โครงการวิจัย ยกระดับบริการสาธารณะโดยการมีส่วนร่วมของประชาชนที่ เชียงราย(people's Audit -par In Chiang Rai)

  • Uploaded by: Uthaiwan Kanchanakamol
  • 0
  • 0
  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View โครงการวิจัย ยกระดับบริการสาธารณะโดยการมีส่วนร่วมของประชาชนที่ เชียงราย(people's Audit -par In Chiang Rai) as PDF for free.

More details

  • Words: 920
  • Pages: 65
การยกระดับการใหบริการสาธารณะ โดยการมีสวนรวมของประชาชน (People’s Audit for Thailand) สถาบันพระปกเกลา

ดร. ถวิลวดี บุรีกุล ท.พ.อุทัยวรรณ กาญจนกามล

• เปนโครงการที่ดําเนินการโดยสถาบันพระปกเกลา รวมกับเครือขายหลายๆหนวยงาน อาทิ • สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ หรือ กพร. • โครงการพัฒนาแหงสหประชาชาติ หรือ UNDP • กรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่น • หนวยงานราชการตางๆ และสถาบันการศึกษา • องคกรพัฒนาเอกชน

แนวคิด........

•ความจําเปนที่ตองใหประชาชนเขามามีสวนรวม ในการยกระดับการใหบริการสาธารณะที่รฐั และ ทองถิ่นจัดใหแกประชาชน เพราะจะทําใหประชาชนไดแสดงความพึงพอใจ ความตองการหรือความหวงกังวลตอการบริการ

•การสรางความเปนภาคีเพื่อการทํางาน รวมกัน •เกิดความไววางใจกันในการทํางาน • ผูใหบริการก็จะไดรับการรวมมือที่ดี ผูรับบริการซึง่ หมายถึงประชาชนก็จะ ไดรับการบริการที่ดี

•อะไรบางที่เปนการบริการสาธารณะ

การบริการสาธารณะคืออะไร •เปนกิจกรรมทีร่ ัฐบาลตองรับผิดชอบตอ ประชาชน ซึ่งมีทางเลือก หลายทาง ไมใชเพียงการออกกฎระเบียบหรือให งบประมาณไปดําเนินการ

•เปนการบริการเพื่อคนจํานวน มาก เปนการสรางความ รับผิดชอบตอสังคมและสราง ความไววางใจใหกับประชาชน

•ไมแสวงหากําไร •เปนไปเพื่อประโยชนสุข และคุณภาพชีวิตที่ดีของ ประชาชน

หลักการทีผ่ ูดําเนินการโครงการ People’s Audit ตองมีและยึดไวเพือ่ ใหสามารถ ดําเนินการใหสําเร็จคือ……

•การผูกมัดที่จะทํา และกําหนดไวเปน นโยบายสําคัญของหนวยงาน •ความชัดเจน ความเขาใจตรงกัน เขาใจ รวมกันในวัตถุประสงค เปาหมาย กระบวนการมีสวนรวม และขอมูล ยอนกลับที่ไดจากการประเมิน และที่ สําคัญมีกิจกรรมการมีสวนรวมและได สื่อสารกันเขาใจแลวดวย

•ความทั่วถึง - สรางการเขาถึงโครงการ

โดยทั่วถึงเพือ่ แนใจวาคนพืน้ ฐานตางกันก็ สามารถเขาถึงกิจกรรมนี้ไดเชนเดียวกัน •เคารพกันและกัน เพือ่ แนใจวาทุกคน รับผิดชอบรวมกันและยอมรับฟงความ คิดเห็นของผูอนื่

•มีความรับผิดชอบ

•เพื่อแนใจวาเจาหนาที่ ผูมีสวน รวม และประชาชนรับผิดชอบ รวมกัน •และแนใจวาโครงการนี้จะบรรลุ เพราะมีทรัพยากรตางๆ ตลอดจน ใหเวลาที่พอเพียง

•สํานึกรับผิดชอบ •เพื่อแนใจวาขอมูลที่ไดจากการประเมินเปน ระยะจากผลการมีสวนรวมไดรับการ ถายทอดใหผเู ขารวมทุกคน •และแสดงใหทราบวาผลการศึกษาที่ไดนี้ ถูกนําเขาไปสูกระบวนการกําหนดนโยบาย

•มีการรวมมือกัน •เพื่อแนใจวาหนวยงานตางๆเขามาเกี่ยวของ และ ปฏิบตั ิ รวมทั้งมีการกําหนดขอตกลงรวมกันวาจะ ดําเนินการรวมกัน

