Std. Dev. (Overall)

สมรรถนะกระบวนการจริง : สัดสวนของความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของความแตกตางที่เทียบ กับขอบเขตสเปกใกลที่สุด โดยเทียบกับ 3 เทาของตัววัด คาความผันแปรกระบวนการ CPL = PPL =

X-LSL 3sP X-LSL 3sT

CPU = USL-X 3sP PPU = USL-X 3sT SPC Control Chart_Rel_3.2a

CPK = Min {CPL, CPU} PPK = Min {PPL, PPU}

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

110

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

111

ดัชนีวดั ความสามารถ Cp = USL-LSL 6sP

Cp = USL-LSL 6*

R d2

SPC Control Chart_Rel_3.2a

Pp = USL-LSL 6sT

Pp = USL-LSL 6 * ∑ (X i

−X

)

2

n −1

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

112

ระยะยาว เทียบกับ ระยะสั้น Lot 1

Lot 5 Lot 3

Lot 2

การศึกษาระยะสั้น

Lot 4

การศึกษาระยะยาว SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

113

ดัชนีความสามารถกระบวนการวัดและสมรรถนะ ดูเปน “ภาพถาย” ขีดความสามารถ

Cp

ดูเปน “วีดีโอ” สมรรถนะ

PP

ระยะสั้น

สัมพันธกันระหวางคาเบี่ยงเบน มาตรฐานกับสเปก

ระยะยาว

CPK

PPK

Pooled Standard Deviation

Overall Standard Deviation

อยูใน การควบคุม

ไมอยู ในการควบคุม SPC Control Chart_Rel_3.2a

สัมพันธกับคากลางและ เบี่ยงเบนมาตรฐานเทียบกับสเปก

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

114

การนํากระบวนการไปเทียบกับคาที่ตองการ

1. เปนกรณีทเี่ หมาะสมที่สุด

Sl

Su SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

115

2. ตองลดการกระจาย

Sl

Su SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

116

3. ตองปรับเพิ่มคากลางใหสูงขึ้น

Sl

Su SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

117

ดัชนีวัดความสามารถ Process Capability Sixpack of Fill Amount4 Xbar C har t

C apability H istogr am

Sample Mean

1

104

1

1

1

1

UCL=103.367 _ _ X=102.166

102 1

1

1

3

5

1

7

9

11

1

13

1

15

17

19

21

23

25

99.0

100.5

R C har t

1

Sample Range

LCL=100.965

5

100

1

105.0

1

UCL=3.761 2.5

_ R=1.649 2

0.0 1

3

5

7

9

11

13

15

17

19

21

23

LCL=0 25

95

Last 2 5 Subgr oups Within S tD ev 0.8007 Cp 2.08 C pk 1.18 C C pk 2.08

102 99 5

10

15

100

105

110

C apability P lot

105 Values

103.5

Nor mal P r ob P lot A D : 0.123, P : 0.987

1

5.0

102.0

20

25

Within O v erall

O v erall S tDev 1.7758 Pp 0.94 P pk 0.53 C pm *

S pecs

Sample

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

118

ดัชนีวัดความสามารถ Process Capability of Fill Amount4 LSL

USL

P rocess Data LS L 98 Target * USL 104 S ample M ean 102.166 S ample N 100 S tD ev (Within) 1.29399

P otential (Within) C apability Cp 0.77 C PL 1.07 C PU 0.47 C pk 0.47 C C pk 0.77

99.0 O bserv ed P erformance P P M < LS L 10000.00 P P M > U S L 150000.00 P P M Total 160000.00

100.5

102.0

103.5

105.0

E xp. Within P erformance P P M < LS L 642.21 P P M > U S L 78187.87 P P M Total 78830.08

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

119

แนวทางการเลือกแผนภูมิควบคุม ขอมูลวัด / ขอมูลนับ

ขอมูลวัด

ขอมูลนับ

มีปริมาณมาก / นอย

ขอมูลนับแบบ ไม

มีนอย

Individuals & Moving Range

ใช

คงที่

มีมาก ขอบกพรอง หรือ % ของเสีย

X-Bar & Range

u SPC Control Chart_Rel_3.2a

ขอบกพรอง หรือจํานวน ของเสีย

p

c

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

np 120

ขั้นตอนการเขียน np Chart ขั้นที่ 1 เก็บรวบรวมขอมูล เนื่องจาก np Chart เปนแผนภูมิควบคุมสําหรับตัวแปรที่เปนหนวยนับ เชน จํานวน ชิ้นของเสียกับของดี จึงตองเก็บขอมูลและจัดทําตารางขอมูลทีเ่ หมาะสม ตัวอยางการเก็บขอมูลจากโรงงานผลิตอะไหลรถจักรยานยนต (ดุมลอรถมอเตอรไซด) ทําการเก็บขอมูลตัวอยางแบบสุมโดยเก็บวันละ 40 ตัวอยางไดขอมูลดังนี้

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

121

ลําดับ

วันที่

จํานวนที่

จํานวนที่

ลําดับ

วันที่

11

7 - 6 - 44

จํานวนที่

ลําดับ

วันที่

34

21

17 - 6 - 44

25

ไมยอมรับ

ไมยอมรับ

1

ไมยอมรับ 27 -5 - 44 4

2

28 -5 - 44

9

12

8 - 6 - 44

25

22

18 - 6 - 44

18

3

29 -5 - 44

10

13

9 - 6 - 44

18

23

19 - 6 - 44

10

4

30 -5 - 44

11

14

10 - 6 - 44

12

24

20 - 6 - 44

8

5

1 - 6 - 44

13

15

11 - 6 - 44

4

25

21 - 6 - 44

18

6

2 - 6 - 44

30

16

12 - 6 - 44

3

26

22 - 6 - 44

19

7

3 - 6 - 44

26

17

13 - 6 - 44

11

27

23 - 6 - 44

5

8

4 - 6 - 44

13

18

14 - 6 - 44

8

28

24 - 6 - 44

8

9

5 - 6 - 44

8

19

15 - 6 - 44

14

10

6 - 6 - 44

23

20

16 - 6 - 44

21

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

Σ pn

= 408

122

คํานวณแบบทั่วไป ขั้นที่ 2 หาคาเฉลี่ยของคาสัดสวน ( p ) p = pn kxn แทนคา = 408 = 0.364 20x40 ขั้นที่ 3 คํานวณหาเสนขอบเขตควบคุม CL = p x n = 0.36x40 = 14.57 UCL = pn + 3 p n (1 - p) = 14.57 + 3 14.57 (1 - 0.36) = 23.7 LCL = pn - 3 p n (1 - p) = 14.57 - 3 14.57 (1 - 0.36) = 5.4

