People's Audit On Forest Conservation:รายงานโครงการยกระดับการอนุรักษ์ป่าไม้โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

  • Uploaded by: Uthaiwan Kanchanakamol
  • 0
  • 0
  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View People's Audit On Forest Conservation:รายงานโครงการยกระดับการอนุรักษ์ป่าไม้โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน as PDF for free.

More details

  • Words: 3,955
  • Pages: 82
1

รายงานโครงการยกระดับการ อนุรักษปาไม โดยการมีสวนรวมของประชาชน ในทองที่ ต.บานแซว อ.เชียงแสน จังหวัดเชียงราย (People’s Audit on forest conservation)

ภายใตการสนับสนุนของ

โครงการสหประชาชาติเพือ่ การพัฒนา รวมกับ สถาบันพระปกเกลา ปพ.ศ. 2549

2

กิตติกรรมประกาศ โครงการยกระดับการ อนุรักษปาไม โดยการมีสวนรวมของประชาชน ในทองที่ ต.บาน แซว อ.เชียงแสน จ.เชียงราย มีสมาชิกที่เขารวมกิจกรรม 7 หมูบาน ไดใชกระบวนการ การมี สวนรวมของประชาชน ในชุมชน หรือหมูบานตนเองในการบริหารจัดการปา และพัฒนาอาชีพ ดานปาไม โดยเริ่มตั้งแต การรวมคิด รวมวางแผน รวมดําเนินการ รวมประเมินผล และทายที่สุด ก็ไดมีการจัดทําขอตกลงรวมกันที่จะรวมกันอนุรักษปาไม และพัฒนาอาชีพดานปาไมรวมกัน ทั้งในหมูสมาชิกเดิม และสมาชิกใหมที่จะรวมมาเปนภาคีในอนาคต ความสํ า เร็จในการมีสว นร วมของประชาชน ในท อ งที่ ต.บ า นแซว อ.เชีย งแสน จ. เชียงราย ครั้งนี้ มีปจจัยหลักก็คือ การเปดใจรับนวัตกรรม ของสมาชิกทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ร ว มมื อ กั น จากคนในชุ ม ชน การที่ มี ลู ก ศิ ษ ย จ ากสถาบั น พระปกเกล า ที่ ผ า นการอบรมการ ยกระดับ การใหบริการสาธารณะ (People’s Audit) ที่อําเภอแมจัน ในป พ.ศ. 2549 โดยเฉพาะ อยางยิ่ง อาจารย ดร.ถวิลวดี บุรีกุล และ อาจารย ทพ.อุทัยวรรณ กาญจนกามล ที่ใหคําแนะนํา และติดตามการดําเนินงานอยางใกลชิด ดวยดีตลอดมา จึงขอขอบพระคุณไว ณ โอกาสนี้ นายอานุภาพ เจริญไชย นางจุฬาวดี หอมจันทร ผูประสานงานโครงการฯ

3

บทที่ 1 ความเปนมาโครงการ ดวยกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยกรมปาไมไดดาํ เนินการจัดตัง้ หมูบานปาไม แผนใหมตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถขึ้นในทองที่ตําบลบานแซว อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย จํานวน 7 หมูบาน เพื่อเปนการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระ เจาอยูหวั ที่ทรงครองราชยปที่ 50 และเฟอเปนการเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ ทั้งยังเปน การคืนผืนปาใหแกธรรมชาติและแผนดินอยางยั่งยืน การดําเนินการที่ผานมาคณะกรรมการหมูบ านปาไม แผนใหมฯใหประชุมประชาคมหมูบาน เพื่อกําหนดแผนบริหารจัดการปาไมและโครงการสงเสริมการ พัฒนาอาชีพดานปาไมของแตละหมูบานแลวเสร็จ ตั้งแตเดือนกันยายน 2548 โครงการหมูบานปาไมแผน ใหมฯ จํานวนโครงการ 7,600 หมูบาน กระจายอยูใ นพื้นที่ จังหวัดตางๆของประเทศ ในขณะนั้นนาย อานุภาพ เจริญไชย เจาหนาที่บริหารงานปาไม 6 ทําหนาที่หวั หนาหนวยบริการปาไม อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย มีหนาที่รับผิดชอบ 7หมูบ าน ในตําบลบานแซว อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ตามการ คัดเลือกของคณะกรรมการหมูบานปาไมแผนใหมฯ ใหดําเนินไปตามนโยบายของกรมปาไม

หมูบ านในโครงการหมูบ านปาไมแผนใหม อําเภอเชียงแสน เหนือสุดดินแดนสยามมีแมน้ําโขงไหลผานและเปนเสนกั้นพรมแดนไทย ลาว พมา มีสามเหลี่ยมทองคําที่มีชื่อเสียงไปทัว่ โลกวาเปนแหลงแลกเปลี่ยนฝนดิบในอดีต โครงการหลวงดอย ตุงไดมาสรางหอฝน โดยเจาะภูเขาเปนอุโมงคสวยงามมากทั้งภายในและภายนอก แสดงการเดินทางของฝน ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน เปนสถานที่นาเยีย่ มชมมากแหงหนึ่งในประเทศไทย เชียงแสนมีการคาขายตาม เสนทางของลําน้ําโขง มีทาเรือสินคาไทย-จีน เรือสินคาจีนจะมาจากภาคใต (ยูนาน)ของประเทศจีน เปน สินคาประเภท ผัก ผลไม ขนม ไทยก็จะสงสินคาที่ประเทศจีนไมมหี รือมีแตไมเพียงพอเชน ยางพารา น้ํามัน ปาลม เม็ดพลาสติก ลําไย ผลไมชนิดนี้จนี ทางภาคเหนือ(หูหนาน)มีความตองการมากเพราะอากาศหนาวจัด การจะปรุงอาหารตองมีลําไยเปนสวนผสมเพื่อชวยใหความรอนของรางกาย การคาขายระหวาง ไทย-ลาว สินคาสวนมากเปนประเภทของปา เชน เปลือกไก (ใชทําผงธูป ยากันยุง)เปลือกกอ ไมทอน ไมแปรรูป สมุนไพร ไทยจะสงสินคาทีล่ าวตองการจําพวกวัสดุกอสรางเชน สังกะสี ปูนซีเมนต เหล็กเสนเปนตน ใหแกลาว สวนการคาระหวางไทย-พมา จะไปทําการคาทางดานอําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย แตมีสี่งหนึ่ง ที่สามประเทศรวมกันคือ โรงแรมกลางลําน้ําโขงที่มีชื่อวา พาราไดร เปนโรงแรมที่อยูบนเกาะกลางแมน้ํา โขง พรอมอมคอปฟช็อบ กาสิโน มีเรือรับ-สง ไปสถานที่นี้ฟรี ตั้งอยูระหวางสามเหลี่ยมทองคํา- แมน้ําโขง

4 จุดนีแ้ บงเขตไทย ลาว พมา ความเจริญทางการทองเที่ยว การคา และวัฒนธรรม เปนภาพที่หยอกลอกันกับ โบรานสถาน วัดเกาแกแตครั้งอดีต เจดียโบราณ พระพุทธรูปปูนปนที่ตากแดด ตากฝนอยูกลางแจง คูเมือง กําแพงเมือง ประตูเมืองทั้งสี่ทิศซึ่งบางประตูมีอดีตแหงการรวมอาณาจักรไทยใหเปนหนึ่งเดียว เปน ประวัติศาสตรที่ควรคาแหงการจดจํา เชียงแสนอําเภอชายแดนที่มีเมืองหลวงโบราณทับซอนกัน ตัง้ แตครั้ง อดีต หลายยุคผานมา สุวรรณโคมคํา นครหลวงโบราณยุคขอมเรืองอํานาจตั้งอยูบริเวณอําเภอเชียงแสน บานสบรวก สวน หนึ่งไดจมลงในแมน้ําโขงเมือ่ กระแสน้ําเปลี่ยนเสนทางการไหล บางสวนอยูใ นประลาวบริเวณ ทาเรือแขวงบอแกว ผานมาอีกยุคเชียงแสนก็มีชื่อใหมคือ นครเงินยางศีรชางแสน(พระเจาแสนภู) วันเวลา ผานไปเมื่อมีเมืองหลวงใหม เมืองเชียงราย และนครพิงคศรีเชียงใหม เชียงแสนถูกลดความสําคัญลง ก็มี บทบาทเปนเมืองลูกหลวงของเมืองเชียงรายในสมัย พอขุนมังรายมหาราชตนราชวงคจักรีเชียงแสนเปนเมือง หนาดาน บางเวลาก็เปนสถานที่ซองสุมกําลัง เสบียงของอริราชศัตรู(พมา) หลายครั้งหลายหนที่หวั เมืองฝาย เหนือ ดินแดนลานนาตองทําศึกอยูเปนระยะๆ หาความสงบไมได จนเปนเหตุใหพระยาจักรี ตัดสินใจเผา เมืองเชียงแสน กวาดตอนราษฎรไปใหหางไกลจากสมอรภูมิรบ เชียงแสนนับแตนนั้ มีสภาพเปนเมืองราง มี เพียงสี่งกอสรางที่ถูกเผาทําลาย วัดวาอารามก็ถูกปลอยใหรกรางไปเชนกัน เมื่อศึกสงครามสงบลงมีความ ปลอดภัย จึงมีชาวบานอพยพมาจากหลายๆที่ มาตั้งครัวเรือนกันใหม ชาวบานทั้ง 7 หมูบ าน ที่เขารวมโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯเปนชาวบานที่อพยพมาตั้งถิ่น ฐานใหม สังคมใหม ณ ตําบลบานแซว อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ไดแก 1. บานหวยเดื่อหมูที่ 4 หรือบานปาไรหลวง ไมทราบแนชัดวามาตั้งครัวเรือนป พ.ศ.ที่เทาไหรเปนชน เผา อิวเมี่ยน อีกอ มูเซอ คนพื้นเมือง คอยๆรวมตัวกันเปนชุมชน ปาชุมชนของบานหวยเดื่อเริ่มจากการกัน พื้นที่ประมาณ 840 ไรออกจากพื้นที่ทํากินหลักของครัวเรือน ไวหาของปาเชนเห็ด หนอไม สมุนไพร ปจจุบันนายอุดมกิจ สุขศิรมิ งคล เปนผูใหญบาน 2. บานปาตึงหมูที่ 5 อพยพมาตั้งครัวเรือนประมาณป พ.ศ. 2509 อพยพมาจาก อ.แมจัน อ.พาน อ.เชียงคํา อ.แมสาย และจ.ลําพูน ปาชุมชนของบานปาตึงเริ่มขึ้นในป พ.ศ.2518 ขณะนัน้ มีชาวบาน 258 ครัวเรือน ไดจัดตั้งกรรมการแบงเขตปาชุมชนออกจากพื้นที่ทํากินไดปาชุมชนประมาณ 260 ไร ปจจุบันนายคําตัน ทิวาคํา เปนผูใหญบาน 3. บานเกาะผาคําหมูที่ 6 ประมาณป พ.ศ. 2493 ประชาชนจากประเทศลาว อพยพขามแมน้ําโขง มายังฝงประเทศไทย ที่บานเตาถาน มาทําการคาขาย ตอมาประชาชนชาวไทยจาก ภาคอีสาน ภาคเหนือ จ.ลําปาง จ.แพร ไดอพยพมาอยูร วมดวย จนถึงป พ.ศ. 2525 มีการเปลี่ยนชือ่ หมูบาน เปน บานเกาะผาคํา เนื่องจากลําน้ําโขงหนาหมูบานมีกอนหินเปนเกาะกลางลําน้ํา ปาชุมชนของ บานเกาะผาคําเริ่มจากชาวบาน เห็นปาไมในบริเวณรอบๆหมูบานคอยๆหายไปเปนที่ทํากินและ