•ความไววางใจกัน •เพื่อแนใจวาการติดตอสื่อสารและมีการสราง ความสัมพันธกัน

•มีการบูรณาการ •การคิดเปนองครวม •การทํางานเปนพหุภาคี เพื่อแนใจวามีการมี สวนรวมอยางกวางขวางและครอบคลุมคน ทุกกลุมที่มีความสนใจและอาจไดรับ ผลกระทบจากการตัดสินใจของรัฐและ ทองถิ่น

โครงการวัดระดับการใหบริการของ หนวยงานของรัฐและองคกร ปกครองสวนทองถิ่นโดย กระบวนการมีสวนรวมของ ประชาชน

ทําอยางไรประชาชนจะไดรบั การบริการทีด่ ี ประเมินใหบริการของหนวยงานของรัฐและ องคกรปกครองสวนทองถิน่ โดยกระบวนการ มีสวนรวมของประชาชน

PEOPLE’S AUDIT

วัตถุประสงค • สรางความตระหนักในการมีสวนรวมของ ประชาชนในเรื่องของการใหบริการสาธารณะ • สรางองคความรูในการประเมิน • พัฒนารูปแบบการประเมิน • สรางเครือขายในการประเมิน

กระบวนการ

• เรียนรูจากการแนะนําของ ผูเชี่ยวชาญของ UNDP • สรรหาเครือขาย เชิญชวนใหเขารวม • เรียนรูจากประสบการณของประเทศ ตางๆโดยการสํารวจวรรณกรรม

•เรียนรูจากประสบการณของ ประเทศตางๆโดยการศึกษาดูงาน •สรุปผลการศึกษา •เชิญผูเชีย่ วชาญจากตางประเทศมา แนะนําวิธีการ ( Social Audit)

• รับความรูเพิ่มเติมในเรื่องเทคนิคของการมี สวนรวมและการบริการที่เปนเลิศ จาก วิทยากรประเทศฟลิปปนส • เรียนรูวิธีการตางๆเพิ่มเติมจากการเขารวม สัมมนาที่ประเทศฮองกง • สรุปรวบรวมสิง่ ที่ไดรับ • ตั้งคณะทํางานรางแนวทางการทํา People’s Audit ในประเทศไทย

•คณะทํางานจัดประชุม หารือราง แนวทางการฝกอบรมเพื่อดําเนิน โครงการและจัดทําคูมือในการทํา โครงการ •เขียนเอกสารประกอบการทํา โครงการ

•ทดสอบรูปแบบการแนะนําการทํา people’s audit •ปรับปรุงแนวทางการใหความรูในการทํา people’s audit

• รับสมัครหนวยงานเขารวมโครงการ • ทดลองดําเนินการในจังหวัดนํารอง • สรุปผลการดําเนินการ • ศึกษาเปรียบเทียบและสรุปบทเรียน

ศึกษาความเปนไปไดในการทําโครงการ และความตองการของหนวยงาน

จ. สกลนคร

จัดสัมมนาเรื่องหลักสูตร ในการสราง กระบวนการในการมีสวนรวม

โดยสรุป วิธีการดําเนินงาน • ระยะที่ 1

•เรียนรูรว มกัน สรางองคความรู เรียนรูจากประสบการณของหลาย ประเทศ •สรางเครือขาย ระยะที่ 2 ดําเนินการในพื้นที่นํารอง

แนวทางการทํางาน • การตกลงใจเขารวมเปนเครือขาย • สงพนักงาน เจาหนาทีม่ ารวมเรียนรูและรับ การฝกอบรม ควรเปนกลุมเดียวกันตลอด • รวมดําเนินกิจกรรม รับทราบผล ปรับปรุง อยางตอเนื่อง

ใชการทํางานที่ยึด หลักธรรมาภิบาล

จากแรงบันดาลใจ (inspiration) เกิดการปรับปรุงทันตาเห็น (Improvement)

ทําดวยใจ (Internalization)

นําไปสูก ารปฏิบัติ (Implementation)

สรางนวตกรรม ในการมีสวนรวม (Innovation)

สรางแรงบันดาลใจใหเกิดนวัตกรรม เพื่อใหบริการสาธารณะอยางมีสวนรวม อันจะนําไปสูการปรับปรุงการใหบริการ อยางตอเนื่อง