คํานวณแบบ QS 9000 pn = pn1 + pn2 + pn3 +……….+ pnk k แทนคา = 4 + 9 + 10 + 11 + ……….. + 8 28 CL = 14.57 UCL = pn + 3 pn (1 - pn) n = 14.57 + 3 14.57 (1 - 14.57) 40 = 14.57 + 3 14.57 (1 - 0.36) = 23.7 LCL = pn - 3 pn (1 - pn) = 14.57 - 3 14.57 (1 - 14.57) 40 = 5.4

คํานวณแบบทั่วไป ขั้นที่ 2 หาคาเฉลี่ยของคาสัดสวน ( p ) p = pn kxn แทนคา = 408 = 0.364 20x40 ขั้นที่ 3 คํานวณหาเสนขอบเขตควบคุม CL = p x n = 0.36x40 = 14.57 UCL = pn + 3 p n (1 - p) = 14.57 + 3 14.57 (1 - 0.36) = 23.7 LCL = pn - 3 p n (1 - p) = 14.57 - 3 14.57 (1 - 0.36) = 5.4 SPC Control Chart_Rel_3.2a

คํานวณแบบ QS 9000 pn = pn1 + pn2 + pn3 +……….+ pnk k แทนคา = 4 + 9 + 10 + 11 + ……….. + 8 28 CL = 14.57 UCL = pn + 3 pn (1 - pn) n = 14.57 + 3 14.57 (1 - 14.57) 40 = 14.57 + 3 14.57 (1 - 0.36) = 23.7 LCL = pn - 3 pn (1 - pn) = 14.57 - 3 14.57 (1 - 14.57) 40 = 5.4 © 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

124

แผนภูมิควบคุมจํานวนของเสีย (np Chart) 35 30 25

UCL = 23.7

20

CL = 14.57

15 10 5

LCL = 5.4

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

125

ขั้นที่ 4 ประเมิน คุณภาพของเสนควบคุม

ตีความขอมูลเทียบกับเสนควบคุม 1. หากคา มีคาออกนอกเสนควบคุมนอยกวาหรือเทากับ 2 จุดใหตัดคาที่ออก นอกนั้นออกจากการวิเคราะหได แลวไปคํานวณเสนควบคุมใหมโดยตองมี กลุมยอยเหลือไมนอยกวา 20 กลุม 2. หากคา แสดงแนวโนม 6 จุดขึ้นหรือลงใหไปดูการเกิดภาวะคอยเสื่อมหรือ คอย ๆ เปลี่ยนของปจจัยในกระบวนการ เชน สภาพเครื่อง, การจับยึดงาน เปนตน เมื่อแกไขกระบวนการแลว เริ่มเก็บขอมูลใหมทั้งหมด

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

126

ขั้นที่ 4 ประเมิน คุณภาพของเสนควบคุม

ตีความขอมูลเทียบกับเสนควบคุม 3. แตหากคา มีลักษณะที่ ขึ้นและลงสลับฟนปลา ใหหทางแยกกลุมสาเหตุ ออก เมื่อแกไขกระบวนการแลว เริ่มเก็บขอมูลใหมทั้งหมด 4. และ ถาคาเกาะกลุมดานดานหนึ่ง 6 จุดติดตอให ดูวาเกิดอะไรเปลี่ยน เงื่อนไขในการผลิตตางกันบาง เชน การเปลี่ยนงาน หรือ ตั้งเครื่องใหม เปน ตน เมื่อแกไขกระบวนการแลว เริ่มเก็บขอมูลใหมทั้งหมด 5. แตหากคา มีคาออกนอกเสนควบคุมมากกวา 2 จุดแสดงวากระบวนการยัง ไมมีการบังคับและจัดทํามาตรฐาน ใหหาสาเหตุ เมื่อแกไขกระบวนการ แลว เริ่มเก็บขอมูลใหมทั้งหมด

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

127

ขั้นที่ 5 กําหนดเสนควบคุมเพื่อการควบคุมกระบวนการ นําเสนควบคุมที่ไดจากการปรับปรุงแลวตีบนแผนภูมิควบคุมเปลา ๆ เพื่อใชกําหนด ขอบเขต รักษาการควบคุมใหกระบวนการคงมาตรฐานเหมือนเดิม UCL = np

CL = UCL =

ขั้นที่ 6 อานผลตีความจากสถิติเพื่อการควบคุมกระบวนการในทันทีที่มีการ ตรวจและ พล็อตเทียบกับเสนควบคุม และหากเกิดผิดปกติใหดําเนินการปฏิบัติการแกไข

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

128

การตีความหมายของ Control Chart 1. การเกิดจุดอยูนอกเสนควบคุม (Out of Control Line Limits) UCL CL LCL

พบไดชัดเจน คือมีจุดในแผนภูมิปรากฏอยูนอกเสนขอบเขตควบคุม เรียกวา จุด อยูนอกควบคุม ซึ่งอาจจะเปนการอยูนอกเสนทั้งดานบนหรือดานลาง แสดงวา ณ จุดนั้น เกิดความผันแปรที่ผันแปรที่ผิดปกติเกิดขึ้นในกระบวนการผลิตแลว แมวาจะเปนการออก นอกเสนดานต่ําซึ่งดูวาดี SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

129

2. การเกิดจุดเรียงตัว (Run) UCL CL LCL เมื่อมีจุดปรากฏติดตอกันบนซีกใดซีกหนึ่งของเสนคากลาง เราเรียกวา เกิดการ เรียงตัว (Run) ความยาวของการ Run ในแตละชุดนับจากจํานวนจุดไดตั้งแต 7 จุดขึ้นไป หรือจํานวน 10 จุดจาก 11 จุด หรือ 12 จุดจาก 14 จุด หรือ 16 จุดจาก 20จุด ในซีกใดซีก หนึ่ง เราตีความวา “ไดเกิดความผิดปกติขึ้นแลวในชวงการผลิตที่เกิดการ Run นั้น” ซึ่ง สาเหตุอาจเปนไปไดทั้งจากกระบวนการและ/หรือจากระบบการตรวจสอบ SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