5 เปนสิทธิเฉพาะบุคลจึงรวมตัวกัน เมื่อประมาณสิบกวาปที่ผานมากันเขตใกลๆวัดเกาะผาคําประมาณ 400 ไร เปนปาชุมชนของหมูบาน ปจจุบันนายเสมา กาคํา เปนผูใ หญบาน 4 .บานหวยกวานหมูที่ 9 อพยพมาจากชายแดนอําเภอแมสาย ตั้งแต ป พ.ศ. ที่เทาไหรไมมีการบันทึกไว เปนชนเผาอิ้วเมี่ยน หรือ เยา ปาชุมชนของบานหวยกวาน เกิดจากชาวบานไดประโยชนจากปาจึงมีความ เห็นชอบจากชุมชน ที่จะรวมอนุรักษปาไมประจําหมูบานไวประมาณ 240 ไร ปจจุบนั นายพีรวัฒน ธีรบัณ ทิตกุล เปนผูใหญบาน 5 .บานสันทรายกองงามหมูที่ 10 ประวัติเดิมเปนหมูบ านราง ชื่อหมูบานปากลวย มีชนพื้นเมืองประมาณ 10 ครอบครัว มาทําไร เปนพื้นที่อุดมสมบูรณ ตอมาชนเผาไทลื้อไดอพยพมาอยูรว มดวย เมื่อ ป พ.ศ. 2518 ไดตั้งชื่อหมูบา นใหมวา สันทรายกองงาม อยูในการปกครองของ อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย จนมาถึงป พ.ศ. 2522 ไดมาอยูในการปกครองของ อําเภอเชียงแสน ปาชุมชนของบานสันทรายกองงามเริ่มขึ้นเมื่อ ป พ.ศ. 2518 โดยชาวบานในหมูบานเห็นสมควรกันพืน้ ที่ปา ไมประมาณ 500 ไร เพื่ออนุรักษไวใหลูกหลาน เยาวชนรุนหลังไดใชประโยชนอยางยั่งยืน ปจจุบันนายทองคํา จับใจนาย เปนผูใหญบาน 6. บานหวยน้าํ เย็นหมูที่ 13 อพยพมาจากอําเภอเทิง จังหวัดเชียงรายมาตั้งครัวเรือนประมาณป พ.ศ. 2512 เปนชนเผาอิ้วเมียน หรือเยา พื้นที่เปนภูเขาสูงมีการถางปาเพื่อทําไรเลื่อนลอยจํานวนมาก ปาชุมชนของ หมูบานหวยน้าํ เย็น เกิดจากมีชาวบานสวนหนึ่งมีแนวคิดจะรักษาผืนปาไว เพื่อเปนแหลงอหารแหลงน้ํา แหลงสมุนไพร จึงรวมตัวกันแบงกันเขตภูเขาที่ยังคงเปนปาไม ออกจากการถางปาทําไรเลื่อนลอย ไดพนื้ ที่ ประมาณ 150 ไร และอนุรักษไวจนถึงปจจุบัน บานหวยน้ําเย็นมีปาตนน้ําแยกจากพื้นที่ปาชุมชนของ หมูบานอีกประมาณ 800ไร เปนปาตนน้ําของ น้ําแมแอบ และหวยน้ําเย็น ปจจุบัน นายแสงติง แซพา น เปน ผูใหญบาน 7. บานแซวกลางหมูที่ 14 ชาวบานอพยพมาจาก คนพืน้ เมืองในจังหวัดเชียงใหม คนพื้นเมือง จังหวัดลําพูน ชนเผาไทลื้อ คนยอง จังหวัดลําพูน มาอยูร วมกันในการปกครองของ อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย ถึงป พ.ศ. 2524 จึงมาอยูใ นการปกครองของอําเภอชียงแสน จังหวัดเชียงราย ปาชุมชนของบานแซวกลางเริ่มจาก ชาวบานมีความตองการที่จะรักษาปาใกลๆหมูบานไวเปนแหลงปจจัยสี่ จึงรวมตัวกันคัดเลือกพื้นที่ ที่มีความ เหมาะสมไดพนื้ ที่ประมาณ 1005ไร เปนปาของหมูบานและรักษาสืบมา ปจจุบัน นายณรงค แกวคําเปน ผูใหญบาน ชาวบานทั้ง 7 หมูบ าน มีจิตใจทีค่ ิดจะอนุรกั ษปาไมของพวกเขามาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน กอนที่ โครงการปาชุมชน โครงการปาไมแผนใหมตามแนวพระราชดําริ 72พรรษา พระบรมราชินีนาถ โครงการ การประชุมเชิงปฏิบัติการการยกระดับการอนุรักษปาไมโดยการมีสวนรวมของประชาชนจะเขาไปถึงพวก เขา พวกเขาแตละหมูบานรวมตัวกันมาเปนเวลานานมาแลวในแนวคิดที่คลายๆกันที่จะอนุรักษผนื ปาให ยั่งยืนสืบไป ตามกําลังสติปญญาที่มี พวกเขาดีใจเปนอยางยิ่งที่มีโครงการตางๆเขามา มาเติมสิ่งที่พวกเขา

6 ขาด มารวมพวกเขาใหไดมีโอกาสพบกันเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มาเสริมทักษะในสวนทีพ่ วกเขา ตองการ และคงจะมีอีกหลายสิ่งหลายอยางที่พวกเขาตองการ หลังจากที่ตองโดดเดีย่ วอนุรักษผืนปาเพียง ลําพังมาเปนเวลาชานาน ปจจุบันพวกเขามีเพื่อนรวมแนวทางเดียวกันจากหมูบานทีเ่ ขารวมโครงการฯมา ชวยกันคิด มามีสวนรวมในการพัฒนาผืนปาของพวกเขาใหยั่งยืนสืบไปตามเจตนา และตามนโยบายของ กรมปาไม หลักการและเหตุผลการทําโครงการ เพื่อใหการดําเนินงานเกี่ยวกับหมูบานปาไมแผนใหมตามพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ ที่ไดดําเนินการแลวเสร็จไปทั้ง 7หมูบ าน รวมถึงหมูบานอื่นที่อยูใ น บริเวรใกลเคียงและอยูห างไกลออกไปที่มแี นวคิดจะจัดการปาและชุมชนในลักษณะเดียวกันนี้เกิด ประสิทธิผล มีการพัฒนาอยางตอเนืองยั่งยืนสืบไป โดยความรวมมือมีสวนรวมในการบริหารจัดการ เกี่ยวกับสิ่งแวดลอมและธรรมชาติ สอดคลองกับความตองการของทองถิ่นและนโยบายรัฐบาล จึงมี แนวความคิดที่จะดําเนินการจัดประชุมคณะกรรมการหมูบาน ที่ปรึกษา ผูนําชุมชนและแกนนํา คณะกรรมการหมูบานปาไมแผนใหมฯขึ้น วัตถุประสงคโครงการ 1 เพื่อจัดทําแผนการบริหารจัดการและพัฒนาปาไม ในเขตปาชุมชนของหมูบาน 2 เพื่อปรับปรุงการบริหารจัดการปาไมชุมชน และโครงการพัฒนาอาชีพดานปาไม 3 เพิ่อเพิ่มศักยภาพของหมูบานปาไมแผนใหม ในการจัดการปาและชุมชน เปาหมาย คณะกรรมการหมูบานปาไมแผนใหมตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72พรรษา พระบรมราชินีนาถ ทองที่ตําบลบานแซว อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ไดแกบานหวยเดื่อ หมูที่ 4 บานปาตึง หมูที่ 5 บานเกาะผาคํา หมูที่ 6 บานหวยกวาน หมูที่ 9 บานสันทรายกองงาม หมูที่ 10 และบานแซวกลาง หมูที่ 14 จํานวน 7 หมูบาน คณะกรรมการ จํานวน 49 คน และแกนนํา จํานวน 35 คน วิธีการดําเนินการ 1. จัดประชุมเชิงปฎิบัตบิ ัตการระหวางคณะกรรมการที่ปรึกษา ผูนาํ ชุมชน7 หมูบา น จํานวน 49 คน เจาหนาทีจ่ ากหนวยราชการที่เกี่ยวของ และองคการบริหารสวนทองถิ่นจํานวนทั้งหมด 60 คน เพือ่ ศึกษา ทบทวน การทํางานรวมกันในโครงการเดิมที่ผานมา วิเคราะหสถานการณปจจุบัน และกําหนดวิสยั ทัศน ของการอนุรักษปาไม ตลอดจนกําหนดนโยบายการอนุรักษปาไมและพัฒนาหมูบานรวมกัน ใชเวลา 2 วัน 1 คืน 2. จัดฝกอบรมเชิงปฎิบัตการแกนนําหมูบาน ผูนําชุมชน เพื่อวางแผน กําหนดนโยบาย จัดทําแผน ปฎิบัตการรวมกันเพื่อปรับกระบวนทศนคนหาความตองการ และแนวทางการมีสว นรวมของประชาชน

7 ในการอนุรักษปาไมอยางยั้งยืน ใชเวลา 3 วัน 2 คืน 3. รวมกันสํารวจภาคสนามเพื่อคนหาประวัตศิ าสตรชุมชน สินทรัพยชุมชน ความตองชุมชนและ แนวทางพัฒนาที่ชุมชนตองการ 4. ดําเนินงานแบบพหุภาคี ระหวางภาคราชการ องคกรบริหารสวนทองถิ่น องคกรชุมชนและ ประชาชน เพือ่ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ การอนุรักษปาไมและการพัฒนาอาชีพ โดยการมีสวนรวมของประชาชน ภายใตการตกลงรวมกันเปนธรรมนูญพลเมือง 5. จัดใหมีการประเมินผลแบบมีสวนรวม ระยะเวลาการดําเนินการ ในเดือนธันวาคม 2548-2551 ผูรับผิดชอบโครงการ - นายอานุภาพ เจริญไชย ตําแหนง เจาหนาที่บริหารงานปาไม 6 หัวหนาโครงการหมูบาน ปาไมแผนใหมตามแนวพระราชดําริ 72 พรรษาพระบรมราชินีนาถ ทองที่ อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย -คณะกรรมการหมูบานปาไมแผนใหมฯ หมูที่ 4 ,5 ,6 ,9 ,10 ,13 และ 14 ตําบลบานแซว อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ผลที่คาดวาจะไดรับ 1 เกิดเครือขายประสานงานปาชุมชนตามโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯอยางกวางขวางและมี ประสิทธิภาพสูง 2 เกิดการเรียนรูแ ละยกระดับการเรียนรูการจัดการปาชุมชน ตามโครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถอยางยั่งยืน 3 มีการพัฒนาปาชุมชนตามโครงการหมูบานปาไมแผนใหม ของราษฎรชุมชนสอดคลองกับ นโยบายรัฐบาล 4 ประชาชนไดรบั การสนับสนุนและพัฒนาปาไมและชุมชนมากขึ้น

8

บทที่ 2 ผลการจัดกิจกรรม กิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการหมูบาน กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมเชิงปฎิบัตการระหวางคณะกรรมการที่ปรึกษา ผูนําชุมชน 7 หมูบาน จํานวน 49 คน รวมทั้งหมด 60 คน เพื่อศึกษาทบทวน การทํางานที่ผานมา วิเคราะหสถานการณ ปจจุบัน และกําหนดนโยบายการอนุรักษปาไมและพัฒนาหมูบานรวมกัน วันที่ 8-9 ธันวาคม 2549 เปนเวลา 2 วัน 1 คืน สถานที่จัดอบรม องคการบริหารสวนตําบลบานแซว อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ผูเขารับ การฝกอบรม คณะกรรมการหมูบานปาไมฯ ที่ปรึกษา ผูนําชุมชนหมู ที่ 4, 5, 6 ,9,10,13,14 ตําบลบานแซว อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย และเจาหนาที่องคการบริหารสวนทองถิ่นที่ เกี่ยวของ รวมทั้งหมด 60 คน รายชื่อผูเขารวมประชุม หมูที่ (4) 1 นายดิเรก มอแลภู 2 นายอาแยะ เลอเชอกู 3 นายอาตี๋ เลอเชอกู 4 นายนิพน ลีกิตติกุล 5 นายอุดมกิจ สุขศิริมงคลกิจ 6 นายชานุลิน แซนัง หมูที่ (5) 1 นายอาชาน มอมเก 2 นายบูญเที่ยง กันทะอิน 3 นายจักร ประชุม 4นายบุญธรรม สุคํามา 5 นายคําตัน ทิวาคํา 6 นายจรูญ จําปาทอง 7 นายไพรัช กลิ่นบุปผา 8นายศีรวงค ลือคําตา 9 นางมี กลิ่นบุปผา 10 นายสม นพรัตน หมูที่ (6) 1. นาย อนันต จงรักษ 2. นายสมชาย คํามี 3 .นายอินคํา เรือนปานันท 4. นายจํานงคแกว คํา 5นายคลาชัย เขื่อนเพรช หมูที่ (9) 1 นายพีรวัฒน ธีรปณทิตกุล 2 ปฏิวัฒน แซจาว 3 นายนายณวัฒน แซเติ้น 4 นายไหน เหมย แซจาว 5 นายลาอู แซทัง หมูที่ (10) 1นายดํารง มาฤทธิ์ 2 นายสนอง คํามลู3 นายทองคํา จับใจนาย 4นายบุญมา บุญยังนายตัน ชัยมงคล 6นายสงัด ใจแกว 7นายยืนยงแสงสุวรรณ 8นายบุญมี อุนเมือง 9นายวรยุทธ สิงหคํา 10 นายอนันต ศิริวงคษา 11 นายอินทร ทะทอง12 นางนอย ไชยนาค 13 นายณรงค วังมณี หมูที่ (13) 1 นายแสง แซพาน 2 นายพนาไพร แซฟุง 3นายมนตชัย แซพาน 4 นายเกาเชียงแซลี 5 นายไหนเชียง แซลี 6 นายอุงไหน แซฟุง 7 นายอานิออน แซพาน หมูที่ (14) 1 นายสมพร แกวคํา 2 นายณรงค แกวคํา 3 นายสนั่น แกวคํา 4 นายอินคํา แกวคํา 5 นายประพันธ แกวคํา เจาหนาที่จากหนวยราชการ นายบุญธรรม จันทาพูน กํานันตําบลบานแซว ร.ท.เริงฤทธิ์ จําปาพันธ

