04-บทที่ 2 การสังเคราะห์กลไก.pdf

  • Uploaded by: Adar Os
  • 0
  • 0
  • May 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View 04-บทที่ 2 การสังเคราะห์กลไก.pdf as PDF for free.

More details

  • Words: 1,816
  • Pages: 12
บทที่ 2 การสังเคราะห์กลไก 2.1 บทนา การออกแบบกลไกจะหมายรวมถึงการสังเคราะห์และการวิเคราะห์ดว้ ย โดยโจทย์ปญั หาสาหรับการออกแบบกลไก มักจะเป็ นการออกแบบอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่มกี ารเคลื่อนที่ในลักษณะเฉพาะเจาะจง เช่น ออกแบบเครื่องมือที่สามารถ เคลื่อนที่จากตาแหน่ ง A ไปยังตาแหน่ ง B ในช่วงเวลาที่กาหนด หรื อ กลไกที่เคลื่อนที่ตามกเส้นทางที่กาหนด เป็ นต้น รูปแบบของกลไกที่ออกแบบมีมากมาย แต่รูปแบบธรรมดาที่สุดและใช้มากที่สุดคือ ชิ้นต่อโยง (Linkage) ดังนัน้ ในบทนี้ จะนาเสนอการออกแบบชิ้นต่อโยงอย่างง่ายที่สามารถนาไปใช้ได้ในการออกแบบเบื้องต้น 2.2 การออกแบบกลไก การออกแบบกลไกจะต้องทาการสารวจต้องการของลูกค้าหรือผูใ้ ช้งาน และรวบรวมข้อมูลสาหรับการออกแบบและ วางแผนการออกแบบ ในขัน้ ตอนต่อไปเป็ น การออกแบบเชิงแนวคิด (Conceptual Design) ซึ่งเป็ นการสังเคราะห์กลไก และการวิเคราะห์เพื่อทดสอบว่าได้กลไกที่ทางานตามที่ตอ้ งการ หากไม่ตอ้ งทาการสังเคราะห์ใหม่และวิเคราะห์อีกครัง้ จนกว่า จะได้ผลการออกแบบตามที่ตอ้ งการ การสังเคราะห์และการวิเคราะห์สามารถทาได้ดว้ ยวิธี Graphics และด้วยการใช้สมการคณิ ตศาสตร์ โดยที่วิธี graphics สามารถใช้เครื่องมือเขียนแบบพื้นฐาน เช่น วงเวียน ไม้ฉาก และอุปกรณ์วดั มุ ม หรือในปัจจุบนั มีโปรแกรมช่วย ในการเขียนแบบ (CAD) เช่น SolidWorks, AutoCAD เป็ นต้น ซึง่ สะดวกทัง้ การสังเคราะห์และวิเคราะห์ ในบทนี้จะนาเสนอวิธีการสังเคราะห์ตามชนิดของกลไก ซึง่ หมายถึง การกาหนดชนิดของกลไกที่เหมาะสมกับโจทย์ ปัญหา โดยเลือกเป็ นกลไกแบบชิ้นต่อโยง แล้วทาการสังเคราะห์เพือ่ หาความยาวของชิ้นต่อโยงที่เหมาะสมในการทางาน โดย วิธกี ารสังเคราะห์กลไกแบบ Cam-Follower จะนาเสนอในบทที่ 7 2.3 การสังเคราะห์กลไก Function Generation คือ การสังเคราะห์กลไกโดยกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างการเคลือ่ นที่ของ Input Link กับการเคลือ่ นที่ของ Output Link เช่น กาหนดการหมุน, การแกว่ง หรือการเคลือ่ นที่ของ Output เป็ น Function ของ เวลา หรือการเคลือ่ นทีข่ อง Input Path Generation คือ การสังเคราะห์กลไกโดยกาหนดเส้นทางการเคลือ่ นที่ (Path) ของจุด ๆ หนึ่ง บนระนาบ การเคลือ่ นที่ (Plane) Motion Generation คือ การสังเคราะห์กลไกโดยกาหนดการตาแหน่งการเคลือ่ นที่ (Position) ของเส้น ๆ หนึ่ง บนระนาบการเคลือ่ นที่ (Plane) 2.3.1 เงือ่ นไขข้อจากัด (Limiting Condition) การสัง เคราะห์จ าเป็ นต้อ งตรวจสอบเงื่อนไขข้อจากัดในการเคลื่อนที่ของกลไก 2 อย่าง คือ การล็อคตัว เอง (Self-Lock) ซึง่ จะเกิดทีต่ าแหน่ง Toggle (Toggle Position) และมุมส่งถ่ายแรง (Transmission Angle)  ตาแหน่ ง Toggle เป็ นตาแหน่ งที่ Link ที่เคลื่อนที่ 2 Link อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน ซึ่งทาให้เกิด ผลเสีย คือ การล็อคตัวเอง (Self-Lock) ของ Link ซึง่ ทาให้ไม่สามารถเคลือ่ นทีต่ ่อได้ 31 | ห น้ า