130

3. การเกิดจุดมีแนวโนม (Trend) UCL CL LCL การที่มีจุดตอเนื่องไปในทิศทางเดียวกันโดยไมมีการสลับขึ้น-ลงเลย เราเรียกวา มีการเกิดแนวโนมขึน้ ในแผนควบคุม แนวโนมนี้กําลังจะบอกเราวา คาเฉลี่ยของการควบ คุมที่ผลิตไดจากกระบวนการผลิตนั้นกําลังมีปญหา หรือมีแนวโนมที่จะเคลื่อนที่ไปจากที่ ไดกําหนดไวแตแรก SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

131

5. การเกิดจุดกระจายเปนชวง (Periodicity) UCL CL LCL มีลักษณะคือ คาในเสนกราฟจะเปลี่ยนแปลงขึน้ ๆ ลง ๆ หรือมีลักษณะเปนวงจร วงรอบหรือวัฎจักร ที่เกือบจะทํานายลักษณะเสนกราฟในชวงตอไปได เรียกวาเกิดการกระ จายเปนชวง หรือวัฎจักร ซึ่งก็ถือวาเปนความผิดปกติที่เกิดขึ้นในกระบวนการเชนกัน

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

132

แผนภูมิควบคุม P - Chart ใชตรวจสอบจํานวนของเสียในกระบวนการผลิตวาอยูในสภาพปกติหรือไม โดย ตัวอยางที่สุมมานั้นตรวจสอบแลวตองระบุวาของดีหรือของเสีย สูตรคํานวณ ( QS )

เมือ่ ไหรเราจะใช P - chart

p = n1p1 + n 2p2 +…………+ nkpk

เมือ่ ขอมูลทีส่ ามารถถูกปรับได

n1 + n2 +……….+ nk UCL = p+3 x p ( 1 - p )

( Retribute Type )

n

LCL = P - 3 x p ( 1 - P )

n

เมือ่ n1P1……….เปนจํานวนของขอบกพรอง

เมือ่ เราตองการ หาคา อัตราสวนของ ผลิตภัณฑทบี่ กพรองในกลุมทีท่ าํ การตรวจ สอบ เมือ่ ขนาดกลุมตัวอยางอาจจะเทาหรือ ไมเทากันในแตละกลุม

ทีต่ รวจพบสวน n2P2……คือขนาดของกลุม

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

133

ขั้นตอนการเขียน p Chart ขั้นที่ 1 เก็บรวบรวมขอมูล เนื่องจาก p Chart เปนแผนภูมิควบคุมสําหรับตัวแปรที่เปนหนวยนับ เชน จํานวน ชิ้นของเสียกับของดี แตในแตละครั้งการรวบรวมตัวอยางจะมีขนาดตัวอยางไมเทากัน จึงตองนํามาหาสัดสวนของเสียกอน ตัวอยางการเก็บขอมูลจากโรงงานผลิตอะไหลรถจักรยานยนต (ดุมลอรถมอเตอรไซด) ทําการเก็บขอมูลตัวอยางแบบสุมโดยเก็บวันละ 40 ตัวอยางไดขอมูลดังนี้

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

134

กลุม ตัวอยาง

จํานวนที่ผลิต

จํานวนบกพรอ ง

2,385 1,451 1,935 2,450 1,997 2,168 1,941 1,962 2,244 1,238 2,289 1,464 2,061 1,667 2,350 2,354 1,509 2,190 2,678 2,252 1,641 1,782 1,993 2,382 2,132

55 18 50 42 39 52 47 34 29 53 45 26 47 34 31 38 28 30 113 58 34 19 30 17 46

n

29-May-01 30-May-01 31-May-01 1-Jun-01 2-Jun-01 5-Jun-01 6-Jun-01 7-Jun-01 8-Jun-01 9-Jun-01 12-Jun-01 13-Jun-01 14-Jun-01 15-Jun-01 16-Jun-01 19-Jun-01 20-Jun-01 21-Jun-01 22-Jun-01 23-Jun-01 26-Jun-01 27-Jun-01 28-Jun-01 29-Jun-01 30-Jun-01

TOTAL

Σ

n = 50501

np

Σ

np = 1015

เศษสวน ควบคุมบน ควบคุมลาง P UCL LCL 0.023 0.012 0.026 0.017 0.02 0.024 0.024 0.017 0.013 0.043 0.02 0.018 0.023 0.02 0.013 0.016 0.018 0.014 0.042 0.026 0.021 0.011 0.015 0.007 0.022

0.029 0.031 0.03 0.028 0.029 0.029 0.03 0.03 0.029 0.032 0.029 0.031 0.029 0.03 0.029 0.029 0.031 0.029 0.028 0.029 0.03 0.03 0.03 0.029 0.029

0.011 0.009 0.01 0.012 0.011 0.011 0.01 0.01 0.011 0.008 0.011 0.009 0.011 0.01 0.011 0.011 0.009 0.011 0.012 0.011 0.01 0.01 0.01 0.011 0.011

NOTE p =

เมื่อ

ผลรวมจํานวนของเสียทั้งหมด ผลรวมจํานวนทั้งหมด p = สัดสวนของเสียโดยเฉลี่ย n = จํานวนที่ผลิต np = จํานวนของเสีย n = ผลรวมจํานวนที่ผลิตทั้งหมด np = ผลรวมของเสียทั้งหมด สัดสวนของเสียแตละตัวอยาง p = np n p = 55 2385 = 0.023 SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

136

For March 30 the Control Limits Are UCL30 = p + 3 p (1 - p) n30 = 0.020 + 3 0.020 (1 - 0.020) 1451 = 0.031 LCL30 = p - 3 p (1 - p) n30 = 0.020 - 3 0.020 (1 - 0.020) 1451 = 0.009 Note ถาตองการใหเปนเปอรเซ็นตใหนํา 100 คูณเขาไป (0.029 x 100 = 0.29%)

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

138

Fraction Nonconforming 0.045

0.035

UCL 0.025

_ P = 0.020

0.015

LCL

0.005 29 30 31 1

March

2

5

6

7

8

9 12 13 14 15 16 19 20 21 22 23 26 27 28 29 30

แผนภูมควบคุมจํานวนของเสีย (P - Chart) April SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