9 กอ.ร.ม.น นายสมควร สุตะวงค นายกองคการบริหารสวนตําบลบานแซว คณะวิทยากร นายอุทัยวรรณ กาญจนกามล นายอานุภาพ เจริญไชย นายสุรพล เครือสุวรรณ นายอัศนีย วงคอารี จ.ส.ต. ศุภชัย ราชเมืองแกว จ.ส.ต.อุดม ใจลังกา นางสมศีร ภพลือชัย นางจุฬาวดี หอมจันทร นายชัยวา สิทธิ์คงตั้ง เนื้อหาการจัดกิจกรรมการประชุม กําหนดการ วันเสารที่ 8 ธันวาคม 2549 08.30 -ลงทะเบียน 09. 00- พิธีเปดอบรม 09 .30- กรรมการหมูบานทัง้ 7 หมูบานแนะนําตัวเอง พืน้ ที่ในความรับผิดชอบ 10 .30-อาหารวางและเครื่องดื่ม 10. 45-ตัวแทนแถลงผลการดําเนินงานดานการบริหารจัดการปาไมชุมชนของแตละหมูบาน จํานวนพื้นที่ความรับผิดชอบในรอบปที่ผานมา 12. 00-รับประทานอาหารกลางวัน 13 .00-ตัวแทนแถลงผลการดําเนินงาน ( ตอ ) 14 .30-อาหารวาง และ เครื่องดื่ม 14. 45-ตัวแทนของคณะกรรมการแตละหมูบานอบขอซักถาม วันอาทิตยที่ 9 ธันวาคม 2549 09 .00- ตัวแทนคณะกรรมการแตละหมูบานกลาวถึงผลงานดานการ พัฒนาอาชีพและสิ่งที่เปนของ ดีแตละหมูบานที่จะนํามาพัฒนาเปนอาชีพ และเปนอาชีพเสริมได 10 .30-อาหารวาง และ เครื่องดื่ม 10 .45-ผลการดําเนินงานดานการพัฒนาอาชีพและสิ่งที่เปนของดีแตละหมูบานทีจ่ ะนํามาพัฒนา เปนอาชีพได และเปนอาชีพเสริม(ตอ) 12 .00-รับประทานอาหารกลางวัน 13. 00-แกนนําและกรรมการ รวมแสดงความคิดเห็น ความคาดหวังทีแ่ ตละหมูบานตองการจะให เปนในอนาคตของปาชุมชน 5-10ปขางหนา 14 .30-อาหารวาง และ เครื่องดื่ม 14 .45-สรุปผลที่ไดรับจากการฝกอบรม และแนวทางการขยายผล 16 .00-พิธีปดการอบรมเชิงปฏิบัติการ

ผลของการประชุม

10 1.บานหวยเดือ่ หมูที่ 4 มีเนือ้ ที่ปาชุมชนจํานวน 850 ไร ไดรับเงินสนับสนุนจากโครงการ หมูบานปาไมแผนใหมฯ จํานวน 130,000 บาท ( หนึ่งแสนสามหมื่นบาท) รายงานการทํางานที่ผานมาดังนี้ จัดทําปายถาวรปาชุมชนระบุกฎ ขอหามของการใชปาชุมชน รวมกัน จัดทําแนวกันไฟ ปลูกตนที่ยังไมมีเสริม จัดทําแนวเขตปาชุมชนใหชดั เจน สิ่งดีๆภูมิปญญาทองถิ่น สามารถพัฒนาเปนอาชีพเสริม 1 การอนุรักษอาชีพชนเผา เชนตีเครื่องเงิน การจักรสาน 2 การมีสวนรวมในการรักษาปาชุมชน 3 การรูจักใชวัตถุดิบในปาชุมชนมาเปนอาชีพเสริม 4 สรางจิตสํานึกชุมชนโดยมีการรักษาอนุรักษสัตวปา ความภาคภูมิใจ ทุกๆคนมีสวนรวมการคิดเห็น การรักษาปาอนุรักษปาชุมชน ความคาดหวังในอนาคตของโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ 1 สรางความสามัคคี โดยมีสวนรวมของภาคประชาชนในหมูบาน มีความรักปา รวมกัน 2 สรางความสมดุลยปา ทําใหสิ่งแวดลอมดีขึ้น 3 สรางจิตสํานึกในชุมชน มีการอนุรักษสัตวปาตางๆ 4 ชวยกันปลูกหรืออนุรักษ สมุนไพรเพื่อนําไปใชประโยชนตอไป 5 เปนแหลงอาหารที่นํามารับประทานไดของชุมชน 6 เปนแหลงอาชีพเสริม อีกทางหนึ่งเปนแหลงวัตถุดิบ ที่จะผลิตสินคามาขาย เปน รายได เสริมของครอบครัว-ชุมชน

2.บานปาตึง หมูที่ 5 มีเนื้อที่ปาชุมชนจํานวน 260 ไร ไดรับเงินสนับสนุนจากโครง

11 การหมูบานปาไมแผนใหมฯจํานวน 80,000 บาท รายงานการทํางานที่ผานมาดัง้ นี้ จัดทําปายถาวรปาชุมชนระบุขอหามของการใชปาชุมชน รวมกัน จัดทําแนวกันไฟ จัดทําแนวเขตปาชุมชนใหชดั เจน สิ่งดีๆที่ไดรับจากปา สามารถพัฒนาเปนอาชีพเสริม 1 เห็ดนางฟา เห็ดแดง เห็ดดิน เห็ดโคน หนอไม หวาย 2 พืชสมุนไพร ลิ้นจี่ปา 3 แดไม (รถดวน ) ไขมดแดง(มดสม ) 4 กลุมจักรสาน ศูนยทอผากลุมไทลื้อ 5 น้ําตกผาลาด อยูในเขตปาชุมชนจะพัฒนาเปนแหลงทองเที่ยว กฎขอบังคับ ปายถาวรปาชุมชน 1 ถาบุลคลใดผาฝนตัดไมตอ งถูกโทษปรับ 1,000 – 5,000 บาท 2 ถาผาฝน จี้ปลา ถาจับไดสงเจาหนาที่อยางเดียว 3 ถาขายหรือเสพยาเสพติดในเขตปาชุมชน จับไดสงเจาหนาที่อยางเดียว และตัดความชวยเหลือทุกอยางเชน ตัดสมาชิก หามยืมของในหมูบาน 4 หามลาสัตว ในบริเวรปาชุมชน ความหวังในอนาคตของหมูบาน และปาชุมชน 1. อนาคตขางหนา หวังวาหมูบานคงจะปลอดขยะโดยไดรับความรวมมือจาก บาน-วัด – โรงเรียน 2. สภาพแวดลอมน้ําตกผาลาดไดรับการพัฒนาโดยชุมชนมีสวนรวม -มีความสวยงาม -มีความสะอาด -มีนักทองเทีย่ วทุกป ทําใหชาวบานมีรายไดเพิ่มขึ้น 3. อยากใหสินคาโอทอป (ผาทอไทลื้อ ),มีตลาดรองรับ 4. อนุรักษเขตปา ใหเปนศูนยวิจยั เห็ดดิน 5. ปาไมของหมูบานมีเนื้อที่อยูทั้งหมด 2000 ไร แตไดรับงบประมาณดูแล 260 ไร จึงตอง การงบประมาณใหครบ2000ไร เพื่อจะไดเปนปาที่สมบรูณสืบไป

3.บานเกาะผาคํา หมูที่ 6 มีเนื้อที่ปาชุมชนจํานวน 290 ไร ไดรับเงินสนับสนุนจาก

12 โครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯจํานวน 80,000 บาท ( แปดหมื่นบาท) รายงานการทํางานที่ผานมาดัง้ นี้ จัดทําปายถาวรปาชุมชนระบุขอหามของการใชปาชุมชน รวมกัน จัดทําแนวกันไฟ ปลูกตนไมที่ยังไมมีเพิ่ม จัดทําแนวเขตปาชุมชนใหชดั เจน สิ่งดีๆในหมูบา นในปาที่ สามารถพัฒนาเปนอาชีพเสริม 1 ชาวบานใหความรวมมือรักษาปาชุมชน ปลูกปา ปองกันไฟปา 2 มีเห็ดออกตามฤดูกาล 3 ในอนาคตหากมีทุนจะมีโครงการปลูกปาไมไผทําใหชาวบานมีรายไดยดึ เปนอาชีพหลัก ความคาดหัวงในอนาตคขางหนา 5-10 ป 1. ตองการกลาพันธุไมยางบง (ไก) ปลูกทดแทนพืน้ ที่วาง 2. ตองการปลูก สมุนไพร เชน ขมิ้นชัน ปูเลย ตองการตลาด 3. ตองการกลาไมไผรวก และตลาด 4. ตองการบวชปา สืบชะตาปาชุมชนในหมูบาน

1. 2. 3. 4. 5.

4.บานหวยกวาน หมู 9 มีเนื้อที่ปาชุมชนจํานวน 240 ไร ไดรับเงินสนับสนุนจาก โครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯจํานวน 80,000 บาท ( แปดหมื่นบาท) รายงานการทํางานที่ผานมาดัง้ นี้ จัดทําปายถาวรปาชุมชนระบุขอหามของการใชปาชุมชน รวมกัน จัดทําแนวกันไฟ จัดทําแนวเขตปาชุมชนใหชัดเจน สิ่งดีๆที่มีอยูในปาชุมชนและหมูบาน สามารถพัฒนาเปนอาชีพ ปาชุมชนที่อุดมสมบูรณ และสัตวปาอาศัยจํานวนมาก เชน หมูปา เกง กระรอกอยูเปน นกนาๆชนิด มีตนไมใหญหลายชนิดเชน ไมหอม ไมยางแดง ไมมะมวงปา และอีกหลายชนิดทีไ่ ม ทราบชื่อ มีไมซาง ไมไผหกและไมไผไร เพื่อใหชาวบานไดเก็บมาใชประโยชนภายในชุมชน และเก็บหนอไม มาเปนอาหารในฤดูฝน มีประเพณีประจําเผา ( เผาอิวเมี่ยน ) หลายอยางเชน ประเพณีตรุษจีน พิธีสูขวัญของชาวเขา และอีก หลายอยาง มีสถานที่ทองเที่ยวในหมูบาน เชน วนอุทยานน้ําตกขุนยาบและอนุสรณสามผูกลา จัดทําพิธีรําลึกถึงในวันที่ 20 กันยายน ทุกป

ความคาดหวัง

13 1. อยากจะนําความที่ไดอบรมไปถายทอดสูชาวบาน ใหรวมกันเปนเจาของปาชุมชน รวมกัน ไมใชวาปาชุมชนเปนของคนใดคนหนึ่ง 2. รูจักนําทรัพยากรในปาชุมชนไปใชอยางมีคุณคา เกิดประโยชนตอชุมชน 3. รูจักนําคาของพืชสมุนไพรในปาชุมชนเปลี่ยนเปนมูลคา 4. มีสัตวปาหลายๆชนิดเพิ่มมากขึ้น 5. มีการบริหารจัดการที่ดีขึ้นกับปาชุมชน 6. มีนักทองเที่ยวมาเทีย่ วมากขึ้น ชาวบานจะไดมีอาชีพเสริม 7. อยากจะมีกลุมอาชีพที่สรางรายไดใหกบั ชาวบานจริงๆ 5.บานสันทรายกองงาม หมู 10 มีเนื้อที่ปาชุมชนจํานวน 500 ไร ไดเงินสนับสนุนจาก โครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯจํานวน 200,000 บาท ( สองแสนบาท) รายงานการทํางานที่ผานมาดัง้ นี้ จัดทําปายถาวรปาไมชุมชนระบุกฎขอหามการใชปา ชุมชนรวมกัน จัดทําแนวกันไฟ ปลูกตนไมเพิ่ม ติดปายคํากลอนเตือนสติการทําลายปา จัดเยาวชนในหมูบานเขาปาชุมชน เรียนรูป ระโยชนของปาชุมชน และการใชปาชุมชน รวมกัน จัดทําแนวถนนรอบปาชุมชนใหชัดเจน(มีถนนรอบปาชุมชน ) สิ่งดีๆในปาชุมชนและหมูบา น สามารถพัฒนาเปนอาชีพ 1 มีแนวเขตทีช่ ัดเจน 2 มีสัตวปามากขึ้น เชน ไกปา กระตายปา 3 มีพืชสมุนไพร เชนกาวเครือแดง โดไมรูลม ฯ 4 ราษฎรในหมูบานมีรายไดเสริม ขายเห็ดดิน เห็ดแดง 5 ราษฎรในหมูบานเครารพกฎขอบังคับของหมูบาน และมีสวนรวมรักษาปาชุมชน 6 ขอใหเจาหนาที่ชวยติดตามและใหคําปรึกษา ใหความรูเกี่ยวกับการดําเนินการปาชุมชน ความภูมใิ จ 1 กลุมผูสูงอายุเพาะเห็ด 2 กลุมดนตรีพื้นเมือง สะลอ ซอ ซึง 3 กลุมสตรีผลิตดอกไม ผาใยบัว พวงหรีด 4 กลุมอนุรักษวัฒนธรรมแหงลานนา และไทลื้อ 5 กลุมจักสาน 6 ราษฎรมีสวนรวมในการอนุรักษปาชุมชนของหมูบาน