(ก) ตาแหน่ง Toggle ของ Triple-Rocker

(ข) ตาแหน่ง Toggle ของ Crank-Rocker

รูปที่ 2.1 ตาแหน่ง Toggle ของ Linkage 

Transmission Angle คือ มุมระหว่าง Output Link กับ Couple Link ซึง่ บอกคุณภาพของแรงและความเร็วที่ ส่ ง ผ่ า นจาก Input Link ไปยัง Joint โดยที่ Transmission Angle ที่น อ้ ยที่สุ ด ต้อ งมีข นาดมากกว่ า 40 เพือ่ การเคลือ่ นทีอ่ ย่างราบรื่น (Smooth Running)

(ก) Transmission Angle 

(ข) แรงสถิตย์ทช่ี ้ นิ ต่อโยง

รูปที่ 2.2 มุม Transmission ของชิ้นต่อโยง 32 | ห น้ า

2.3.2 การสังเคราะห์กลไกแบบ Function Generation แบบ Non-Quick Return Mechanism ด้วยวิธี Graphics การสัง เคราะห์กลไกได้กาหนดให้อ อกแบบชิ้น ต่ อโยงที่มี 4 Link (4-bar Linkage) ที่เป็ น Grashof CrankRocker โดยทีใ่ ห้ Rocker Link เป็ น Output และ Crank เป็ น Input Link ตัวอย่างที่ 2.1 สร้าง 4-bar Grashof Crank-Rocker ที่ Rocker เคลื่อนที่ได้ 45 ทัง้ ไป (Forward Stroke) และกลับ (Return Stroke) โดย Input Link มีความเร็วคงที่ ขัน้ ตอนการสังเคราะห์: 1. วาดรูป Output Link O4B กาหนดตาแหน่ง B1 และ B2 ทามุม 45

2. วาดเส้น Chord B1B2 แล้วลากเส้นต่อยาวออกไป ในทิศทางที่ตอ้ งการ 3. เลือกจุด O2 บนเส้น B1B2

เลือกความยาวทีต่ อ้ งการ

4. แบ่งครึ่งเส้น B1B2 แล้ววาดวงกลมทีม่ รี ศั มีเป็ น ครึ่งหนึ่งของ B1B2 5. กาหนดจุดตัดของวงกลมกับเส้น B1B2 เป็ นจุด A1 และ A2

เลือกความยาวทีต่ อ้ งการ

6. วัดความยาวของ Coupler Link จาก A1 ถึง B1 หรือ A2 ถึง B2 7. วัดความยาว Ground Link 1, ความยาว Crank 2 และความยาว Rocker 4 8. ตรวจสอบ Grashof Condition, ถ้าเป็ น NonGrashof ให้กลับไปทาข้อ 3-7 ใหม่ โดยเลือกจุด O2 ใหม่ 9. ตรวจสอบการทางาน พร้อมทัง้ ตรวจสอบ Limiting Condition 33 | ห น้ า