139

ขั้นที่ 4 ประเมิน คุณภาพของเสนควบคุม

ตีความขอมูลเทียบกับเสนควบคุม 3. แตหากคา มีลักษณะที่ ขึ้นและลงสลับฟนปลา ใหหทางแยกกลุมสาเหตุ ออก เมื่อแกไขกระบวนการแลว เริ่มเก็บขอมูลใหมทั้งหมด 4. และ ถาคาเกาะกลุมดานดานหนึ่ง 6 จุดติดตอให ดูวาเกิดอะไรเปลี่ยน เงื่อนไขในการผลิตตางกันบาง เชน การเปลี่ยนงาน หรือ ตั้งเครื่องใหม เปน ตน เมื่อแกไขกระบวนการแลว เริ่มเก็บขอมูลใหมทั้งหมด 5. แตหากคา มีคาออกนอกเสนควบคุมมากกวา 2 จุดแสดงวากระบวนการยัง ไมมีการบังคับและจัดทํามาตรฐาน ใหหาสาเหตุ เมื่อแกไขกระบวนการ แลว เริ่มเก็บขอมูลใหมทั้งหมด

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

140

ขั้นที่ 5 กําหนดเสนควบคุมเพื่อการควบคุมกระบวนการ นําเสนควบคุมที่ไดจากการปรับปรุงแลวตีบนแผนภูมิควบคุมเปลา ๆ เพื่อใชกําหนด ขอบเขต รักษาการควบคุมใหกระบวนการคงมาตรฐานเหมือนเดิม UCL = p

CL = UCL = ใชกฎ 25 % หรือ คามากสุด-นอยสุดก็ได

ขั้นที่ 6 อานผลตีความจากสถิติเพื่อการควบคุมกระบวนการในทันทีที่มีการ ตรวจและ พล็อตเทียบกับเสนควบคุม และหากเกิดผิดปกติใหดําเนินการปฏิบัติการแกไข

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

141

การตีความหมายของ Control Chart 1. การเกิดจุดอยูนอกเสนควบคุม (Out of Control Line Limits) UCL CL LCL

พบไดชัดเจน คือมีจุดในแผนภูมิปรากฏอยูนอกเสนขอบเขตควบคุม เรียกวา จุด อยูนอกควบคุม ซึ่งอาจจะเปนการอยูนอกเสนทั้งดานบนหรือดานลาง แสดงวา ณ จุดนั้น เกิดความผันแปรที่ผันแปรที่ผิดปกติเกิดขึ้นในกระบวนการผลิตแลว แมวาจะเปนการออก นอกเสนดานต่ําซึ่งดูวาดี SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

142

2. การเกิดจุดเรียงตัว (Run) UCL CL LCL เมื่อมีจุดปรากฏติดตอกันบนซีกใดซีกหนึ่งของเสนคากลาง เราเรียกวา เกิดการ เรียงตัว (Run) ความยาวของการ Run ในแตละชุดนับจากจํานวนจุดไดตั้งแต 7 จุดขึ้นไป หรือจํานวน 10 จุดจาก 11 จุด หรือ 12 จุดจาก 14 จุด หรือ 16 จุดจาก 20จุด ในซีกใดซีก หนึ่ง เราตีความวา “ไดเกิดความผิดปกติขึ้นแลวในชวงการผลิตที่เกิดการ Run นั้น” ซึ่ง สาเหตุอาจเปนไปไดทั้งจากกระบวนการและ/หรือจากระบบการตรวจสอบ SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

143

3. การเกิดจุดมีแนวโนม (Trend) UCL CL LCL การที่มีจุดตอเนื่องไปในทิศทางเดียวกันโดยไมมีการสลับขึ้น-ลงเลย เราเรียกวา มีการเกิดแนวโนมขึน้ ในแผนควบคุม แนวโนมนี้กําลังจะบอกเราวา คาเฉลี่ยของการควบ คุมที่ผลิตไดจากกระบวนการผลิตนั้นกําลังมีปญหา หรือมีแนวโนมที่จะเคลื่อนที่ไปจากที่ ไดกําหนดไวแตแรก SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

144

5. การเกิดจุดกระจายเปนชวง (Periodicity) UCL CL LCL มีลักษณะคือ คาในเสนกราฟจะเปลี่ยนแปลงขึน้ ๆ ลง ๆ หรือมีลักษณะเปนวงจร วงรอบหรือวัฎจักร ที่เกือบจะทํานายลักษณะเสนกราฟในชวงตอไปได เรียกวาเกิดการกระ จายเปนชวง หรือวัฎจักร ซึ่งก็ถือวาเปนความผิดปกติที่เกิดขึ้นในกระบวนการเชนกัน

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

145

แผนภูมิควบคุม C - Chart สูตรคํานวณ

C - Chart จะใชเมือ่ ใด

C = C1 + ( 2 + …………Ck หรือ C = Σ C k k

1. โอกาสทีจ่ ะเกิดรอยตําหนิในแตละหนวยทีไ่ มจํากัด 2. ตองแนใจวาขนาดตัวอยางมีขนาดเทากัน เชน จํานวนของ

UCL = C + 3 x C

ชิน้ สวน , พื้นที่ ทีก่ ําหนดหรือ ปริมาณทีจ่ ะทําการตรวจสอบ

C+3 C

LCL = C - 3 x C

3. โอกาสทีจ่ ะเกิดตําหนิ

C = ผลรวมขอบกพรองทัง้ หมด =

ΣC

จํานวนทีต่ รวจสอบ

k

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

146

ขั้นที่ 1 ทําการเก็บขอมูล กลุมตัวอยา ง

ขอ บกพรอ ง

สุมตัวอยา ง

ขอ บกพรอ ง

1

7

14

3

2

6

15

2

3

6

16

7

4

3

17

5

5

20

18

7

6

8

19

2

7

6

20

8

8

1

21

0

9

0

22

4

10

5

23

14 ( เสีย )

11

14

24

4

12

3

25

5

13

1 SPC Control Chart_Rel_3.2a

Σ

C = 141

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

147

ขั้นที่ 2 คํานวณหาเสนขอบเขตควบคุม CL = C หรือ C = C1+ C2+ C3+ ……….. + Ck k k แทนคา = 7 + 6 + 6 + ………. + 5 = 5.64 = 141 25 25 = 5.64 UCL = C + 3 C แทนคา = 5.64 + 3 5.64 = 12.76 LCL = C - 3 C แทนคา = 5.64 - 3 5.64 = 1.48 หรือ 0