ความคาดหวังของเรา หลังจากจัดทําโครงการตามแผนทีก่ ําหนด

14 คณะกรรมการ ปาไมชุมชนคาดหวังไวดงั นี้ 1. ปากินได 2.ปาสมุนไพร 3.แหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ 4.แหลงเรียนรูทาธรรมชาติ 5. เปนแหลงอาหาร สัตวปาในอนาคต โครงการในอนาคตของหมูบ าน -เขตหามจับปลาลําน้ําบง (วังปลา) -ทางเดินเทา -ปลูกปาดวยหนังสติ๊ก -กําหนดปาชุมชนเปน เขตหามลาสัตวปา -หองเรียนปาชุมชน 6.บานหวยน้าํ เย็น หมู 13 มีเนื้อที่ปาชุมชน จํานวน 150 ไร ไดรับเงินสนับสนุนจาก โครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯจํานวน 70,000 บาท ( เจ็ดหมื่นบาทถวน) รายงานการทํางานที่ผานมาดั้งนี้ จัดทําปายถาวรปาชุมชนระบุกฎขอหามการใชปาชุมชน รวมกัน จัดทําแนวกันไฟ จัดทําแนวเขตปาชุมชนใหชดั เจน สิ่งดีๆของภูมิปญญาทองถิ่น 1 เย็บ ปก จักสาน เครื่องตีเหล็ก 2 มีสมุนไพรนาๆชนิด 3 มีตนไมขนาดใหญหลายชนิดเชน ตนตะเคียน จําป ยางแดง เปนตน 4 มีสัตวปาเชน กระรอก กระแต ตัวแลน ไกปา เปนตน ความภาคภูมิใจของคนในชุมชนหมูบานปาไมแผนใหมฯ 1 ไดอนุรักษปาไมมาเปนเวลาหลายสิบป 2 ทุกคนหวงแหนในปาไมของตนของคนในชุมชนหมูบ านปาไมแผนใหมฯ 3 ไดรับประโยชนจากปาชุมชน เชนอากาศบริสุทธ มีวัตถุดิบจากปามาใชใน ชุมชน ความคาดหวังของหมูบานปาไมแผนใหมฯ 1. คาดหวังจะไดรับประโยชนจากปาชุมชนใหมากที่สุดโดยไมกระทบถึงปาที่มีอยู เดิม 2. ไดสภาพแวดลอมที่อุดมสมบูรณ มีสัตวปาที่หาดูงาย 3. มีพืชสมุนไพรในปาชุมชนมากขึ้น 4. สรางงาน สรางอาชีพใหชุมชน โดยอาศัยทรัพยากรที่มีอยู 5. อยากใหหนวยงานตางๆเขามาเปนพี่เลี้ยง ในการนําเนินงานตางๆ 6. หวังอยากใหวัฒนธรรม อันดีงามกลับคืนมาเหมือนเดิม 7.บานแซวกลาง หมู 14 มีเนื้อที่ปาชุมชนจํานวน 1005 ไร ไดรับเงินสนับสนุนจาก

15 โครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯจํานวน 170,000 บาท ( หนึ่งแสนเจ็ดหมื่นบาทถวน) รายงานการทํางานที่ผานมาดัง้ นี้ จัดทําปายถาวรปาชุมชนระบุกฎขอหามการใช ปาชุมชนรวมกัน จัดทําแนวกันไฟ ปลูกตนไมเพิ่ม พัฒนารอบสระเก็บน้ํา จัดทําแนวเขตปาชุมชนใหชดั เจน สิ่งดีๆในหมูบา น เขตปาชุมชน 1 เรื่องการใหความรวมมือของชาวบาน เกี่ยวกับการประชุม พัฒนา เสนอแนะ ขอคิดตางๆดีมาก 2 ใหความรวมมือสามัคคีรักษาผืนปา ใหอุดมสมบูรณยิ่งขึ้นโดยการไมเขาไปตัดไม ทําลาย ไมยืนตน ไมใหญตางๆ ความภูมใิ จประทับใจในหมูบ าน 1 ประทับใจการใหความรวมมือพัฒนาสรางอางเก็บน้ํา หวยโปงและไดตอ ทอ ประปาเขามาใชในหมูบาน ทุกหลังคาเรือนไดใชนา้ํ ประปาหวยโปง และพัฒนา มาเรื่อยๆ 2 ชาวบานปฎิบตั ิตามกฎของหมูบานที่ไดจดั ตั้งขึ้น เปนอยางดีตลอดมา กฎระเบียบตามที่ประชุมไดจัดตั้ง ปายถาวรปาชุมชน 1 หามตัดไมทําลายปาในเขตอนุรักษ ( ปาชุมชน ) ฝาฝนปรับ 5000 บาท 2 หามชอตปลาในลําหวยสาธารณะ และของผูอื่นฝาฝนปรับ 500-3000บาท 3 ทะเลาะวิวาท ปรับทั้งสองฝาย 500 บาท 4 หามยิงปนในหมูบาน ฝาฝนปรับ 500 บาท ความคาดหวังในอนาคต 1. เรื่องการพัฒนาและอนุรกั ษปาไมจะดีขึ้นถามีหนวยงานภาครัฐมาสนับสนุน 2. อยากใหสงเสริมดานเศรษฐกิจพอเพียงพันธุไมสมุนไพร พันธุไมทชี่ าวบานกิน ได 3. คาดหวังเรื่องพันธุสัตวปา จะมีมากขึน้ กวาเดิมและหลากหลายสายพันธุ

ภาพประกอบการจัดกิจกรรม

16 ภาพที่ 1 -3 กรรมการหมูบานและแกนนํารวมแสดงความตองการ ความคาดหวังทีจ่ ะไดเห็นปา ชุมชนของพวกเขาในอนาคต ภาพที่ 1

ภาพที่ 2

ภาพที่ 3

17 ภาพที่ 4 -11รวมกันออกความคิดเห็นสรุปความตองการอนาคตของปาชุมชน

ภาพที่ 5

ภาพที่ 6

ภาพที่ 7

18

ภาพที่ 8

ภาพที่ 9

ภาพที่ 10

19

ภาพที่ 11

ภาพที่ 12 -14ดู LCD การพัฒนาปาชุมชนแบบมีสวนรวมและรักษาสภาพแวดลอม

ภาพที่ 13

20

ภาพที่ 14

ภาพที่ 15 กรรมการ แกนนําหมูบานรายงานผลงานที่ดําเนินการผานมา

ภาพที่ 16 ถายภาพรวมกัน กรรมการหมูบ าน แกนนํา นายก อ.บ.ตบานแซว

21 ที่ปรึกษาโครงการ ฯ (Pople’s Audit ) ณ. หองประชุม อ.บ.ต ตําบลบานแซว อําเภอเชียงแสน จังหัวดเชียงราย

จบการรายงาน โครงการการยกระดับการอนุรักษปาไมโดยการมีสวนรวมของประชาชน กิจกรรมที่ 1

22 กิจกรรมประชุมยอย ประมาณเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2549 นําเยาวชนเขาศึกษาระบบนิเวศ ในปาชุมชนบาน สันทรายกองงามหมูที่ 10 จํานวนประมาณ 50 คน นําโดยนายทองคํา จับใจนาย ผูใหญบาน

23

24

โครงการยกระดับการอนุรักษโดยการมีสวนรวมของประชาชน ตามแนวพระราชดําริ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ ( People’ s Audit on forest conservation )

โครงการยกระดับการอนุรักษปาไม โดยการมีสวนรวมของประชาชน ตามแนวพระราชดําริ 72 พรรษา พระบรมราชินนี าถ

25

กิจกรรมที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการโดยการมีสวนรวมของประชาชน วันที่ 23 -25 มีนาคม 2550 การจัดการฝกอบรมและประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารแกนนําหมูบานตัวแทนที่ปรึกษาและผูนําชุมชน เพื่อวางแผนกําหนดเปาหมาย จัดทําแผนปฏิบัติการรวมกัน เพื่อปรับกระบวนทัศน คนหาความตองการ และแนวทางการมีสวนรวมของประชาชนในดานการอนุรักษปาอยางยั้งยืน ใชเวลา 3วัน 2คืน สถานที่จัดประชุม หอประชุมหมูบานสันทรายกองงาม หมูที่ 10 ตําบลบานแซว อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ผูเขารวมประชุมคณะกรรมการหมูบานปาไม ผูนําชุมชนหมูที่ 4,5,6,9,10,13,14 จํานวน 48 คน รายชื่อผูเขารวมประชุม 1.บานหวยเดื่อ หมูที่ 4 1. นายอุดมกิจ สุขศิริมงคลกิจ 2.นายซานลิน แซฟุง 3. พิษณุ ลีกิตติกุล 4. นายทัศนวงค อยางเสรี 5. นางนฤมล กระจางชูวงค 6 .นายปฎพล แซพาน 7. นายอนุศักดิ์ ตั้งสกุล 2.บานปาตึง หมูที่ 5 1. นายคําตัน ทิวาคํา 2. นายจักร ประชุม 3. นายไพรรัช กลิ่นบุปผา 4. นายศีรวงค ชัยลังกา 5. นายสม ใจรัตน 6 .นายบุญธรรม สุคํามา 7 .นายบุญเที่ยง กันทะอิน 3.บานเกาะผาคํา หมูที่ 6 1. นายวิรัตน สมบุญ 2. นายบัญชา แกวคํา 3. นายจํานงค แกวคํา 4 .นายอินคํา เรือนปานันท 5. นายสมชาย คํามี 6. นายอนันต จงรักษ 7.นายสมพร มาตาสา 4.บานหวยกวาน หมูที่ 9 1 นายพีรวัฒ ธีรบันทิตกุล 2 นายนอย แซจาว 3 นายเลาอู แซฟุง 4 นายศราวุฒิ ฟุงเสรีกุล 5 นายโชติ แซจาว 6 นายธนรัตน แซเติ้น 7 นายสมชาติ ตั้งสกุลเสรี 5.บานสันทรายกองงามหมูที่ 10 1 นางนอย ไชยนาค 2นายทองคํา จับใจนาย 3 นายณรงค วังมณี 4 นายสงัด ใจแกว 5 นายยืนยง แสงสวรรณ 6 นายวรพจน จรนามล 7 นายอนันต ศิริวงคษา 6.บานหวยน้ําเย็น หมูที่ 13 1 นายมนตชยั แซพาน 2 นายอุง ไหน แซฟุง 3 นายแสงติง แซพาน 4นายจานออน แซพาน 5 นายพานไพร แซฟุง 6 นายเกาเชียง แซลี 7 นายเกาโจว แซลี 7.บานแซวกลาง หมูที่ 14 1นายณรงค แกวคํา 2 นายอินจันทร แกวคํา 3นายสนั่น แกวคํา 4 นายประพันธ แกวคํา 5 นายประเสริฐ นาใจ 6 นายอิ่นคํา แกวคํา 7 นายดวงคํา แกวคํา วิทยากร ผูประสานงาน เพื่อนรวมสถาบัน และ ผูชวยจัดเอกสาร นายอานุภาพ เจริญไชย นายสุรพล เครือสุวรรณ นายอัศนีย วงคอารี นายวุฒิ ชาญสมร นางจุฬาวดี หอมจันทร นางนภาพร จันทิมา