2.3.3 การสังเคราะห์กลไกแบบ Motion Generation แบบ Non-Quick Return Mechanism ด้วยวิธี Graphics การสัง เคราะห์กลไกได้กาหนดให้อ อกแบบชิ้น ต่ อโยงที่มี 4 Link (4-bar Linkage) โดยการสัง เคราะห์แ บบ Motion Generation เป็ นการกาหนดเส้น ๆ หนึ่ง บน Link ให้เคลื่อนที่ไปยังตาแหน่ งที่กาหนด แบบ 2 ตาแหน่ ง และ 3 ตาแหน่ง ด้วยวิธี Graphics ตัวอย่างที่ 2.2 สร้าง 4-bar Grashof crank-rocker โดยกาหนดให้ Rocker Link เป็ น Output Link ต้องเคลื่อนที่ผ่าน ตาแหน่งทีก่ าหนด 2 ตาแหน่ง (จาก C1D1 ไปยัง C2D2) ด้านล่างนี้ โดย Input Link มีความเร็วคงที่ ขัน้ ตอนการสังเคราะห์: 1. วาด Link CD ทีต่ าแหน่งออกแบบ C1D1 และ C2D2

2. ลากเส้นจากจุด C1 ไปยัง C2 และจากจุด D1 ไป ยัง D2 3. แบ่งกึ่งกลางเส้น C1C2 และ D1D2 แล้วลากเส้น ตัง้ ฉากทัง้ สองออกไปตัดกันทีจ่ ุด O4 จะได้เส้น CD อยู่บน Link 4 จุดหมุนร่วม

4. เลือกรัศมีทเ่ี หมาะสมแล้ววาดเส้นโค้ง รอบจุด หมุนตัดกับเส้น O4C1 และ O4C2 กาหนดเป็ น จุด B1 และ B2 5. ทาตามขัน้ ตอนที่ 2-7 ในตัวอย่างที่ 1

จุดหมุนร่วม

6. ตรวจสอบ Grashof Condition, ถ้าเป็ น NonGrashof ให้กลับไปทาข้อ 3-7 ในตัวอย่างที่ 1 ใหม่ โดยเลือกจุด O2 ใหม่ 7. ตรวจสอบการทางาน พร้อมทัง้ ตรวจสอบ Limiting Condition

34 | ห น้ า

ตัวอย่า งที่ 2.3 สร้าง 4-bar โดยกาหนดให้ Coupler Link เป็ น Output Link ต้องเคลื่อนที่ผ่ า น ตาแหน่ ง ที่ก าหนด 2 ตาแหน่ง (จาก C1D1 ไปยัง C2D2) โดย Input Link มีความเร็วคงที่ ขัน้ ตอนการสังเคราะห์: 1. วาด Link CD ทีต่ าแหน่งออกแบบ C1D1 และ C2D2

2. ลากเส้นจากจุด C1 ไปยัง C2 และจากจุด D1 ไป ยัง D2 3. แบ่งกึ่งกลางเส้น C1C2 แล้วลากเส้นตัง้ ฉากทัง้ สอง ออกไป เลือกจุดใดๆ บนเส้นเป็ นจุด O2 4. แบ่งกึ่งกลางเส้น D1D2 แล้วลากเส้นตัง้ ฉากทัง้ สอง ออกไป เลือกจุดใด ๆ บนเส้นเป็ นจุด O4

5. ตรวจสอบการทางาน พร้อมทัง้ ตรวจสอบ Limiting Condition 6. ตรวจสอบ Grashof Condition ถ้าเป็ น NonGrashof และต้องการให้ Input Link เป็ น Crank จะต้องเพิม่ Dyad (Two Bar Chain) เพือ่ ควบคุมการเคลือ่ นที่