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

148

Counut of Nonconformitles ( c )

แสดงแผนภูมิควบคุม C - Chart

20 15

UCL = 12.76

10

C = 5.64

5 0 1 2 3

4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24

Serial Numbers - MAY

Plot กราฟแลวมาวิเคราะหดู ปรากฏวา มีจุดที่อยูนอกเสนควบคุมในวันที่ 5, 11, 23 (20, 14, 14) เมื่อทําการแกไขสาเหตุ ของเสียไดแลวตองการหา C - Chart อีกครั้งจะได ดังนี้ C new = C - Cd Note g - gd เมื่อ cd = จํานวนบกพรองนอกเสนควบคุม แทนคา = 141 -20 -14 = 4.65 g = จํานวนตัวอยาง 25 - 20 gd = จํานวนกลุมตัวอยางที่บกพรองนอกเสนควบ คุม SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

149

ขั้นที่ 4 ประเมิน คุณภาพของเสนควบคุม

ตีความขอมูลเทียบกับเสนควบคุม 3. แตหากคา มีลักษณะที่ ขึ้นและลงสลับฟนปลา ใหหทางแยกกลุมสาเหตุ ออก เมื่อแกไขกระบวนการแลว เริ่มเก็บขอมูลใหมทั้งหมด 4. และ ถาคาเกาะกลุมดานดานหนึ่ง 6 จุดติดตอให ดูวาเกิดอะไรเปลี่ยน เงื่อนไขในการผลิตตางกันบาง เชน การเปลี่ยนงาน หรือ ตั้งเครื่องใหม เปน ตน เมื่อแกไขกระบวนการแลว เริ่มเก็บขอมูลใหมทั้งหมด 5. แตหากคา มีคาออกนอกเสนควบคุมมากกวา 2 จุดแสดงวากระบวนการยัง ไมมีการบังคับและจัดทํามาตรฐาน ใหหาสาเหตุ เมื่อแกไขกระบวนการ แลว เริ่มเก็บขอมูลใหมทั้งหมด

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

150

ขั้นที่ 5 กําหนดเสนควบคุมเพื่อการควบคุมกระบวนการ นําเสนควบคุมที่ไดจากการปรับปรุงแลวตีบนแผนภูมิควบคุมเปลา ๆ เพื่อใชกําหนด ขอบเขต รักษาการควบคุมใหกระบวนการคงมาตรฐานเหมือนเดิม UCL = np

CL = UCL =

ขั้นที่ 6 อานผลตีความจากสถิติเพื่อการควบคุมกระบวนการในทันทีที่มีการ ตรวจและ พล็อตเทียบกับเสนควบคุม และหากเกิดผิดปกติใหดําเนินการปฏิบัติการแกไข

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

151

การตีความหมายของ Control Chart 1. การเกิดจุดอยูนอกเสนควบคุม (Out of Control Line Limits) UCL CL LCL

พบไดชัดเจน คือมีจุดในแผนภูมิปรากฏอยูนอกเสนขอบเขตควบคุม เรียกวา จุด อยูนอกควบคุม ซึ่งอาจจะเปนการอยูนอกเสนทั้งดานบนหรือดานลาง แสดงวา ณ จุดนั้น เกิดความผันแปรที่ผันแปรที่ผิดปกติเกิดขึ้นในกระบวนการผลิตแลว แมวาจะเปนการออก นอกเสนดานต่ําซึ่งดูวาดี SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

152

2. การเกิดจุดเรียงตัว (Run) UCL CL LCL เมื่อมีจุดปรากฏติดตอกันบนซีกใดซีกหนึ่งของเสนคากลาง เราเรียกวา เกิดการ เรียงตัว (Run) ความยาวของการ Run ในแตละชุดนับจากจํานวนจุดไดตั้งแต 7 จุดขึ้นไป หรือจํานวน 10 จุดจาก 11 จุด หรือ 12 จุดจาก 14 จุด หรือ 16 จุดจาก 20จุด ในซีกใดซีก หนึ่ง เราตีความวา “ไดเกิดความผิดปกติขึ้นแลวในชวงการผลิตที่เกิดการ Run นั้น” ซึ่ง สาเหตุอาจเปนไปไดทั้งจากกระบวนการและ/หรือจากระบบการตรวจสอบ SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

153

3. การเกิดจุดมีแนวโนม (Trend) UCL CL LCL การที่มีจุดตอเนื่องไปในทิศทางเดียวกันโดยไมมีการสลับขึ้น-ลงเลย เราเรียกวา มีการเกิดแนวโนมขึน้ ในแผนควบคุม แนวโนมนี้กําลังจะบอกเราวา คาเฉลี่ยของการควบ คุมที่ผลิตไดจากกระบวนการผลิตนั้นกําลังมีปญหา หรือมีแนวโนมที่จะเคลื่อนที่ไปจากที่ ไดกําหนดไวแตแรก SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

154

5. การเกิดจุดกระจายเปนชวง (Periodicity) UCL CL LCL มีลักษณะคือ คาในเสนกราฟจะเปลี่ยนแปลงขึน้ ๆ ลง ๆ หรือมีลักษณะเปนวงจร วงรอบหรือวัฎจักร ที่เกือบจะทํานายลักษณะเสนกราฟในชวงตอไปได เรียกวาเกิดการกระ จายเปนชวง หรือวัฎจักร ซึ่งก็ถือวาเปนความผิดปกติที่เกิดขึ้นในกระบวนการเชนกัน

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

155

แผนภูมิควบคุม U - Chart มีลักษณะเหมือน C - Chart คือ ใชตรวจสอบรอยตําหนิแตตางกันที่ U - Chart จะ ใชตรวจสอบจุดตําหนิเฉลี่ยตอ 1 ชิ้น ความหมาย : u = อัตราของเหตุการณที่สนใจตอหนวย = จํานวนเหตุการณที่สนใจที่ตรวจพบ จํานวนหนวยที่ตรวจ สูตรคํานวณ UCLu = u + 3 u n CLu = u LCLu = u - 3 u n SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

156

ขั้นที่ 1 เก็บขอมูล ขั้นที่ 2 คํานวณหาเสนขอบเขตควบคุม

u = อัตราของเหตุการณที่สนใจตอหนวย = จํานวนเหตุการณที่สนใจที่ตรวจพบ จํานวนหนวยที่ตรวจ = 2823 = 0.832 3389

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

157

DATA Jan. Feb.