26 วันที่ 23 มีนาคม 2550 เนื้อหาการจัดกิจกรรม กําหนดการ 8.00 ลงทะเบียน 8.30 รวมกันเสนอความคิดเห็น การสรางแบบสอบถาม 10.00 รับประทานอาหารวาง 10.30 การสรางแบบสอบถาม( ตอ ) 12.00 รับประทานอารกลางวัน 13.00 สรุปแบบสอบถาม 14.30 รับประทานอาหารวาง 15.00 สรุปแบบสอบถาม (ตอ ) 16.30 ปดประชุม ผลการประชุม 1.แบบสอบถามของบานหวยเดื่อหมูท4ี่ 1 ทานมีความพึงพอใจกับปาชุมชนอยางไร 2 ทานพอใจไหม? ที่เรามีปาอนุรักษคงไวซึ่งเปนปาธรรมชาติตอไปและเปนแหลงทองเที่ยว 3 ทานพอใจไหมเกีย่ วกับคณะกรรมการบริหารปาชุมชนของเรา ในการปลูกปาเสริมและอนุรักษปา ชุมชนและกิจกรรมกับปาชุมชนพอใจแคไหน 2.แบบสอบถามของบานปาตึงหมูที่ 5 1 พอใจเกี่ยวกับปาชุมชนหรือไม 2 ปาชุมชนใหอะไรกับหมูบา นบาง 3 ถาพอใจแลว ตองการอะไรเพื่มเติม 4 ไมพอใจเปนเพราะเหุตใด 5 ทานพอใจคณะทํางานที่กําลังปลูกตนไมเสริมหรือไม ทานพอใจคณะกรรมการบริหารหรือไม 3.แบบสอบถามของบานเกาะผาคําหมูที่ 6 เขาฝากถามวาคนที่เปนกรรมการปาชุมชนแลวไดอะไรบาง เขาบอกวาใหชาวบานชังขี้หนาเปลาวๆ 1 มีความพึงพอใจหรือไมที่ไดดูแลรักษาปาไวใหหมูบาน 2 ภูมิใจหรือไมที่ไดเห็นตนไมใหญเกิดขึน้ 4.แบบสอบถามของบานสันทรายกองงามหมูที่ 10 1 การจัดการปาชุมชน ชาวบานไดประโยชนอะไรบาง 2 ชาวบานสามารถเขาไปหาของปา เชน เห็ด สมุนไพร ไมใชสอย ไดหรือไม

27 5.แบบสอบถามของบานหวยน้ําเย็นหมูท ี่ 13 1 ทานอยากไดอะไรจากปาชุมชนของทาน 2 ทานมีความคิดที่จะพัฒนาปาชุมชนอยางไร 3 ทานมีความพึงพอใจในการบริหารจัดการปาชุมชนหรือไม 6.แบบสอบถามของบานแซวกลางหมู 14 1 ทานพึ่งพอใจเกี่ยวกับการจัดการงบประมาณเกีย่ วกับปาชุมชนหรือไม มากนอยเพียงใด 2 ทานพอใจกับการดูแลรักษาปาชุมชนมากนอยเพียงไร 3 ทานมีความเห็นวาอยางไรเกี่ยวกับปาชุมชนของหมูบาน 7.สรุปแบบสอบถามที่สรางรวมกันเพื่อนําไปจัดพิมพ ชื่อของแบบสอบถาม คําชี้แจง สวนที่ 1.ขอมูลทั่วไป สวนที่ 2. ความพึงพอใจของผูตอบแบบสํารวจใน การดําเนินการดานตางๆ 10 ขอ สวนที่ 3. ขอเสนอแนะและความคิดเห็นเพิ่มเติม

ผูเขารวมประชุม วันที่ 23-25 มีนาคม 2550

อธิบายเรื่องการสรางแผนที่ปาชุมชน วันที่ 23-25 มีนาคม 2550

28 วันที่ 24 มีนาคม 2550 เนื้อหาการจัดกิจกรรม กําหนดการ 8.00 ลงทะเบียน 8.30 การสรางแผนที่ปาชุมชน เพื่อการลงสํารวจพื้นที่ 10.00 รับประทานอาหารวาง 10.30 การสรางแผนที่ปาชุมชน (ตอ ) 12.00 รับประทานอาหาร 13.00 สรุปการสรางแผนที่ปาชุมชน 14.30 รับประทานอหารวาง 15.00 สรุปการสรางแผนที่ปาชุมชน เพื่อการลงสํารวจพื้นที่ ( ตอ ) 17.00 ปดประชุม ผลการประชุม หมูบานที่เขารวมโครงการทั้ง 7 หมูบานมีพื้นที่ของปาชุมชน แตกตางกันมากบางหมูบานปาชุมชนอยูบน ภูเขาสูง ,บางที่ อยูในหมูบานติดหลังบาน, บางที่เปนที่ราบ , บางที่สลับกันระหวางที่ราบกับภูเขา , บางที่อยู นอกหมูบานแบบหางไกล แหลงน้ําและทรัพยกร จํานวนพื้นที่ มีความแตกตางกันอยูมาก การจะสรางแผนที่ปาชุมชน กําหนดดั้งนี้ จํานวนพื้นที่ อาณาเขตปาชุมชน หมูบาน ถนนในปาชุมชน แหลง น้ํา โบราณสถาน(ถามี ) และสิ่งที่คิดวาสําคัญที่มีอยูในปาชุมชน วันที่ 25 มีนาคม 2550 เนื้อหาการจัดกิจกรรม กําหนดการ ลงทะเบียน 8.00 แบงกลุมลงพื้นที่ 12.30 รับประทานอาหาร 13.30 ลงพื้นที่ (ตอ ) 17.30 ปดประชุม

29

ผลการลงพืน้ ที่ วันที่25มีนาคม 2550 1. รายงานการสํารวจภาคสนามของบานหวยเดื่อหมูที่ 4 พื้นที่ 850 ไร พื้นที่ปาอุดมสมบูรณ มีการปลูกพันธุไมเพิม่ เติม เปนหมูบ านอนุรักษสตั วปา หมูปา ไกปา ลิง มีเปนจํานวนมาก ชาวบานเปนชนเผาอิ้วเมีย้ น ยังไมมีแนวคิดจะพัฒนาปาชุมชนเปนอาชีพเสริม ตองการจะอนุรักษไวใหเปนที่อาศัย ของสัตวปานาๆชนิด 2.รายงานการสํารวจภาคสนามของบานปาตึงหมูที่ 5 พื้นที่ 400 ไร พื้นที่ปาสมบูรณมีพันธุไมเพิม่ ขึ้น ยกเวนในสวนที่มีนายทุนมาบุกรุกประมาณ ไร เจาหนาที่ ปองกันรักษาปาไดเขาจับคุมและดําเนินคีดไปเปนที่เรียบรอยแลว บานปาตึงมี น้ําตกแมแอบ ตนตึง ขนาดใหญที่อนุรักษไวจํานวนมาก โบราณสถานเกาแกที่บรรจุพระธาตุ วัดซึ่งมีตํานานการกอสราง โดยพระฤษี ผูม ีนามวาอาย บานปาตึงมีแนวคิดพัฒนาปาชุมชนเปนแหลงทองเที่ยวเชิงอนุรักษ โดย การมีสวนรวมของชาวบานและผูนําชุมชน เพื่อเปนรายไดเสริม จากการสํารวจภาคสนามในครั้งนี้ บานปาตึงไดขอขยายเขตปาชุมชนเพิ่มอีก หนึ่งแปลงจํานวน 600 ไร รวมกับพืน้ ที่เดิม 400 ไร ดังนั้น ปจจุบันพืน้ ทีป่ าชุมชนของบานปาตึงจึงมีจํานวนรวมกันสองแปลง 1000 ไร 3.รายงานการสํารวจภาคสนามของบานเกาะผาคําหมูที่ 6 พื้นที่ 500ไร พื้นที่ปาสมบูรณชุมชื่นเปนแหลงของการเกิดเห็ดถอบ เห็ดยอดนิยมราคาดีของภาคเหนือ เห็ดเหลือง ก็มีจํานวนมาก บานเกาะผาคําภาคภูมใิ จที่มพี ระพุทธรูป พระสิงหหนึ่งขนาดใหญ มีเกาะกลางแมนา้ํ โขงหนาหมูบา น ดวยความภาคภูมใิ จ ไดมีกวีพนื้ บานแตงคําขวัญบานเกาะผาคําไวดั้งนี้ เกาะผาคําอารามสูง ผดุงศิลป ถิ่นเห็ดเหลือง เมืองเห็ดถอบ ประกอบศิลป พระสิงหหนึ่ง เปนหมูบานรักความสงบ ชาวบานอพยพมาจากประเทศลาวแตครั้งอดีต พอหลวงบานคนแรกบานเกาะผาคํา เปนคนที่มาจากประเทศลาว บานเกาะผาคํามีแนวคิดในการก็บเห็ดขายตามฤดูกาล โดยไมทําลายระบบนิเวศ เพื่อเปนรายไดเสริมและแบงปนใหกับชุมชนเครือขายดวย 4.รายงานการสํารวจภาคสนามของบานหวยกวานหมูที่ 9 พื้นที่ ปาชุมชน ประมาณ 250 ไร พื้นที่ปาสมบูรณไดปลูกสมุนไพรแทรกไวและมีความตองการ กลาพันธุสมุนไพรอีกมาก บานหวย กวานเปนหมูบ านที่อยูบนภูเขา ใชเวลาในการเดินทางประมาณ 2 ชั่วโมง จากน้ําตกแมแอบเปนชนเผา อีกอ และอิ้วเมี้ยน มีวนอุทยานขุนน้าํ ยาบ อนุสรณสถาน 3 ผูกลา เรื่องของสามผูกลาไดรับการกลาว ขานมาจนถึงปจจุบัน โดยเมื่อป พ.ศ.2513 ใน ยุคผูกอการรายคอมมิวนิตสไดทําแผนลวง ทานผูวาราชการ จังหวัด เชียงราย นายตํารวจหนึ่งนายพรอมดวยนายทหารหนึ่งนายขึ้นไปที่หมูบานหวยกวานเพื่อไปรับผู กลับใจพัฒนาประเทศ และถูกกับลอบวางระเบิดจนตองเสียชีวิตทั้งสามทาน บานหวยกวานปลูกพืช สมุนไพรแทรกไวในปาชุมชน และกําลังทําการศึกษาวาในอนาคตอาจจะแปรรูปสมุนไพรเพื่อเปนรายได เสริมของราษฎรในหมูบาน

30 5.รายงานการสํารวจภาคสนามของบานสันทรายกองงามหมูที่ 10 พื้นที่ 500 ไร พื้นที่ปาสมบูรณมีถนนรอบพื้นที่ปาชุมชน ปลูกพันธุไมเพิ่มเติมจํานวนมาก สันทรายกองงามเปน หมูบานอยูตดิ กับถนนสายหลักที่จะไปยัง อําเภอเชียงของซึ่งเปนอําเภอชายแดนติดกับประเทศลาว เปนคนพื้นเมือง คนยอง และไทลื้อ ไดอนุรักษดนตรีพนื้ เมือง การฟอนรําไทลื้อ ขบธรรมเนียมประเพณีไท ลื้อไวถึงปจจุบนั ปาชุมชนบานสันทรายกองงามใชเปนแหลงเรียนรู ของเยาวชนเรื่องของระบบนิเวศ และ เศรษฐกิจพอเพียง ความตั้งใจของผูนําชุมชนและชาวบานรวมกัน ทีจ่ ะใชปา เปนหองเรียนสําหรับเยาวชน และประชาชนทั่วไป ดั้งนัน้ การเก็บหาผลประโยชนจากของปา เชนหนอไม สมุนไพร ไมใชสอยตามครัวเรือนจึงมีการสอนจากรุนสูร ุน เพื่อไมใหหมดไปรวมถึงมีการปลูกไมทดแทน และหาความรูเ พื่มเติมตามแตโอกาส เปนทักษะไวถายทอดแกเยาวชนและประชาชนผูสนใจ ดวยความตั้งใจ โดยการมีสวนรวมของชาวบานและผูนําชุมชน ที่จะรักษาปาชุมชนจํานวน 500 ไร ใหอยูย ั่งยืนอยูคูกับบานสันทรายกองงามสืบไป 6.รายงานการสํารวจภาคสนามของบานหวยน้ําเย็นหมูท ี่ 13 พื้นที่ 150 ไร พื้นที่ปาสมบูรณชุมชื้น มีตนไมขนาดใหญจํานวนมากพืน้ ที่ปาชุมชนอยูติดกับหมูบาน ตอจากปาชุมชนเปน ปาอนุรักษของกรมปาไมจํานวนประมาณ 800 ไร เปนตนน้ําหวยน้ําเย็น บานหวยน้ําเย็น มีอากาศบริสุทธ บรรยากาศรมรื้น เปนชนเผาอิ้วเมี้ยน ชอบทํางานฝมือเย็บปกถักรอย รักความสงบในปา ชุมชนมีกระรอกจํานวนมาก แนวคิดโดยการมีสวนรวมของชาวบานและผูนําชุมชน จะใชปาชุมชน เปนแหลงทองเที่ยวเชิงอนุรักษ “ หมูบานกระรอก” จําหนายงานฝมือ เปนการเสริมรายไดใหแกชุมชน 7.รายงานการสํารวจภาคสนามของบานแซวกลางหมูที่ 14 พื้นที่ 1,005 ไร พื้นที่ปาชุมชนอยูบนเนินเขาเปนดินและหินสลับกันไมสูงมากนัก ไดมีการปลูกไมเสริมจํานวนมากและ สรางอางเก็บน้ําขนาดใหญไวในเขตปาชุมชน เมื่อขึ้นไปบนเขาในบริเวณเขตปาชุมชนจะมองเห็นทิวทัศนง ของแมน้ํา โขง วิถีชีวิตชาวบานที่ทํามาหากินอยูก ับแมนา้ํ โขง (หาปลา)มาตั้งแตสมัย ปู ยา ตา ยาย ชีวิตที่เรียบงายเปนธรรมชาติ ในปาชุมชนมีน้ําตก และสัตวปาหลายชนิดเชน นก,เกง,หมูปา,งู ชาวบาน แซว กลางมีฝม ือการทําเครื่องจักสานที่สืบทอดกันมาแตอดีต แนวคิดของบานแซวกลาง โดยการมีสวนรวมของชาวบานและผูนําชุมชน ตองการใชปาชุมชนเปนแหลงทองเทีย่ วเชิงอนุรักษ เพื่อเพิ่มรายไดใหกับชุมชน พรอมกับการจําหนายเครื่องจักสาน