7. เลือกรัศมีทเ่ี หมาะสมแล้ววาดเส้นโค้ง รอบจุดหมุน ตัดกับเส้น O2C1 และ O2C2 กาหนดเป็ นจุด B1 และ B2 8. ทาตามขัน้ ตอนที่ 2-7 ในตัวอย่างที่ 1 9. ตรวจสอบ Grashof Condition, ถ้าเป็ น nonGrashof ให้กลับไปทาข้อ 3-7 ในตัวอย่างที่ 1 ใหม่ โดยเลือกจุด O6 ใหม่ 10. ตรวจสอบการทางาน พร้อมทัง้ ตรวจสอบ Limiting Condition

เลือกความยาว ทีต่ อ้ งการ

35 | ห น้ า

จะได้กลไกทีเ่ ป็ น 6-bar ทีเ่ รียกว่า Watt’s Sixbar Linkage ที่มี Link 6 เป็ น Crank และเป็ น Input Link

ตัวอย่างที่ 2.4 สร้าง 4-bar โดยกาหนดให้ Coupler Link เป็ น Output Link ต้องเคลื่อนที่ผ่าน ตาแหน่ งที่กาหนด 3 ตาแหน่ง (จาก C1D1 ไปยัง C2D2 และ C3D3 ตามลาดับ) โดย Input Link มีความเร็วคงที่ ขัน้ ตอนการสังเคราะห์: 1. วาด Link CD ทีต่ าแหน่งออกแบบ C1D1, C2D2 และ C3D3

2. ลากเส้นจากจุด C1 ไปยัง C2 และจากจุด C2 ไป ยัง C3 3. แบ่งกึ่งกลางเส้น C1C2 และ C2C3 แล้วลากเส้นตัง้ ฉากทัง้ สองออกไปตัดกันทีจ่ ดุ O2 4. ลากเส้นจากจุด D1 ไปยัง D2 และจากจุด D2 ไป ยัง D3 5. แบ่งกึ่งกลางเส้น D1D2 และ D2D3 แล้วลากเส้นตัง้ ฉากทัง้ สองออกไปตัดกันทีจ่ ดุ O4 6. ตรวจสอบ Grashof Condition ถ้าเป็ น NonGrashof และต้องการให้ Input Link เป็ น Crank จะต้องเพิม่ Dyad (Two Bar Chain) เพือ่ ควบคุมการเคลือ่ นที่ (ดูตวั อย่างที่ 4) 7. ตรวจสอบการทางาน พร้อมทัง้ ตรวจสอบ Limiting Condition

36 | ห น้ า

จากตัวอย่างที่ 2.4 เมือ่ ตรวจสอบเงือ่ นไขข้อจากัด พบว่า ที่ตาแหน่งเริ่มต้นเกิดเป็ นตาแหน่งล็อคตัวเอง ซึง่ จะทาให้ กลไกไม่เกิดการเคลือ่ นที่ ดังนัน้ ให้กาหนดจุด Node ของ Couple Link ใหม่ แทน CD โดยกาหนดเป็ น เส้นตรง EF ทีต่ อ้ งไม่ขนานกับเส้นตรง CD ขัน้ ตอนการสังเคราะห์: 8. วาดเส้นตรง EF ลงในภาพที่ตาแหน่งที่ 1 (C1D1) โดยถ่ายระยะไปทีต่ าแหน่งออกแบบ C2D2 และ C3D3 ตามลาดับ

9. ลากเส้นจากจุด E1 ไปยัง E2 และจากจุด E2 ไปยัง E3 10. แบ่งกึ่งกลางเส้น E1E2 และ E2E3 แล้วลากเส้นตัง้ ฉากทัง้ สองออกไปตัดกันทีจ่ ดุ O2 11. ลากเส้นจากจุด F1 ไปยัง F2 และจากจุด F2 ไปยัง F3 12. แบ่งกึ่งกลางเส้น F1F2 และ F2F3 แล้วลากเส้นตัง้ ฉากทัง้ สองออกไปตัดกันทีจ่ ดุ O4