แนวคิดหลักในการเริ่มดําเนินการโครงการ head ความรู  ความรู

ปฏิการปฏิบัตบัติิ hand

ตระหนัก

ความตระหนัก

heart

ประชาชนตองมีสวนรวมอยางเต็มใจมิใชการบังคับ • การดําเนินการโครงการนี้เปนทัง้ การเริ่มดําเนินการจากผู ใหบริการที่ เรียกวา inside out • และเปนการเริ่มจากภายนอกโดยประชาชนและผูมีสว นได สวนเสียผลักดัน เรียกวา outside in • ทั้งสองวิธีจะรวมกันเปนหนึ่งเดียวเพื่อมุงสูการบริการที่ เปนเลิศเพื่อประชาชนอยางแทจริง

จากภายนอก (outside in)

•คนหาความตองการของประชาชน •การเขาถึงชุมชนทางบวก •การสรางกระบวนการมีสว นรวม

•การถกประเด็น...สนทนาอยางมีสวนรวม •การประชุมเชิงปฏิบัติการ •การวางแผน

เริ่มจากขางในหนวยงานเอง inside out

•การสรางการบริการทีเ่ ปนเลิศ

(Public Service Excellence Program)

การบูรณาการทั้ง 2 วิธี

•การเปนภาคีตอกัน •การสรางธรรมนูญการทํางาน

“ธรรมนูญพลเมือง”

การสรางตัวแบบในการดําเนินการ

•การวางแผนในการดําเนินการ •การประเมินผลแบบมีสวนรวม

•มีสวนรวมอยางแทจริง

•ปรับปรุงอยางตอเนือ่ ง •ผูรบั บริการพึงพอใจ

™โครงการนี้อาจเริ่มชาๆ และตองใชเวลาในการเรียนรู และสรางเครือขายในการทํางาน (แตเปนการเริ่มชาเพื่อเดินหนาอยางรวดเร็วในอนาคต แทนการเริ่มเร็วทําเร็วและในทีส่ ดุ ตองหยุดแกไขและมี ปญหาในทีส่ ดุ )

ทดลองใชแลวใน5 จังหวัด • • • • •

จังหวัดเชียงราย จังหวัดสกลนคร จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดสงขลา

วงจรของการยกระดับการบริการสาธารณะแบบมีสวนรวม แรงบันดาลใจ สรางนวตกรรมในการบริการ

ปรับปรุงการบริการใหดีขึ้น นําไปปฏิบัติ

จากแรงบันดาลใจ (inspiration) เกิดการปรับปรุงทันตาเห็น (Improvement)

ทําดวยใจ (Internalization)

นําไปสูก ารปฏิบัติ (Implementation)

สรางนวตกรรม ในการมีสวนรวม (Innovation)

การยกระดับการใหบริการสาธารณะ โดยการมีสวนรวมของประชาชน (People’s Audit for Thailand)

พื้นที่จังหวัดเชียงราย สถาบันพระปกเกลา

อุทัยวรรณ กาญจนกามล

King Prajadhipok’s Institute

People’s Audit for Thailand

วัตถุประสงค เพื่อศึกษาถึงความสามารถและทักษะของหนวยงานราชการ พื้นที่อําเภอแมจนั จังหวัดเชียงราย ในการประยุกต ปรับใช กระบวนการยกระดับการใหบริการสาธารณะ โดยการ มีสวนรวมของประชาชนในหนวยงานของตนเอง

งานสัมมนาการเมืองการปกครองไทย 2549

Thai Politics Forum 2006

King Prajadhipok’s Institute

People’s Audit for Thailand

พื้นที่การศึกษา 1) เขตเทศบาลตําบลแมจัน 2) เขตองคการบริหารสวนตําบลปาตึง อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย งานสัมมนาการเมืองการปกครองไทย 2549

Thai Politics Forum 2006

King Prajadhipok’s Institute

People’s Audit for Thailand

หนวยงานราชการที่รวมโครงการในระดับพหุภาคีทองถิ่น 1) เทศบาลตําบลแมจัน อําเภอแมจัน 2) องคการบริหารสวนตําบลปาตึง อําเภอแมจัน 3) สถานีตํารวจภูธรอําเภอแมจนั 4) หนวยอนุรักษและจัดการตนน้ําแมจัน 5) สถานีอนามัยตําบลปาตึง อําเภอแมจัน องคกรประชาชนในอําเภอแมจัน 1) องคกรชุมชน ในเขตเทศบาลตําบลแมจัน 2) ชมรมผูส ูงายุ ชมรมแมบานและเยาวชน ตําบลปาตึง 3) กลุมเหมืองฝายลุมน้ําแมจัน 4)เครือขาย อสม. แมจัน 5) กลุมชนเผาอาขา และลาหู ในอําเภอแมจนั