31

กิจกรรมที่ 3 การรวมกันสํารวจภาคสนามเพื่อคนหาประวัติศาสตรชุมชน สินทรัพยชุมชน ขุมพลังชุมชน วันที่ 30 เดือนมีนาคม .2550 สถานที่บานผูใหญบานสันทรายกองงามหมูที่ 10 เรื่องการทําแผนที่ปาชุมชน และแบบสอบถามที่จะลงพืน้ ที่รวมกัน ในสวนที่ยังไมเขาใจ พรอมมอบอุปกรณการทํางานใหทกุ หมูบานที่เขารวมโครงการ ผูเขารวมประชุม 8 คน ผูนําบางหมูบานไมสามารถมารวมได ใชวิธี ฝากอุปกรณการทํางานไปให และแจงขอความ ในสวนทีย่ ังไมเขาใจทางโทรศัพท รายชื่อผูเขารวมประชุม 1. นายอานุภาพ เจริญไชย 2.นางจุฬาวดี หอมจันทร 3.นายทองคํา จับใจนาย 4.นายณรงค แกวคํา5.นายคําตัน ทิวาคํา 6.นายเสมา กาคํา 7.นายจํานงค แกวคํา 8. นายณรงค วังมณี

กิจกรรมที่ 3 การประชุมยอย ณ บานผูใหญบานสันทรายกองงามหมูที่ 10

ผลของกิจกรรม คนหาประวัติชุมชน สินทรัพยชุมชน ขุมพลังชุมชน

32 1.ประวัติชุมชนบานหวยเดื่อหมูที่ 4 หรือบานปาไรหลวงประกอบดวย ชนเผาอิ้วเมียน, อีกอ,มูเซอ,คน พื้นเมืองไมทราบวามาตั้งบานเรือนที่บานหวยเดื่อตั้งแต พ.ศ.ที่เทาไหร เปนการอพยพมาแบบทีละครอบครัว คอยๆรวมตัวเปนชุมชนขึ้นมาปาชุมชนของบานหวยเดือ่ เริ่มจากการกันพื้นที่ประมาณ 850 ไร ไวเปนแหลง น้ํา ทําประปาภูเขาหาของปาเชน เห็ด หนอไม สมุนไพร ชนิดของไมมี ไมไผ,ประดู, ตะเคียน,ตะแบก,สัก หวาย สินทรัพยชุมชน ขุมพลังชุมชนพื้นที่หมูบา นประมาณ 300 ไร ประชากร 1000 คน220 ครัวเรือน นับถือผี มี โรงเรียน 1 แหง อาชีพทําการเกษตรปลูกขาวโพด พืชไร รับจาง ในปาชุมชนมีสัตวปาเปนจํานวนมาก 2. ประวัติชุมชนบานปาตึงหมูที่ 5 ประกอบดวยชนเผาไทลื้อ,คนพื้นเมือง,คนยอง อพยพมาจาก อ.แมจัน ,อ. พาน, อ.เชียงคํา, อ.แมสาย จ. เชียงรายและ จ. ลําพูน ตั้งแตประมาณป พ.ศ. 2509 ปาชุมชนของบานปาตึง ริเริ่มขึ้นในป พ ศ 2518 ขณะนั้นมีราษฎร 258 ครอบครัว ไดจัดตั้งคณะกรรมการขึ้นแบงเขตปาชุมชนออก จากพื้นที่ทํากินของชาวบาน ไดพื้นที่ปาชุมชนจํานวนประมาณ 400 ไร ชนิดของไมมี สัก ,ประดู, กอ, เต็ง กระทอนปา, คอแลน, ไผ ,เห็ด, หนอไม ขุมทรัพยชุมชน พลังชุมชน พื้นที่หมูบานประมาณ 400 ไร ประชากร 2,009 คน 320 ครัวเรือน นับถือศาสนา พุทธ มีวัด 1 วัด โบราณวัตถุเจดีย 2 แหงวัดโบราณ 1 แหง โรงเรียน 1 แหง ศูนยเด็กเล็ก 1 แหง ศูนยหัต กรรมพื้นบาน (โรงทอผา) สถานที่ทองเที่ยวมีน้ําตกธรรมชาติ ทําไรขาวโพด สวนลิ้นจี่ ทํานา เลี้ยงสัตว สวน ยางพารา 3. ประวัติชุมชนบานเกาะผาคําหมูที่ 6 เมื่อป พ . ศ. 2493 ราษฎรจากประเทศลาวขามแมน้ําโขงมายังฝงง ประเทศไทยทีบ่ านเตาถานมาทํามาคาขายและมีราษฎรไทยมาจากภาคอีสาน จากภาคเหนือ จ.แพร,จ.ลําปาง อพยพมาอยูรวมกันจนถึงป พ. ศ.2525 จึงเปลี่ยนชื่อจากบานเตาถานเปนบานเกาะผาคํา ชื่อเกาะผาคํา เพราะวาหนาหมูบานมีแมนา้ํ โขงไหลผานมีเกาะอยูกลางน้ํา ปาชุมชนของบานเกาะผาคําเริ่มจาก ชาวบานใน ชุมชนเห็นวาปาไมในบริเวณรอบๆ หมูบา นคอยๆ หายไปเปนบานเรือน ที่ทํากินและเปนสิทธิ์เฉพาะบุคล จึงรวมตัวกันเมื่อประมาณ 18 ปที่ผานมา กันเขตใกลๆกับวัดเกาะผาคําจํานวนพื้นที่ประมาณ 500 ไร ใหเปน ปาชุมชนของหมูบาน ชนิดของไมมี ตะเคียน ,กอ, ตึง,ไผ,หวาย ของปามีเห็ด ขุมทรัพยชุมชน ขุมพลังชุมชน พื้นที่หมูบา นประมาณ 1047 ไร ประชากร 236 คน 58 ครัวเรือน ศาสนาพุทธ มีวัด 1 แหง อาชีพทํานา เลี้ยงสัตว ประมง (หาปลาในแมน้ําโขง ) รับจาง สวนผลไม ไรยาสูบ จักสาน ทําไม กวาด

33 4. ประวัติชุมชน บานหวยกวานหมูที่ 9 เปนชนเผาอิ้วเมีย่ นหรือเยา อพยพมาจากชายแดน อ.แมสาย แมสลอง อ.แมจัน มาตั้งบานเรือนอยูที่ บานหวยกวานตัง้ แตป พ.ศ. ที่เทาไหรไมมีการบันทึกไว ปาชุมชน ของบานหวยกวาน เกิดจากประชาชนไดประโยชนจากปา จึงมีความเห็นชอบของชุมชนอนุรักษปา ประจํา หมูบานไวจํานวนประมาณ 240 ไร ชนิดของไม ประดู , ไผ, ตะเคียน,ตะแบก,หวาย,สัก,สมุนไพร ขุมทรัพยชุมชน ขุมพลังชุมชน พื้นที่หมูบ านประมาณ 70 ไร ประชากร 800 คน 80 ครัวเรือน นับถือ บรรพบุรุษ ยึดถือประเพณีตรุษจีน มีโรงเรียน 1 แหง สถานที่สําคัญคืออนุสรณสถาน 3 ผูกลา อาชีพทําไร ขาวโพด รับจาง ทํานาโดยการปลูกขาวไร 5. ประวัติชุมชนบานสันทรายกองงาม หมูที่ 10 ประชาชนสวนใหญเปนชนเผาไทลือ้ คนพื้นเมือง ประวัติ เดิมเปนหมูบานราง ชื่อบานปากลวย มมีราษฎรคนพื้นเมืองมาทําไร จํานวน 10 ครอบครัว เปนพืน้ ที่อุดม สมบูรณ ตอมาชนเผาไทลื้อไดอพยพมาอยูรวมดวยจนถึงป พ.ศ. 2518 ไดตั้งชื่อหมูบา นใหมวา สันทรายกอง งาม อยูในการปกครองของอําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย มาถึงป พ.ศ. 2522 จึงมาอยูใ นการปกครองของอ. เชียงแสน จ.เชียงราย ปาชุมชนของบานสันทรายกองงามเริ่มตนขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2518 โดยราษฎรในหมูบาน และกรรมการหมูบานเห็นสมควรกันพืน้ ทีป่ าชุมชนขึ้นเพื่ออนุรักษปาไมไวใหรุนลูกหลานและเยาวชนรุน หลัง ไดพื้นทีเ่ หมาะสมออกจากหมูบานไปทางทิศตะวันออกประมาณ 500 เมตร มีสภาพเปนที่ราบเนินเขา สภาพปาไมยังคงสมบูรณเนือ้ ที่ประมาณ 500 ไร และปลายป พ.ศ. 2518 ราษฎรและกรรมการหมูบ านมี ความเห็นที่จะรักษาปาไวใหเปนปาถาวร อุดมสมบูรณสืบไป จึงริเริ่มตั้งกฎระเบียบการใชปาชุมชนรวมกัน ขึ้น 3 ขอดังนี้ 1. ถาผูใดตัดไม 1 ตน ตองเสียคาปรับ 500 บาท ถึง 1,000 บาท 2. หามลาสัตวในปาชุมชน ฝาฝนปรับตัวละ 1,000 บาท 3. หามจุดไฟในปาชุมชน ฝาฝนปรับตัวละ 5,000 บาท ชนิดของไม ประดู ,สัก , หวาย ,ไมแดง ,ไมรัง , ไมไผ , สมุมไพรหลายชนิด ขุมทรัพยชุมชน ขุมพลังชุมชน พื้นที่หมูบ านประมาณ 200 ไร ประชากร 1,200 คน 240 ครัวเรือน ศาสนาพุทธ มีวัด 2 แหง โรงเรียน 1 แหง สถานีอนามัย 1 แหง หมวดการทาง 1 แหง มีสงที่นาสนใจคือ กลุม ดนตรีพื้นบาน กลุมวัฒนธรรมประเพณีชาวไทลื้อ อาชีพรับจาง คาขาย ทําการเกษตร เลี้ยงสัตว ประวัติชุมชน บานหัวยน้าํ เย็น หมูที่ 13 เปนชนเผาอิ้วเมียนหรือเยา มาตั้งบานเรือนอยูบานหวยน้ําเย็น ตั้งแต ป พ.ศ.2512 อพยพมาจาก อ.เทิง จ.เชียงราย พื้นที่เปนภูเขาสูงมีการถางปาจํานวนมาก เพื่อทําไรเลื่อนลอย ปา ชุมชนของบานหวยน้ําเย็นเกิดขี้นจากชาวบานสวนหนึ่งมีแนวคิด จะรักษาพื้นปาไว เพื่อเปนแหลงอาหาร แหลงน้ํา แหลงสมุมไพร ชาวบานจึงรวมตัวกันขึน้ แบงกันเขตภูเขา ออกจากการถางปา ทําไรเลื่อยลอย ได เนื้อที่ประมาณ 150 ไร และอนุรักษ ไวจนปจจุบัน บานหัวยน้ําเย็น มีปาตนน้ํา แยกจากพื้นที่ปาชุมชน ของ หมุ บานอีกจํานวนประมาณ 800 ไร เปนตนน้ําของน้ําแมแอบ ลําหวยน้ําแมเย็น ชนิดของไม ไมเต็ง ไผ ไมแดง ไมลัง ตะเคียน จําปปา หนอไม สมุมไพรหลายชนิด ขุมทรัพย ขุมพลังชุมชน พืน้ ที่ประมาณ ไร

34 ประวัติชุมชน บานแซวกลางหมุที่ 14 เปนราษฎรที่อพยพมากจาก จ.เชียงใหม จ.ลําพูน ชนเผาไทยลื้อ , ชาว ยอง มาอยูรวมกันเปนบานแซวกลาง อยูในการปกครองของ อ.แมจัน จ.เชียงราย จนถึงป พ.ศ. 2524 จึงมาอยู ในการปกครองของ อ.เชียงแสน จ.เชียงราย ปาชุมชนของบานแซวกลาง เริ่มตนจากราษฏรในชุมชนมีความ ตองการที่จะรักษาปาไมไกลๆ หมูบานไวเปนแหลงปจจัย 4 จึงรวมตัวคัดเลือกพื้นทีท่ ี่มีความเหมาะสม ได พื้นที่จํานวน 1,005 ไร เปนปาชุมชนของหมูบาน ชนิดของไม , ไมไผ , ตะแบก , ประดู , กอ , หนอไม , หวาย , เห็ด