Mar.

30 31 1 2 3 4 6 7 8 9 10 11 13 14 15 16 17 18 20 21 22 23 24 25 27 28 1 2 3 4

TOTAL

NUMBER COUNT OF NONCONFORMITIES INSPECTED NONCONFORMITIES PER UNIT NUMBER COUNT OF u 110 82 96 115 108 56 120 98 102 115 88 71 95 103 113 85 101 42 97 92 100 115 99 57 89 101 122 105 98 48

120 94 89 162 150 82 143 134 97 145 128 83 120 116 127 92 140 60 121 108 131 119 93 88 107 105 143 132 100 60

2823

3389

1.09 1.15 0.93 1.41 1.39 1.46 1.19 1.37 0.95 1.26 1.45 1.16 1.26 1.13 1.12 1.08 1.39 1.19 1.25 1.17 1.31 1.03 0.94 1.54 1.2 1.04 1.17 1.26 1.02 1.25

UCL

LCL

1.51 1.56 1.53 1.5 1.51 1.64 1.5 1.53 1.53 1.5 1.55 1.59 1.54 1.52 1.51 1.56 1.53 1.7 1.53 1.54 1.53 1.5 1.53 1.64 1.55 1.53 1.49 1.52 1.53 1.67

0.89 0.84 0.87 0.9 0.89 0.76 0.9 0.87 0.87 0.9 0.85 0.81 0.86 0.88 0.89 0.84 0.87 0.7 0.87 0.86 0.87 0.9 0.87 0.76 0.85 0.87 0.91 0.88 0.87 0.73

ขั้นที่ 2 คํานวณหาเสนขอบเขตควบคุม เชนในวันที่ 7

UCLu = 0.832 + 3 0.832 98 CLu =0.832 LCLu = 0.832 + 3 0.832 98

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

159

แสดงแผนภูมิควบคุม U - Chart u

1.85

UCL

LCL

u

N onconform ites/U nit(u)

1.65

1.45

1.25

1.05

0.85

0.65 30 31 1

Jan

2

3

4

6

7

8

9 10 11 13 14 15 16 17 18 20 21 22 23 24 25 27 28 1

SPC Control Chart_Rel_3.2a

Feb © 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

Mar

2

3

4 160

ขั้นที่ 4 ประเมิน คุณภาพของเสนควบคุม

ตีความขอมูลเทียบกับเสนควบคุม 3. แตหากคา มีลักษณะที่ ขึ้นและลงสลับฟนปลา ใหหทางแยกกลุมสาเหตุ ออก เมื่อแกไขกระบวนการแลว เริ่มเก็บขอมูลใหมทั้งหมด 4. และ ถาคาเกาะกลุมดานดานหนึ่ง 6 จุดติดตอให ดูวาเกิดอะไรเปลี่ยน เงื่อนไขในการผลิตตางกันบาง เชน การเปลี่ยนงาน หรือ ตั้งเครื่องใหม เปน ตน เมื่อแกไขกระบวนการแลว เริ่มเก็บขอมูลใหมทั้งหมด 5. แตหากคา มีคาออกนอกเสนควบคุมมากกวา 2 จุดแสดงวากระบวนการยัง ไมมีการบังคับและจัดทํามาตรฐาน ใหหาสาเหตุ เมื่อแกไขกระบวนการ แลว เริ่มเก็บขอมูลใหมทั้งหมด

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

161

ขั้นที่ 5 กําหนดเสนควบคุมเพื่อการควบคุมกระบวนการ นําเสนควบคุมที่ไดจากการปรับปรุงแลวตีบนแผนภูมิควบคุมเปลา ๆ เพื่อใชกําหนด ขอบเขต รักษาการควบคุมใหกระบวนการคงมาตรฐานเหมือนเดิม UCL = np

CL = UCL =

ขั้นที่ 6 อานผลตีความจากสถิติเพื่อการควบคุมกระบวนการในทันทีที่มีการ ตรวจและ พล็อตเทียบกับเสนควบคุม และหากเกิดผิดปกติใหดําเนินการปฏิบัติการแกไข

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

162

การตีความหมายของ Control Chart 1. การเกิดจุดอยูนอกเสนควบคุม (Out of Control Line Limits) UCL CL LCL

พบไดชัดเจน คือมีจุดในแผนภูมิปรากฏอยูนอกเสนขอบเขตควบคุม เรียกวา จุด อยูนอกควบคุม ซึ่งอาจจะเปนการอยูนอกเสนทั้งดานบนหรือดานลาง แสดงวา ณ จุดนั้น เกิดความผันแปรที่ผันแปรที่ผิดปกติเกิดขึ้นในกระบวนการผลิตแลว แมวาจะเปนการออก นอกเสนดานต่ําซึ่งดูวาดี SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

163

2. การเกิดจุดเรียงตัว (Run) UCL CL LCL เมื่อมีจุดปรากฏติดตอกันบนซีกใดซีกหนึ่งของเสนคากลาง เราเรียกวา เกิดการ เรียงตัว (Run) ความยาวของการ Run ในแตละชุดนับจากจํานวนจุดไดตั้งแต 7 จุดขึ้นไป หรือจํานวน 10 จุดจาก 11 จุด หรือ 12 จุดจาก 14 จุด หรือ 16 จุดจาก 20จุด ในซีกใดซีก หนึ่ง เราตีความวา “ไดเกิดความผิดปกติขึ้นแลวในชวงการผลิตที่เกิดการ Run นั้น” ซึ่ง สาเหตุอาจเปนไปไดทั้งจากกระบวนการและ/หรือจากระบบการตรวจสอบ SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

164

3. การเกิดจุดมีแนวโนม (Trend) UCL CL LCL การที่มีจุดตอเนื่องไปในทิศทางเดียวกันโดยไมมีการสลับขึ้น-ลงเลย เราเรียกวา มีการเกิดแนวโนมขึน้ ในแผนควบคุม แนวโนมนี้กําลังจะบอกเราวา คาเฉลี่ยของการควบ คุมที่ผลิตไดจากกระบวนการผลิตนั้นกําลังมีปญหา หรือมีแนวโนมที่จะเคลื่อนที่ไปจากที่ ไดกําหนดไวแตแรก SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