King Prajadhipok’s Institute

People’s Audit for Thailand

ภายหลังจากการอบรมตามหลักสูตรการยกระดับบริการสาธารณะแลว ไดมีการลงนามในบันทึกชวยจํา (MOU) ระหวางผูแทนของหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อใหเกิดการสนับสนุนการดําเนินการโครงการนํารองดังนี้ 1) ผูแทนจากสถาบันพระปกเกลา 2) นายกเทศมนตรีเทศบาลตําบลแมจัน 3) นายกองคการบริหารสวนตําบลปาตึง 4) ผูแทนจากสถาบันเสริมสรางพลังชุมชน

งานสัมมนาการเมืองการปกครองไทย 2549

Thai Politics Forum 2006

King Prajadhipok’s Institute

People’s Audit for Thailand

กรณีศึกษา 1) การปรับปรุงการใหบริการสาธารณะ ของเทศบาลตําบลแมจัน

งานสัมมนาการเมืองการปกครองไทย 2549

Thai Politics Forum 2006

King Prajadhipok’s Institute Audit for Thailand

People’s

กรณีศึกษา 2) การจัดการลุมน้ําของ เครือขายการจัดการลุมน้ําจัน

งานสัมมนาการเมืองการปกครองไทย 2549

Thai Politics Forum 2006

King Prajadhipok’s Institute Audit for Thailand

People’s

กรณีศึกษา 3)การจัดทําใบแทนใบขับขี่เพื่อพี่นองบนพื้นที่สูง ที่ไมสามารถมีใบอนุญาตขับขี่

งานสัมมนาการเมืองการปกครองไทย 2549

Thai Politics Forum 2006

King Prajadhipok’s Institute Audit for Thailand

People’s

กรณีศึกษา 4) การสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพชุมชน ของสถานีอนามัยตําบลปาตึง

*

งานสัมมนาการเมืองการปกครองไทย 2549

Thai Politics Forum 2006

King Prajadhipok’s Institute Audit for Thailand

งานสัมมนาการเมืองการปกครองไทย 2549

People’s

Thai Politics Forum 2006

King Prajadhipok’s Institute Thailand

• โอกาสในการมีสวนรวม • ภาวะผูนํา • บริบทขององคกร • โครงสรางและสัดสวนของประชาชน • การมีสวนรวมแบบเกือ้ กูล • ความรูในเรื่องการยกระดับบริการ • กระบวนการเขาถึงประชาชน • ชนิดของบริการสาธารณะ

People’s Audit for

พลังชุมชน ประสิทธิผล การมีสว นรวม

ปจจัยสําคัญที่มีผลตอความสําเร็จ ของโครงการนํารอง พื้นที่เชียงราย

King Prajadhipok’s Institute Thailand

People’s Audit for

การติดตามและประเมินผลกรณีศึกษาที่เห็นวาเปนปฏิบัติการที่ดที ี่สุด (best practice)

การสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพชุมชนของสถานีอนามัยตําบลปาตึง ปจจัยทีม่ ีผลตอความสําเร็จ 1) ทีมงานเจาหนาสาธารณสุขตําบล สวมบทบาท“ผูนําการเปลี่ยนแปลง” แสดงเจตนารมณที่จะเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมอยางแทจริง สามารถใชเทคโนโลยีการมีสวนรวม ในฐานะ ผูจุดประกาย ผูเอื้ออํานวย ผูประสานงานและผูเสริมสรางพลังกลุมไดอยางเหมาะสม 2) ผูนําธรรมชาติในชุมชน มีทักษะในการสื่อสาร 2 ทางไดอยางมีประสิทธิภาพ