35

กิจกรรมที่ 4 การคนหาความตองการชุมชนและแนวทางการพัฒนาชุมชน โดยการมีสวนรวมของประชาชน การประชุมเชิงปฏิบตั ิการโดยการมีสวนรวมของประชาชน วันที่ 5-7 เมษายน พ.ศ.2550 สํารวจภาคสนาม สถานที่จัดประชุม หอประชุมหมูบานปาตึงหมูท5ี่ ต.บานแซว อ.เชียงแสน จ.เชียงราย ผูเขารวมประชุม จํานวน 9 คน รายชื่อผูเขารวมประชุม และสํารวจภาคสนาม 1. นายทองคํา จับใจนาย 2 นายแสงติง แซพาน 3 นายณรงค แกวคํา 4 นายจํานงค แกวดํา 5, นายเสมา กาคํา 6 นายคําตัน ทิวาคํา 7 นายอุดมกิจ สุขศิริมงคลกิจ 8 นายณรงค วังมณี 9 นายอานุภาพ เจริญไชย วิทยากร เนื้อหาการจัดกิจกรรม กําหนดการ 8.30 ลงทะเบียน 9.00 ผูนําหมูบานสงมอบแผนที่ปาชุมชน ที่จัดทํามาตามความเปนจริง และอธิบายแผนที่ 10.00 วิทยากร มอบแบบสอบถามที่จัดพิมพเสร็จเรียบรอยแลว เปนแบบสอบถามที่มาจากการมีสว นรวม กันสรางของชุมชน 7 หมูบานที่เขารวมโครงการ เมื่อวันที่ 23 -25 มีนาคม 2550 เพื่อลงสํารวจภาคสนาม คนหาความตองการของชุมชน มีชื่อวา แบบสอบถามความพึงพอใจและรับขอเสนอแนะ โครงการยกระดับการอนุรักษปา ไม โดยการมีสวนรวมของประชาชน ตําบลบานแซว อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย การลงสํารวจภาคสนามใหผูนําชุมชนคัดเลือกทีมหมูบานละสามคน จะมาพบกันอีกครัง้ วันที่ 7 เมษายน 2550 สถานที่ ที่ทําการผูใหญ บานสันทรายกองงามหมูที่ 10 ตําบลบานแซว อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เพื่อสงมอบผลงานการลงสํารวจภาคสนาม 11.30 ปดประชุม

36

ผลของการจัดกิจกรรมที่ 4

การลงสํารวจภาคสนาม วันที่ 5 - 7 เมษายน 2550 ผลการประชุมวันที่ 5 - 7 เมษายน 2550

37

แผนที่ของชุมชน

z แผนที่

แผนที่

38

แผนที่

แผนที่

39

แผนที่

แผนที่

40

ตัวอยางแบบสอบถาม(1)

41

ตัวอยางแบบสอบถาม(2)

42

การประชุมเตรียมตอนรับคณะรัฐมนตรีประเทศ AFGHANISTAN & U N D P

43 จะเดินทางมาทองที่ตําบลบานแซว อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย วันที่ 1 พฤษภาคม 2550 สถานที่ ที่ทําการผูใหญบานสันทรายกองงามหมูที่ 10 วันที่ 27 เมษายน 2550 ผูเขารวมประชุม กํานันตําบลบานแซว ผูนาํ หมูบานที่เขารวมโครงการ นายอานุภาพ เจริญไชย นางจุฬาวดี หอมจันทร นายอัศนีย วงคอารี ผลการประชุม สถานที่หอประชุมบานสันทรายกองงามใชเปนที่ตอนรับ มอบมาลัยดอกมะลิสด จัดบรรเลง สลอ ซอ ซึง เปนดนตรีพนื้ บานของภาคเหนือ โดยคนเฒาและเยาวชน บรรยายเรื่องการอนุรักษปา ชุมชน โดยการมีสวนรวมของประชาชน บรรยายโดยคณะกรรมการปาชุมชน จัดเลี้ยงกาแฟ น้ําดื่ม มอบของที่ ระลึก ตอจากนั้น เขาพื้นที่ปา ชุมชนบานสันทรายกองงามชมสมุนไพรตามธรรมชาติ ที่เกิดขึ้น เขาพื้นที่ปา ชุมชนบานปาตึงชมน้ําตกตามธรรมชาติ และวัดผาลาดซึง่ มีโบรานสถานเกาแก มีลําน้าํ ใหลผานขางวัด กอกําเนิด น้ําตกผาลาด ซึ่งเปนตนกําเนิดลําน้ําแมแอบ

โบราณสถาน วันที่ 1พฤษภาคม 2550

44

โบราณสถาน วันที่ 1พฤษภาคม 2550

รัฐมนตรีชวยมหาดไทยประเทศอัฟกานิสถานมอบเข็มที่ระลึกให คุณอานุภาพ เจริญไชย เนื่องในโอกาสมาศึกษาดูงานและเยี่ยมชมโครงการ วันที่ 1พฤษภาคม 2550

45

คนเฒาและเยาวชนเลนดนตรีพื้นบาน สลอ ซอ ซึง ตอนรับคณะศึกษาดูงาน วันที1่ พฤษภาคม 2550

คณะถายรูปรวมกับกรรมการปาชุมชนในโครงการ วันที่ 1พฤษภาคม 2550

46

คณะเขาเยี่ยมชมแหลงสมุนไพรธรรมชาติ วันที่ 1พฤษภาคม 2550

คณะนั่งพักผอนภายในวัดน้ําตกผาลาด วันที่ 1พฤษภาคม 2550

47

เยี่ยมชมโบราณสถานที่วัดน้าํ ตกผาลาด วันที่ 1พฤษภาคม 2550

คณะเขาชม น้าํ ตกธรรมชาติในเขตปาชุมชน บานปาตึงหมูที่ 5 หนาวัดผาลาด

48 วันที่ 1พฤษภาคม 2550

เรื่องสงโครงการเขาประกวดรางวัลลูกโลกสีเขียว ไดรับการประสานจากสถาบันพระปกเกลา โดย ด.ร. ถวิลวดี บุรีกุล ใหสงผลงานของโครงการการอนุรักษ ปาไมโดยการมีสวนรวมของประชาชน เขาประกวดรางวัลลูกโลกสีเขียว ประมาณเดือนพฤษภาคม 2550 ภาพถายการตอนรับคณะกรรมการลูกโลกสีเขียว 3ครั้ง

ตอนรับกรรมการลูกโลกสีเขียวหอประชุมบานผาคํา หมู 6

ตอนรับกรรมการลูกโลกสีเขียวหอประชุมบานผาคํา หมู 6

49

ตอนรับกรรมการลูกโลกสีเขียวหอประชุมบานผาคํา หมู 6

ตอนรับกรรมการลูกโลกสีเขียวหอประชุมบานผาคํา หมู 6

50

โครงการยกระดับการอนุรักษโดยการมีสวนรวมของประชาชน ตามแนวพระราชดําริ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ ( People’s Audit on forest conservation )

51

กิจกรรมที่ 5-6 การติดตามสนับสนุนและประเมินผลอยางมีสวนรวม การประชุมเชิงปฏิบัติการ โดยการมีสวนรวมของประชาชน วันที่ 16-17 กุมภาพันธ 2551 1. การติดตามสนับสนุนและประเมินผล เพื่อใหเกิดการปรับปรุงดานการบริหารและพัฒนาชุมชน ใหสอดคลองกับความตองการของประชาชน 2. ประเมินผลและสรุปผลของการบริหารแบบมีสวนรวมระหวางผูมีสวนไดเสียและผูเกี่ยวของ 3. รวมกันเพิ่มประสิทธิภาพการอนุรักษปาไม ภายใตความตกลงรวมกันเปนธรรมนูญพลเมือง สถานที่จัดประชุม หอประชุมบานสันทรายกองงามหมูที่ 10 ต. บานแซว อ.เชียงแสน จ.เชียงราย ผูเขารวมประชุมคณะกรรมการหมูบ านปาไม ผูนาํ ชุมชนหมูที่ 4,5,6,9,10,13,14 จํานวน 53 คน รายชื่อผูเขารวมประชุม 1. บานหวยเดื่อหมูที่ 4 1นายอุดมกิจ สุขศิริมงคล 2 นายโกวิทย แซฟุง 3 นายประสทิธ แกนธิ 2. บานปาตึงหมูที่ 5 1.นายบุญชวย คําเมืองชื่น 2 นายจักร ประชุม 3 นายบุญเที่ยง กันทะอิน 4.นายจรัญ จําปาทอง 5 นายบุญธรรม สุคํามา 6 นายคําตัน ทิวาคํา 3. บานเกาะผาคําหมูที่ 6 1.นายภิรมย จันทรรังษี 2.นายบัญชา แกวคํา 3.นายอนันต จงรักษ 4. นายจํานงค จงรักษ 5.นายสุนทร เพรชฟก 4. บานหวยกวานหมูที่ 9 1.นายไพโรจน ฟุงสกุลเสรี 2 นายไซเชียง แซจาว 3 นายพีรพัฒ สมพร 4 นายนอย แซจาว 5 นายชัยวัฒ เจริญศีรโชติชวง 6 นายบรรจง สุคนธวัฒเมธี 7 นายเลาอู แซฟุง 8 นายเกาฟาม แซพาน 9 นายศราวุฒิ ฟุงสกุลเสรี 5. บานสันทรายกองงามหมูที่ 10 1. นายทองคํา จับใจนาย 2. นายยืนยง แสงสุวรรณ . 3. นายอนันต ศิริวงคษา 4. นายเฉลิมชัย จับใจนาย 5. นายกองคํา นอยหมอ 6.นายสนอ คํามูล 7 .นายสงัด ใจแกว 8.นางนอย ไชยนาท 9.นาย ส. 6. บานหวยน้ําเย็นหมูที่ 13 1. นายเกาเชียง แซลี่ 2. นายพนาไพร แซฟุง 3. นายแสงติง แซพาน 4 นายอุงไหน แซฟุง 5 นายมนตชัย แซพาน 6 นายเจียมลิน แซจาว 7 นายไหนเส็ง แซลี 7. บานแซวกลางหมูที่ 14 1นายณรงค แกวคํา 2นายอินจันทร แกวคํา 3นายเรือน คําแหวน

52 4นายสมบุญ แกวคํา 5นายประพันธ แกวคํา 6 นายสันลี แกวคํา วิทยากรและผูประสานงาน นายอานุภาพ เจริญไชย กํานันบุญธรรม จันทาพูน นายอัศนีย วงคอารี น.พ. อุทัยวรรณ กาญจนกามล นางจุฬาวดี หอมจันทร นางนภาพร จันทิมา แมหลวงบานสันทรายกองงามหมูที่ 10 เนื้อการจัดกิจกรรม กําหนดการ วันที่ 16 กุมภาพันธ 2551 8.00 ลงทะเบียน 8.30 สรางแผนที่ทางความคิดรวมกัน 10.00 รับประทานอาหารวาง 10.30 สรุปการสรางแผนที่ทางความคิดรวมกัน 12.00 รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 รวมกันคนหาอนาคต 14.00 รับประทานอาหารวาง 15.00 สรุปการคนหาอนาคตรวมกัน 16.30 ปดการประชุม ผลการประชุม

รวมกันสรางแผนที่ความคิด โดยใชบัตรคํา แบงเปนหกกลุม กลุมมวนใจ ความสามัคคี ปองกันไฟปาไมใหลาม ปาอุดมสมบูรณ ตนไมอุดมสมบูรณ เพิ่มแหลงน้ํา มีสัตวปา มาก ความรัก ของปามีมาก สมุนไพร น้ําไมทวม

กลุมฮักปา ปาดีมีสัตวอยู ชวยกันรักษาปาไม อนุรักษดูแลปาชุมชน มีปามีอาหาร รักปารักสัตว มีน้ํามียา เรารักปาไมสัตวปาไดอาศัย ไมทําลายปาไม มีปามีสมุนไพร เราไมจดุ ไฟในปาของเรา

กลุมพิทักษปาสีเขียว มีปาเขียวชุมชืน่ ดี สามารถอนุรักษปาใหเปนปา อยางถาวร ปลูกตนไมเสริมที่วางเปลา รวมใจรวมแรง ความสําเร็จคือความสามัคคี รวมคิดรวมทํา ความสําเร็จจึงตามมา สามารถจัดกฎระเบียบ คุมครองปาได

53 อากาศดี ริมน้ําลานไผ

กลุมบานเล็กในปาใหญ การดูแล การปองกัน การรักษา และสงเสริม ผมรักปาไม ความสามัคคี ของเรานั้น จะรักษาไว ตลอดไป