165

5. การเกิดจุดกระจายเปนชวง (Periodicity) UCL CL LCL มีลักษณะคือ คาในเสนกราฟจะเปลี่ยนแปลงขึน้ ๆ ลง ๆ หรือมีลักษณะเปนวงจร วงรอบหรือวัฎจักร ที่เกือบจะทํานายลักษณะเสนกราฟในชวงตอไปได เรียกวาเกิดการกระ จายเปนชวง หรือวัฎจักร ซึ่งก็ถือวาเปนความผิดปกติที่เกิดขึ้นในกระบวนการเชนกัน

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

166

ขั้นตอนการประยุกตใช SPC การเลือกรายการ 1.1 รายการไหน ที่จะเปนสาเหตุ ของการเสียหาย แกคุณภาพหรือ ลูกคา (หนวยงาน ถัดไป)

ไมใช ใช

เลือกรายการอื่น

1. ระมัดระวังในการเลือกรายการหรือชิ้นสวนที่จะประยุกตใช SPC

ใช

1.2 รายการนั้นอยู ภายใตการ ควบคุมของคุณ หรือไม

ใช

เขาสูก ารประเมิน ระบบการวัด

ใช

ใชแผนภูมิควบคุม เปนขอมูลยอนกลับ

ไมใช 1.3 รายการที่ศึกษาสามารถ ษาสามารถ ที่จะเปนรายงานยอนกลับไป ที่แผนกอื่นที่รับผิดชอบใน การควบคุมหรือไม ไม

ไมใช อางอิงไปยังคณะทํางาน APQP SPC Control Chart_Rel_3.2a © 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

167

การประเมินระบบการวัด

2.1 ความเที่ยงตรง ของเครื่องมือวัด ยอมรับไดหรือไม ไม

ใช

2.2 2.2 การวั การวัดดซ้ซ้าํ าํ และ และ การประเมิ การประเมินนซ้ซ้ําําของ ของ เครื เครื่อ่องมื งมืออวัวัดดยอมรั ยอมรับบ ได ไดหหรืรืออไม ไม

ไมใช ใช

เขาสูศึกษาศักยภาพของ กระบวนการ

ไมใช สามารถทําให ถูกตองไดหรือไม ไม

สามารถทําให ถูกตองไดหรือไม ไม

ไมใช

ใช

การไดรับความ ชวยเหลือตอไป

SPC Control Chart_Rel_3.2a

ไมใช

2. การประเมินความเที่ยงตรง การวัดซ้ํา การประเมินซ้ํา และความผันแปรของ ระบบการวัด

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

168

ศึกษาศักยภาพของกระบวนการ

3.1 ฮีสโตแกรม ของขอมูลกระจาย ปกติหรือไม ไม

3.2 กระบวนการม กระบวนการมี ศักยภาพที่จะอยูใน คาเผือ่ ที่กาํ หนด หรือไม

ใช

ไมใช ใช

สาเหตุนั้นสามารถ ถูกจําแนกและทํา ใหถูกตองได งได หรือไม

ไมใช

ใช

เขาสูศึกษาความสามารถ ของกระบวนการ

ไมใช ใช

การไดรับความ ชวยเหลือตอไป

SPC Control Chart_Rel_3.2a

กระบวนการ กระบวนการ สามารถศึ สามารถศึกกษาและ ษาและ ปรั ปรับบปรุ ปรุงงได ไดหหรืรืออไม ไม

ไมใช

3. ประเมินศักยภาพของ กระบวนการวัดภายในชวง ระยะเวลาที่สั้น

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

169

ศึกษาความสามารถของกระบวนการ

4. การประเมินความสามรถของ กระบวนการ

4.1 เลือกชนิด ของแผนภูมิที่ จะใช จะใช

4.2 กระบวนการอย กระบวนการอยู ในการควบคุมเชิง สถิติแลวหรือยัง

4.3 กระบวนการม กระบวนการมี ความสามารถที่จะอยูใน คาเผือ่ ที่กาํ หนดหรือไม

ใช

ไมใช ใช

สามารถจําแนก และขจัดสาเหตุ พิเศษไดหรือไม ไม

ไมใช

ใช

เขาสูศึกษา สมรรถนะของ กระบวนการ

ไมใช

ใช

การไดรับความ ชวยเหลือตอไป

SPC Control Chart_Rel_3.2a

กระบวนการ สามารถที่จะศึกษา และปรับปรุงได หรือไม ไม

ไมใช © 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

170

ศึกษาสมรรถนะของกระบวนการ 5.1 กระบวนการ อยูในการควบคุม เชิงสถิติเปนเวลา กวาหนึ่งเดือน หรือไม ไม

ใช

5.2 Cpk มีมีคคา มากกวา 1 หรือไม

ไมใช ใช

สามารถจําแนก และขจัดสาเหตุ พิเศษไดหรือไม ไม

ไมใช

ใช

เขาสูก ารปรับปรุงอยาง ตอเนื่อง

ไมใช ใช

การไดรับความ ชวยเหลือตอไป

SPC Control Chart_Rel_3.2a

กระบวนการ สามารถที่จะศึกษา และปรับปรุงได หรือไม ไม

ไมใช

5. การประเมินความสามารถและ วิธีการที่จะควบคุมกระบวนการ ในชวงระยะเวลาที่ยาวนานตอไป

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

171

พิจารณาคุณลักษณะ นี้จะสรางแผนภูมิ

ขอมูลเปน ขอมูลเชิง ผันแปรหรือไม

กระบวนการเลือกใชแผนภูมิควบคุม

NO

ขอมูลเปนขอมูล ผลิตภัณฑ บกพรองหรือไม เชนของเสีย

NO

YES

YES ขนาด ตัวอยาง คงที่หรือไม

YES

สิ่งที่สนใจเปน ขอมูล ขอบกพรอง หรือไม เชน ชิ้นสวนมีตําหนิ

NO ใชแผนภูมิ p

ขนาด ตัวอยาง คงที่หรือไม

NO ใชแผนภูมิ u

YES 1

ใชแผนภูมิ np หรือ p SPC Control Chart_Rel_3.2a

ใชแผนภูมิ c หรือ u © 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

172

1 NO

ผลิตภัณฑมีความ เปนเนื้อเดียวกัน หรือไม เชน Batch ของสารเคมี

คาเฉลี่ยของกลุม ยอยสามารถ คํานวณไดงาย หรือไม

NO

ใชแผนภูมิ Median

YES YES

ขนาดกลุมยอย เปน 9 หรือ มากกวา

ใชแผนภูมิ X-MR

NO

ใชแผนภูมิ X −R

YES สามารถคํานวณ S จากแตละกลุม ยอยไดงายหรือไม

Note : This chart assumes the measurement system has been assessed and is appropriate SPC Control Chart_Rel_3.2a