งานสัมมนาการเมืองการปกครองไทย 2549

Thai Politics Forum 2006

King Prajadhipok’s Institute Thailand

People’s Audit for

การติดตามและประเมินผลกรณีศึกษาที่เห็นวาเปนปฏิบัติการที่ดที ี่สุด (best practice) 3) มีการระดมสรรพกําลังจากพหุภาคีโดยมีเจาของสุขภาพรวมเปนเจาภาพอยางแข็งขัน 4) มีการเขาถึงชุมชนในเชิงบวก โดยเริ่มจากสิ่งที่ชาวบานมี อาทิ ภูมปิ ญญาทองถิ่น วัฒนธรรมชุมชน กอใหเกิดการเสริมสรางพลังชุมชนอยางแทจริง 5) บริบทขององคกร มีการบูรณาการงานสาธารณสุขไดอยางเหมาะสม โดยพลิกฟนวิถีชีวิตวัฒนธรรม ทองถื่นทีม่ ีคุณคา มากอกระแส กลุม พลัง ทั้งผูสูงอายุ แมบานและเยาวชน

งานสัมมนาการเมืองการปกครองไทย 2549

Thai Politics Forum 2006

King Prajadhipok’s Institute Thailand

People’s Audit for

การติดตามและประเมินผลกรณีศึกษาที่เห็นวาเปนปฏิบัติการที่ดที ี่สุด (best practice)

6) การนําธรรมนูญพลเมืองหรือขอตกลงรวมกันระหวางพหุภาคีมาใช ทําใหเกิดพันธสัญญาที่ผนึกแนนมั่นคงตอกัน 7) โครงสรางและสัดสวนของประชาชนตอการมีสวนรวม 8)

ความรูในเรื่องการยกระดับบริการสาธารณะ

งานสัมมนาการเมืองการปกครองไทย 2549

Thai Politics Forum 2006

King Prajadhipok’s Institute Thailand

People’s Audit for

ความคิดเห็นของประชาชนในพื้นที่ตําบลแมจนั และตําบลปาตึงตอบริการสาธารณะ

ความพึงพอใจของประชาชน

การจัด การขยะ ความปลอดภัย สาธารณ ะ การพั ฒ นาสิ่ง แวดลอม งานสัมมนาการเมืองการปกครองไทย 2549

ก อน

หลัง

+/-

(n=500) 61.3

(n=500) 77.3

รอยละ

76.5

79.7

+3.2

85.5

82.7

-2.8

+16.0

Thai Politics Forum 2006

King Prajadhipok’s Institute Thailand

People’s Audit for

ก ารประเมิ นผ ลอย างมี ส วนรวม ในการสรางเสริมสุขภาพชุมชน

ใ นก ลุ ม ผู สู ง ายุ แม บ า นและ เย าวช น ตํ า บลป า ตึ ง อํ า เภอแม จั น เชี ย งราย

ตัวแปรของการเปลี่ยนแปลงชุมชน ค า เฉลี่ ย ค า มัธยฐาน ค า ฐานนิย ม พิ สยั

ความสามัค คี การมีสว นรวมในโครงการ สรา งเสริมสุข ภาพ สุข ภาพกาย สุข ภาพจิ ต ความอบอุนในครอบครัว ความมีชี วติ ชี วา

4.55

5

5

4-5

4.55

5

5

4-5

4.21

4

4

3-5

4.45

4.5

5

3-5

4.45

4

4

4-5

4.33

4

4

4-5

การประเมิ น อย า งมี ส ว  นร ว ม กลุ  ม ผู ส  ง ู อายุ แม บ า  น และเยาวชน King Prajadhipok’s Institute People’s Audit for Thailand

5

มีสวนรวมในโครงการฯ

4.55

มีชีวติ ชีวา

5

5

4.55

มีความสามัคคี

4.33

1

มีความอบอุน 5 ในครอบครัว

4.45

4.21

5

สุขภาพกายดี

4.45

5

งานสัามตึมนาการเมื องการปกครองไทย Thai Politics ตําบลป ง เชียงราย างเสริ มสุขForum ภาพชุ2006 มชน สุข2549 ภาพจิตดี โครงการสร

King Prajadhipok’s Institute

ริเริ่มจากรากหญา เรียนรูจากใจคน รองรับความตองการ ประชามิใชไพร งานสัมมนาการเมืองการปกครองไทย 2549

People’s Audit for Thailand

เรงศึกษาจากชุมชน รับรูคนคิดอะไร ไมหักหาญซึ่งน้ําใจ ตองกาวไปคูเ คียงกัน

Thai Politics Forum 2006

Related Documents

In Rai
June 2020 21
Rai
November 2019 37
In Rai Cap 2
June 2020 5
Peoples
November 2019 28
1161 (rai)
May 2020 18

More Documents from "ramu reddy"

May 2020 0
June 2020 2
July 2020 5
November 2019 1
November 2019 1