13. ตรวจสอบ Grashof Condition ถ้าเป็ น NonGrashof และต้องการให้ Input Link เป็ น Crank จะต้องเพิม่ Dyad (Two Bar Chain) เพือ่ ควบคุมการเคลือ่ นที่ (ดูตวั อย่างที่ 4) 14. ตรวจสอบการทางาน พร้อมทัง้ ตรวจสอบ Limiting Condition

37 | ห น้ า

2.3.4 การสังเคราะห์กลไก Slider-Crank Non-Quick Return Mechanism ด้วยวิธี Graphics กลไกแบบ Slider-Crank เป็ น กลไกที่พ บเห็น ได้ใ นเครื่อ งจัก ร เช่ น เครื่อ งยนต์ลู ก สู บ , ปัมลู ๊ ก สู บ เป็ น ต้น การออกแบบกลไกนี้ แสดงในตัวอย่างข้างล่างนี้ ตัวอย่างที่ 2.5 สร้าง In-Line Slider-Crank โดยที่ Slider Link เป็ น Output Link ที่มีระยะกระจัด ทัง้ ไป (Forward Stroke) และกลับ (Return Stroke) เท่ากัน โดย Input Link มีความเร็วคงที่ ขัน้ ตอนการสังเคราะห์: 1. วาดตาแหน่งของ Slider ทีจ่ ดุ B1 และ B2 มี B2 B1 ระยะทางเท่ากับระยะกระจัดของ Slider

2. เลือกจุด O2 ใดๆ บนเส้นตรงที่ลากเส้นเชื่อม ระหว่าง B1 และ B2 โดยที่ความยาวของ Link 2 จะเท่ากับ R4 max L2 

L2

B1

A2

A1

B2

L3

2

3. ตรวจสอบความยาวของ L3 เพือ่ ให้เกิดการ เคลือ่ นทีอ่ ย่างต่อเนื่อง ด้วยความเร่ง สมา่ เสมอ ดังนัน้ ความยาวของ L3 >> L2 โดย L3 > 4L2 (Rule of Thumb) 4. ตรวจสอบการทางาน

L3 L2

2.3.5 การสังเคราะห์กลไก 4 bar แบบ Quick Return Mechanism ด้วยวิธี Graphics Quick return Mechanism คือกลไกที่ Output Link จะเคลื่อนที่เร็ว กว่าในช่ว งการเคลื่อนที่กลับ (Return Stroke) โดยปกติเครื่องจักรที่มีกลไกแบบ Quick Return มักจะทางานในช่วงขาไป (Forward Stroke) เท่านัน้ ดังนัน้ ในช่วงขากลับ (Return Stroke) สามารถกลับได้เร็วกว่าขาไป เช่น เครื่องตัดโลหะ เป็ นต้น Time Ratio (TR) หรือ อัตราส่วนเวลาระหว่างเวลาของช่วงทีเ่ คลือ่ นทีช่ า้ ต่อด้วยเวลาของช่วงทีเ่ คลือ่ นทีเ่ ร็ว TR 

180     , 180   

    360

Construction Angle คือ มุมสาหรับการออกแบบ   180    180  

สาหรับเวลาทัง้ หมดใน 1 รอบการเคลือ่ นทีข่ องกลไกคือ tcycle  Time of slower stroke  Time of quicker stroke

ความเร็วรอบของ crank

crank  tcycle 1

rpm 38 | ห น้ า

ตัวอย่างที่ 2.6 สร้าง 4-bar Grashof Crank-Rocker ที่ Rocker เคลื่อนที่ได้ 45 ทัง้ ไป (Forward Stroke) และกลับ (Return Stroke) แบบ Quick Return โดย Input Link มีความเร็วคงที่ กาหนด TR  1.25 : 1 ขัน้ ตอนการสังเคราะห์: 1. วาดรูป Output Link O4B กาหนดตาแหน่ง B1 และ B2 ทามุม 45