หามตัดไมในปาชุมชน มีกฎระเบียบ มีปาสัตวอยู ไมเห็นแกตวั

กลุมปาในฝน ผมดีใจเห็นปาสวยงาม ผมรักปา น้ําสมบูรณ เพิ่มแหลงน้ํา ปลูกปาเพิ่ม

กลุมหมูบานกระรอก ชาวบานใหความรวมมือ รักษาปาไม ปองกันไฟปา รักษาสัตวปา รักสิ่งแวดลอม ฟนฟูปา บานเล็กในปาใหญ เปนแหลงทองเทีย่ ว เชิงนิเวศน สรางรายไดแกชมุ ชน การสรางแผนที่ทางความคิดรวมกัน มีความหลากหลายในความตองการ แบงเปนหัวขอดั้งนี้ สามัคคี สรางเสริม สรางสรรค ปองกัน อนุรักษรักษา เศรษฐกิจ

54

บัตรคําแผนที่ทางความคิด วันที่ 16- 17 กุมภาพันธ 2551

55 ผลการประชุม รวมกันคนหาอนาคตของชุมชนตําบลบานแซวและปาชุมชน โดยใชบัตรคํา แบงเปนหกกลุม ไดความตองการของชุมชนโดยการมีสวนรวมของชาวบานและผูนําชุมชน แบงได7หัวขอดั้งนี้ 2 สังคม 3 การเมือง 1 สิ่งแวดลอม อยากไดหมูบานทองเที่ยว ชุมชนเข็มแข็ง อยากเปนกิ่งอําเภอ ปาไมสีเขียว เมืองหลวง อยากไดเอกสารสิทธิ์ที่อยูอาศัย สถานที่ทองเที่ยว อยากใหรฐั บาลชวยดูแล อยากไดปา 4 เศรษฐกิจ หมูบานกระรอกเที่ยวชมธรรมชาติ อยากเห็นน้ําใหลไฟสวางทางดี มีเงินใช ความเขียวชอุม ของตนไมใหญ อยากใหมีโรงงานขนาดใหญ รมเย็น สรางอาชีพในชุมชน ความสมบูรณปาไมกลับมา 5ปขางหนาอยากใหมีความเจริญ ปลอดมลพิษ กวานี้สิบเทา อนาคตอยากใหมีปาไมทุกหมูบาน มีงานทําเพิ่มรายได บานเล็กในปาใหญ ดานเศรษฐกิจรุงเรือง สังคมรูรัก จัดระบบกรรมการหมุนเวียน สามัคคี ปาชุมชน 5 ปตอไปจะเปนทีเ่ พาะพันธุสัตวปา อยากเห็นทาเรือ ในอนาคตอยากใหมีน้ําทําการเกษตร ทุกหมูบา น 5 การศึกษา อยากมีมหาวิทยาลัย ความเจริญกาวหนาดานการศึกษา

-

การคนหาอนาคตของชุมชน การเมืองและสิ่งแวดลอมมาเปนลําดับตน ตามดวยสุขภาพ การศึกษาสังคม

6 วัฒนธรรม 7 สุขภาพ ตําบลบานแซว 5 ปขางหนา(อนาคต) -อยากใหตําบลสรางสวนสาธารณะตําบลใน การพักผอน -สรางตลาดในตําบลใหใหญกวานี้

56

บัตรคําการรวมกันคนหาอนาคตเมื่อแยกหัวขอตามความตองการของชุมชน วันที่ 16- 17 กุมภาพันธ 2551

บัตรคําการรวมกันคนหาอนาคต วันที่ 16- 17 กุมภาพันธ 2551

57 ภาพผูเขารวมประชุมเชิงปฏิบัติการโดยการมีสวนรวมฯลงทะเบียน วันที่ 16-17 กุมภาพันธ 2551

ภาพผูเขารวมประชุมเชิงปฏิบัติการโดยการมีสวนรวมฯ วันที่ 16-17 กุมภาพันธ 2551

58 ภาพผูเขารวมประชุมเชิงปฏิบัติการโดยการมีสวนรวมฯ วันที่ 16-17 กุมภาพันธ 2551

59 ภาพผูเขารวมประชุมเชิงปฏิบัติการโดยการมีสวนรวมฯ วันที่ 16-17 กุมภาพันธ 2551

อานบัตรคําแผนที่ทางความคิดของทุกคน วันที่ 16-17 กุมภาพันธ 2551

60

ท.พ. อุทัยวรรณ กาญจนกามล อธิบายเรื่องการใชบัตรคํา วันที่ 16-17 กุมภาพันธ 2551 วันที่ 17 กุมภาพันธ 2551 เนื้อหากิจกรรม กําหนดการ 8.30 ลงทะเบียน 9.0 รวมกันคิดจัดทําธรรมนูญพลเมือง ที่จะใชรวมกัน 10.0 รับประทานอาหารวาง 11.0 สรุปความตองการของการจัดทําธรรมนูญพลเมือง 12.0 รับประทานอาหารกลางวัน 13.30 ประเมินผลแบบมีสวนรวม 14.30 รับประทานอาหารวาง 15.00 สรุปการประเมินผลแบบมีสวนรวม(ตอ) 17.00 ปดการประชุม

61

ผลการจัดทําธรรมนูญพลเมืองที่ตําบลบานแซว ธรรมนูญพลเมือง คือกฎขอบังคับที่จะใชรวมกัน 7 หมูบานและหมูบานเครือขาย มีเนื้อหาดังตอไปนี้ ขอที่หนึ่ง ขอที่สอง ขอที่สาม ขอที่สี่ ขอที่หา

ไมลาสัตวในปาชุมชนของหมูบา นอื่นโดยไมไดรับอนุญาต ไมเขาไปตัดไมและหาของปาในเขตปาชุมชนของหมูบานอื่นโดยไมไดรับอนุญาต จะแลกเปลี่ยนความรู ประสบการณ ขอมูล เกีย่ วกับการพัฒนาปาชุมชนซึ่งกันและกัน ยินดีตอนรับสมาชิกใหม ที่จะเขารวมโครงการในอนาคต อนุญาตใหสมาชิกในเครือขายปาชุมชนใชทรัพยกรในปาชุมชนของตนเอง ไดตามสมควร และตามความเปนจริง โดยความเห็นชอบสวนใหญของสมาชิก ขอที่หก ยินดีสนับสนุนสินคาจากปาชุมชนในเครือขาย และการทองเที่ยวเชิงอนุรกั ษในปาชุมชนของ เครือขาย สนับสนุนกิจกรรมตางๆในเครือขายปาชุมชน ขอที่เจ็ด ใหความรวมมือในการประสานงาน ประชาสัมพันธ และตอนรับ ใหเกิดเครือขายการอนุรักษปา ชุมชนโดยการมีสว นรวมของประชาชน เพิ่มขึน้ ในอนาคต

รวมเปนพหุภาคี จัดทําธรรมนูญพลเมือง วันที่ 16-17 กุมภาพันธ 2551

62

การประเมินผลการดําเนินงานของทีมงานอยางมีสวนรวม โดยใชบัตรคําและแผนทีใ่ ยแมลงมุม แบงเปนหกกลุมไดผลการประเมินลําดับความสําคัญ ตามบัตรคําและแผนที่ใยแมลงมุมดั้งนี้ 2 บุคลากร 3 ปจจัย 4 วิสัยทัศน 1 ความสามัคคีคือพลัง เขาใจกัน รับผิดชอบตอหนาที่ ขาดงบประมาณ _ มีความจริงใจตอกัน มีความรูและหนาที่ เงิน ความสามัคคีและกําลังใจ เข็มแข็ง งบประมาณ ของชุมชน ความเสียสละ ก.ออมทรัพย ความรวมใจกัน ความเสียสละเวลา รวมพลัง ความสามัคคีความเข็มแข็ง รวมใจ ความเขาใจกัน มีความจริงใจตอตนเองและผูอื่น ชุมชนสามัคคี สามัคคีงบประมาณ ความรวมมือ ความสมัครใจ รวมมือกัน ไดรับความรูหลายอยางทําใหเกิดกําลังใจจึงทํางานรวมทีมกันได รักใครปองดอง การประเมินผล สรุปตามความสําคัญของบัตรคําและแผนที่ใยแมลงมุม ความสามัคคีเปนลําดับแรก บุคลากร ปจจัย

63

สรุปความตองการของชุมชนและประเมินผลรวมกัน วันที่ 16- 17 กุมภาพันธ 2551

สรุปความตองการของชุมชนและประเมินผลรวมกัน วันที่ 16- 17 กุมภาพันธ 2551

64

ภาคผนวก “อบรมการยกระดับ การใหบริการสาธารณะโดยการมีสวนรวมของประชาชนระดับกาวหนา” (Advance People’ s Audit ) วันที่ 25 -29 กุมภาพันธ 2551 ณ. ชลพฤกษรีสอรท จ. นครนายก นายอานุภาพ เจริญไชย เจาของโครงการ การยกระดับการอนุรักษปาไมโดยการมีสวนรวมของประชาชน นางจุฬาวดี หอมจันทร ผูประสานงานโครงการ ไดรับการคัดเลือกใหเขาอบรม(Advance People’ s Audit ) รวมกับเพื่อนๆที่มาจากสี่ภาคของประเทศไทย ภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคกลาง ภาคใต จากเดิมมีผูไดเขารับการอบรมภาคละหนึ่งจังหวัดๆละ 50 คน รูสึกภาคภูมิใจที่ไดรับการคัดเลือกเปนหนึง่ ใน 27 คน

65

อบรมการยกระดับ กาวหนา

อบรมการยกระดับ กาวหนา

66

อบรมการยกระดับกาวหนา

67

อบรมการยกระดับ กาวหนา

68

อบรมการยกระดับ กาวหนา

69

การนําเสนอผลงานโครงการ การยกระดับการอนุรษั ปาไมโดยการมีสวนรวมของประชาชน (People’ s Audit ) วันที่ 11 มีนาคม 2551 ณ. โรงแรมเดอะแกรนด อยุธยา บางกอก การนําเสนอผลงานในครั้งนี้สถาบันพระปกเกลา & UNDP จัดพิมพเปนหนังสือ ชื่อวา เรือ่ งเดนอยากเลา มีผลงานของหลายโครงการในหนังสือ

70

71

72

73

ปจจัยแหงความสําเร็จ – ผูนําชุมชนและประชาชนทั้ง 7 หมูบาน พระสงฆในพื้นที่ หมูบาน ใกลเคียง เปดใจใหโอกาส ทําใหชุมชนเกิดนวตกรรมทางความคิด – คณะวิทยากร ซึ่งมาจากเพื่อนๆ รวมสถาบัน รุนที่ 1 มาถายทอดความรู – คณะอาจารยจากสถาบันพระปกเกลา และ สํานักงานคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ภายใตการสนับสนุนของโครงการพัฒนา แหงประชาชาติประจําประเทศไทย (UNDP) ใหคําปรึกษาและสนับสนุน

74 สถาบันพระปกเกลาและ UNDP ตอนรับคณะศึกษาดูงานจากประเทศเวียนดนาม ณ โรงแรม The Teak Spa & Resort จังหวัดเชียงราย วันที่ 17-21 มีนาคม 2551

75 คณะศึกษาดูงานจากประเทศเวียดนามเขาอบรมการมีสวนรวมของประชาชน

76 พตท.ธาตรี กุลวัฒน ศิษยเกาสถาบันพระปกเกลา นําเสนอโครงการ ตํารวจยิ้ม

นายอนุภาพ เจริญไชย ศิษยเกาสถาบันพระปกเกลา นําเสนอโครงการ การยกระดับการอนุรักษปาไมโดยการมีสวนรวมของประชาชน

77 การประเมินผลโดยการมีสวนรวม

78

79 คณะศึกษาดูงานจากประเทศเวียดนาม เขาเยีย่ มชม โครงการการยกระดับการอนุรักษปาไมโดยการมีสวนรวมของประชาชน ณ.ตําบลบานแซว อ.เชียงแสน จังหวัดเชียงราย วันที่ 19 มีนาคม 2551

บานหวยน้ําเย็นหมูที่ 13ตอนรับคณะศึกษาดูงานจากประเทศเวียดนาม วันที่ 19 มีนาคม 2551

80

อธิบดีชนกลุมนอยจากประเทศเวียดนามมอบของที่ระลึกให นายทองคํา จับใจนาย ผูใหญบานสันทรายกองงาม หมู 10

นายสมควร สุตะวงค นายก อบต.บานแซว อ.เชียงแสน จ.เชียงราย มอบของที่ระลึกให

81 นักศึกษาแลกเปลี่ยนจากประเทศสหรัฐอเมริกา เขาเยีย่ มชมโครงการฯ

นายปรีชา กมลบุตร ผูวาราชการจังหวัดเชียงราย เลี้ยงตอนรับคณะศึกษาดูงานจากประเทศเวียดนาม เจาหนา UNDP คณะอาจารยและนักศึกษาสถาบันพระปกเกลา ณ ภัตคารยูนาน ริมแมน้ํากก จังหวัดเชียงราย

82

อธิบดีชนกลุมนอย ประเทศเวียดนาม มอบของที่ระลึกใหทานผูวาราชการจังหวัดเชียงราย

Related Documents


More Documents from ""

May 2020 0
June 2020 2
July 2020 5
November 2019 1
November 2019 1