YES ใชแผนภูมิ X −S

NO

ใชแผนภูมิ X −R

ขนาดตัวอยาง : Sample size กลุมยอย : Subgroup

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

173

แนวคิดสําคัญของแผนภูมิควบคุม ประมาณคาลักษณะของกระบวนการ (คํานวณ TRIAL CONTROL LIMIT)

ขอสมมติฐาน กระบวนการมีเสถียรภาพ

เปรียบเทียบขอมูล กับ CONTROL LIMIT ถาขอมูลมีความสม่ําเสมอ และแนนอนเมื่อเทียบกับ CONTROL LIMIT แสดงวากระบวนการมีเสถียรภาพ

ถาขอมูลไมสม่ําเสมอ และ ไมแนนอนจนเมื่อเทียบกับ CONTROL LIMIT แสดงวากระบวนการไมมีเสถียรภาพ

ดําเนินการผลิตตอไป และควบคุม ดวย LIMIT เดิมสําหรับการ ควบคุมความมีเสถียรภาพ

นิยาม หาสาเหตุความผิดพลาด และทําการแกไข

SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

174

มีการเปลี่ยนแปลงในกระบวนการและ ประเมินกระบวนการโดยใชแผนภูมิ การกระจายของ กระบวนการ(6 σ )แคบ เพียงพอหรือไม? Cp มากกวา 1.33 หรือไม

ใช

เคลื่อนคาเฉลี่ย ของกระบวนการ เขาสูคากลางของ ขอกําหนดเฉพาะ (Nominal)

ไมใช

ไมใช

ใช

กระบวนการมี เสถียรภาพ หรือไม

ลดความผันแปรใน กระบวนการ

ไมใช ขจัดสาเหตุพิเศษ

ลดสาเหตุธรรมดาของความ ผันแปร (บุคคล วิธีการ เครื่องจักร วัสดุ การวัดและสิ่งแวดลอม)

คาเฉลี่ยของกระบวน การเขาใกลคา Nominal หรือไม Cpk > 1.33

ใช กระบวนการ มีความสามารถ

การชักสิ่งตัวอยาง อยางตอเนื่องถูก นํามาใชหรือไม

ไมใช

ขั้นตอนการปรับปรุงความสามารถของกระบวนการ SPC Control Chart_Rel_3.2a

ลดชวงหางของการชักสิ่ง ตัวอยางของกลุมยอย © 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

เคลื่อนคาเฉลี่ยของ กระบวนการเขาใกล คาเปาหมายเพื่อให ไดหนาที่ของ ผลิตภัณฑที่มีคา เหมาะสมที่สุด

175

แผนภูมิควบคุมสําหรับคานับ (np, p, c, u) กระบวนการ ฝาย ขอกําหนดเฉพาะ

ชื่อชิ้นงาน หมายเลข พารามิเตอร

ขอบกพรอง

การนับของเสีย np p

การนับตําหนิ c u

แผนภูมิที่ ขนาดตัวอยางโดยเฉลี่ย ความถี่

ขนาดตัวอยาง (n) จํานวน (np, c) สัดสวน (p, u) วันที่ 1

หมายเหตุ : ใหทําการบันทึกการปรับเปลี่ยนตาง ๆ ในกระบวนการ กลุมยอยที่ วัน/เดือน/ป เวลา

2

3

4

5

6

7

8

วิจารณ/บันทึกการปรับเปลี่ยน

9

10 11 12

13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25

ในกรณีมกี ารเปลี่ยนแปลง หรือสังเกตเห็นความผิดปกติ ใด ๆ เกี่ยวกับพนักงานวัตถุดิบ, อุปกรณ, ตลอดจนวีธี การทํางานควรจะมีการบันทึกหรือลงความเห็นเชิงวิจารณ ไว เนือ่ งจากจะเปนประโยชนโดยตรงตอการปฏิบัตกิ าร แกไขเมือ่ แผนภูมิควบคุมบอกถึงปญหา

แผนภูมิควบคุมสําหรับคาวัด (X - R และ X - R) กระบวนการ ฝาย เครื่องจักร

ชื่อชิ้นงาน หมายเลข พารามิเตอร

ขอกําหนดเฉพาะ เครื่องมือวัด ขนาดตัวอยาง/ความถี่

แผนภูมิที่ หนวยวัด เลขโคด

คาวัด

วันที่ เวลา พนักงาน 1 2 3 4 5

ผลรวม คาเฉลี่ย (X) พิสยั (R)

พิสยั

คาเฉลีย่

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10 11 12

13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25

Descriptive Statistics Variable: Mystery Anderson-Darling Normality Test 27.11 A-Squared: 0.00 p-value:

Our Services

30

80

130

180

Mean Std Dev Variance Skewness Kurtosis n of data Minimum 1st Quartile Median 3rd Quartile Maximum

95%Confidence Interval for Mu

100.00 32.38 1048.78 0.01 -1.63 500.00 41.77 68.69 104.20 130.81 162.82

95%Confidence Interval for Mu 102.85 97.15 80

• Six Sigma , Lean Manufacturing

90

100

110

95% Confidence Interval for Median

120

95%Confidence Interval for Sigma 34.53 30.49 95%Confidence Interval for Median 117.66 82.78

• Quality Management System Consultant • ISO/TS 16949 : 2002 • ISO 9001 , ISO 14001 , ISO 17025

• Management , Quality and Productivity Training SPC Control Chart_Rel_3.2a

Plan Revie w

Train Apply

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

178

Our principle Inconsistent

Parity

Leaders

Innovators

We provide the best solutions to our clients by “Giant Leap for Excellence”

Gemba SPC Management Co.,Ltd.

Tel.: 0-2881-3756-7 Fax: 0-2881-3758 Mobile : 0-1812-9852

www.gembaspc.com

E-mail : , [email protected] , [email protected] SPC Control Chart_Rel_3.2a

© 2003-2007 บริษัท เกมบะ เอสพีซี แมนเนจเมนท จํากัด

180

Related Documents

Spc Control Chart Rel 3.2a
November 2019 2
Control Chart
May 2020 8
Spc
June 2020 13
Spc
November 2019 17