2. คานวณ  ,  และ  1.25   ,     360 1     160 ,   200 ทาให้ TR 

จะได้

  180  160  180  200  20

3. วาดเส้น Construction จาก B1 โดยเลือกมุมที่ตอ้ งการ 4. วาดเส้น Construction จาก B2 ให้ทามุมกับเส้นในข้อ 3 เท่ากับ  5. จุดตัดของเส้นในข้อ 3 และ ข้อ 4 คือจุด O2 6. โปรเจคจุด B’1 บนเส้นตรง O2B2 ดังรูป 7. ความยาวของเส้น B2B’1 มีค่าเป็ น 2 เท่าของความยาว Crank

8. วัดความยาวของ Coupler Link จาก A1 ถึง B1 หรือ A2 ถึง B2 9. วัดความยาว Ground Link, ความยาว Crank และ ความยาว Rocker 10. ตรวจสอบ Grashof Condition, ถ้าเป็ น Non-Grashof ให้กลับไปทาข้อ 3-7 ใหม่ โดยเลือกจุด O2 ใหม่ 11. ตรวจสอบการทางาน พร้อมทัง้ ตรวจสอบ Limiting Condition 39 | ห น้ า

2.3.6 การสังเคราะห์กลไก Slider-Crank แบบ Quick Return Mechanism ด้วยวิธี Graphics กลไก Slier-Crank แบบ Quick Return เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า Offset Slider-Crank ในตัวอย่างที่ 7 จะขัน้ ตอน การสังเคราะห์กลไกดังกล่าว โดยจะต้องทราบ Time Ratio ตัว อย่ า งที่ 2.7 สร้า ง Offset Slider-Crank โดยที่ Slider Link เป็ น Output Link ที่มีร ะยะกระจัด ทัง้ ไป (forward stroke) และกลับ (Return Stroke) เท่ากัน โดย Input Link มีความเร็วคงที่ ขัน้ ตอนการสังเคราะห์: 1. วาดตาแหน่งของ Slider ทีจ่ ดุ B1 และ B2 มี B2 B1 ระยะทางเท่ากับระยะกระจัดของ Slider

2. วาดเส้น Construction จาก B2 โดยเลือก มุมที่ตอ้ งการ 3. วาดเส้น Construction จาก B1 ให้ทามุมกับ เส้นในข้อ 2 เท่ากับ 

4. วัดความยาวจาก A1 ถึง B1 จะเท่ากับ L3-L2 และวัดความยาวจาก O2 ถึง B2 จะเท่ากับ L3+L2 แล้วคานวณหา L2 และ L3

O2

A1

O2

L2

A2 L3

Offset

B1

5. ตรวจสอบการทางาน

B2

B1

B2

L2 O2

L3

40 | ห น้ า

2.4 สรุป การออกแบบกลไกเมื่อทาการสังเคราะห์แล้วจะต้องทาการวิเคราะห์ดว้ ยเสมอ ในบทนี้ได้นาเสนอวิธี Graphics ทีใ่ ช้ในการออกแบบกลไกแบบ 4-bar Grashof Crank-Rocker และ Slider-Crank ซึง่ เป็ นกลไกทีพ่ บได้บอ่ ยในเครื่องจักร อย่างไรก็ดี เมือ่ ทาการสังเคราะห์กลไกแล้วควรสร้างโมเดลเพื่อทดสอบการเคลือ่ นทีว่ ่าเป็ นตามที่ตอ้ งการหรือไม่ โดยอาจจะ สร้างโมเดลด้วยกระดาษแข็ง ฟิ วเจอร์บอร์ด หรือไม้อดั ก็ได้ แต่ในปัจจุบนั มีโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ เช่น SolidWorks, AutoCAD เป็ นต้น ที่สามารถนามาสร้างเป็ นโมเดลสามมิติ ที่จะช่วยทดสอบการเคลื่อนที่และสามารถ ปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมก่อนจะสร้างโมเดลจริง ทาให้ประหยัดทัง้ เวลาและค่าใช้จ่าย อีกทัง้ ยังสามารถทาการวิเคราะห์ได้ อีกด้วย

41 | ห น้ า

แบบฝึ กหัด 1. จงออกแบบ Crank-Rocker เมื่อ ก าหนดให้ มุม กวาดของ Rocker เท่ากับ 75° โดยที่ Time-Ratio เท่ากับ 1 หากกาหนดให้ Rocker ยาว 50 mm และ มุมระหว่ างตาแหน่ ง สุ ด ท้า ยด้านซ้า ยของ Rocker กับ แนวระดับ เท่ า กับ 55° จงหาความยาวของ crank, connecting rod และระยะขจัดระหว่างจุด หมุนทัง้ สอง 2. จงออกแบบ Crank-Rocker เมื่อ ก าหนดให้ มุม กวาดของ Rocker เท่ากับ 75° โดยที่ time-ratio เท่ากับ 1.4 หากกาหนดให้ Rocker ยาว 50 mm และมุ ม ระหว่ า งต าแหน่ ง สุ ด ท้า ยด้า นซ้า ยของ Rocker กับแนวระดับเท่ากับ 55° จงหาความยาว ของ Crank,Connecting Rod และระยะขจั ด ระหว่างจุดหมุนทัง้ สอง 3. จงออกแบบกลไก Double Crank ทีม่ ี Time Ratio เท่ า กับ 2.6 และ Input Link ยาว 40 mm และ ระยะขจัดระหว่างจุดหมุนทัง้ สองเท่ากับ 2.5 mm และมุ ม ระหว่ า ง Input และ Output Link ที่ ตาแหน่งขีดสุดด้านหนึ่งเท่ากับ 50° จงหาความยาว ของ Crank และ Coupler Link 4. จงออกแบบ Slider-Crank โดยกาหนดให้ช่ว งชัก ของ Slider เท่ า กับ 46 mm เมื่ อ Time-Ratio เท่ากับ 1 โดยที่ความยาวของ Connecting Rod จะต้องมากกว่า Crank 2.5 เท่า 5. จงออกแบบ Slider-Crank โดยกาหนดให้ช่ว งชัก ของ slider เท่ า กับ 50 mm เมื่ อ Time-Ratio เท่ากับ 1.75 โดยทีค่ วามยาวของ Connecting Rod จะต้องมากกว่า Crank 2.5 เท่า 6. จงสร้าง 4-bar Linkage สาหรับเคลือ่ นย้ายวัตถุใน รู ปข้างล่างนี้ จากตาแหน่ ง ที่ 1 ไปยัง ตาแหน่ ง ที่ 2 และ 3 ตามลาดับ โดยกาหนดให้ A และ B เป็ นจุด เชื่อมต่อของ Link กาหนดให้ Coupler Link เป็ น Output Link โดย Input Link มีค วามเร็ ว คงที่

(เพิ่ ม Driver Dyad ถ้า จ าเป็ น ) และทุ ก จุ ด หมุ น (Ground) ต้องอยู่บนฐาน (Base) เท่านัน้ a.

หน่วยเป็ น mm

b.

หน่วยเป็ น mm

c.

หน่วยเป็ น mm

42 | ห น้ า

Related Documents

04 (2).pdf
December 2019 7
04-04-2019.pdf
October 2019 6
2019-04-12 (2).pdf
October 2019 6
04.pdf
June 2020 2
04.pdf
November 2019 2
04.pdf
November 2019 8

More Documents from "Vintonius Raffaele PRIMUS"

May 2020 10
In For Ma Tic A
May 2020 6
Italiano Facile.pdf
May 2020 6
Ver Arsal.docx
November 2019 7