No3 Technique For Collecting Datar

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View No3 Technique For Collecting Datar as PDF for free.

More details

  • Words: 433
  • Pages: 33
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล 1. ประเภทของข้อมูล 2. ปั จ จั ย สำ ำ คั ญ ในกำรรวบรวมข้ อ 3. ขัน ้ ตอนกำรรวบรวมข้อมูล มูล 4. วิธีกำรรวบรวมข้อมูล 5. กำรสร้ำงเคร่ อ ื งมือในกำรรวบ

ประเภทของข้อมูล  แบ่งตามแหล่งที่มา เช่น ปฐมภูมิ (Primary data) ทุตยิ ภูมิ

(Secondary data)  แบ่งตามลักษณะตัวเลข เช่น ไม่ต่อเนื่อง (discrete data) ต่อเนื่อง (continuous data)  แบ่งตามลักษณะข้อมูล เช่น คุณภาพ (qualitative data) ปริมาณ (quantitative data)

ปัจจัยสำาคัญในการรวบรวมข้อมูล การตั้งนิยามศัพท์ ความถูกต้อง การจดบันทึกตัวเลข วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ระยะเวลาในการเก็บขอมูล

ขั้นตอนการรวบรวมข้อมูล กำาหนดตัวแปรที่ต้องศึกษา กำาหนดข้อมูลและตัวชี้วัด กำาหนดแหล่งข้อมูล เลือกวิธีรวบรวมข้อมูล ทดสอบเครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลจริง

วิธีการรวบรวมข้อมูล ข้อมูลที่มีอยู่แล้ว ข้อมูลที่ได้จากการสังเกต ขัอมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ ข้อมูลที่ได้จากการตอบของผู้ตอบแบบสอบถามเอง

วิธีการสังเกต

 แบบเป็นทางการ/มีโครงสร้าง กับแบบไม่เป็นทางการ/ไม่มีโครงสร้าง

(formal/structural and informal/ unstructured observation)  แบบมีส่วนร่วม และไม่มีส่วนร่วม (participatory and nonparticipatory observation)  แบบควบคุม และแบบปล่อยให้เป็นธรรมชาติ (laboratory and field observation)

หลักการสังเกต

ต้องเป็นระบบ ต้องเจาะจง ต้องเป็นกลาง

ต้องทำาให้เป็นเชิงปริมาณ ต้องจดบันทึกทันที ต้องรอบรูเ้ รื่องที่สังเกต ต้องตรวจสอบซำ้าได้

ข้อจำากัดของการสังเกต

สังเกตให้ครบถ้วนทำาได้ยาก

อาจเกิดปัญหาการลำาเอียง หรือการเสแสร้ง ขึ้นอยู่กับทักษะของผู้สังเกตค่อนข้างมาก อาจมีเหตุการณ์ไม่คาดฝันระหว่างการสังเกต พฤติกรรมเล็กๆน้อยๆอาจสังเกตได้ยาก ใช้เวลา และค่าใช้จ่ายมาก

การสัมภาษณ์

 การสัมภาษณ์รายบุคคล (Individual Interview)  การสัมภาษณ์เป็นกลุม่ (Group Interview)  การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured Interview)  การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Interview)  การสัมภาษณ์แบบหยั่งลึก (In-depth Interview)  การสนทนากลุ่ม (Focus Group)  การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ (Telephone Interview)

หลักการสัมภาษณ์ ขั้นเตรียมการ ขั้นสัมภาษณ์ การปิดการสัมภาษณ์

ขั้นเตรียมการ

กำาหนดวัตถุประสงค์การสัมภาษณ์ให้ชัดเจน เตรียมเครื่องมือช่วยการสัมภาษณ์ให้พร้อม พนักงานสัมภาษณ์ ผู้ให้สมั ภาษณ์ เตรียมพื้นที่ พาหนะ อาหาร และการเงิน

ขั้นสัมภาษณ์ การแนะนำาตัว และสร้างความคุ้นเคย การเริ่มสัมภาษณ์ การบันทึกผล

การปิดการสัมภาษณ์ การกล่าวขอบคุณ การตรวจสอบข้อมูล

การสร้างเครื่องมือ ประเภทของเครือ่ งมือ ขั้นตอนในการสร้างเครื่องมือ ลักษณะเครื่องมือที่ดี

ประเภทของเครื่องมือ แบบประกอบการสังเกต (Checklist) แบบประกอบการสัมภาษณ์ (Interview schedule or guide) แบบสอบถาม (Questionnaire) แบบประเมินค่า (Rating scale) แบบสังคมมิติ (Sociometric techniques)  แบบทดสอบ (Test)

แบบประกอบการสังเกต (Checklist) รำยกำรเคร่ อ ื งใช้ในครัวเรือนของกลุ่มตัวอ ย่ำง ……….1. วิทยุ ……….2. โทรทัศน์สี ……….3. ตูเ้ ย็น ……….4. พัดลม ………..5. เตำแก๊ส

แบบประกอบการสังเกต (Checklist)2 พฤติกรรมของผู้นำำในกำรประชุมกลุ่ม วันที่……..เดือน…………..พ.ศ……เวลา………..ที่สังเกต พฤติกรรม จำานวนครั้ง หมายเหตุ 1. แสดงความคิดเห็น 2. ชีน้ ำาความคิด 3. กระตุ้นสมาชิกให้ แสดงความคิดเห็น

แบบประกอบการสัมภาษณ์ (Interview schedule)

ส่วนท่ี 1 หัวข้อกำรวิจัย คำำชีแ ้ จงวัตถุประสงค์กำรวิจัย ส่วนท่ี 2 ข้อมูลในส่วนของเน้ือหำกำรวิจัย ส่วนท่ี 3

แบบประกอบการสัมภาษณ์ (Interview guide)

แบบไม่มีโครง สร้ำง

แบบสอบถาม (questionnaire) เป็นเครื่องมือทีม่ ีโครงสร้างคล้ายกับแบบสัมภาษณ์แบบมีโครง

สร้าง มีคำาชี้แจงที่ละเอียดชัดเจน (ผูต้ อบสามารถเข้าใจ ตอบเองได้) คำาถามเป็นภาษาที่เข้าใจง่าย ชัดเจน ถ้าเป็นแบบสอบถามทางไปรษณีย์ตอ้ งมีที่อยู่ส่งกลับที่ชดั เจน

แบบประเมินค่า (Rating scale) แบบใช้ตัวเลข แบบไม่ใช้ตัวเลข

แบบใช้ตัวเลข ท่ำนพอใจกับนำยกรัฐมนตรีคนปั จจุบันเพียงใด? 1

2

3

4

5

แบบไม่ใช้ตัวเลข

ท่ำนพอใจกับนำยกรัฐมนตรี คนปั จจุบันเพียงใด? ……………………………………… (ตอบตำมควำมคิดเห็นของท่ ำน)

แบบสังคมมิติ (Sociometric Technique) การสร้างภาพสังคม (Sociogram) ท่ำนชอบทำำงำนกับใครมำกท่ีสุ ด? นิพน นิกร

ธ์

มำลั ย

วิชัย

มะลิ

แบบทดสอบ (Test)

เป็ นกำรวัดควำมสำมำรถท ำงสมอง (intellectual ability)

ขั้นตอนในการสร้างเครื่องมือ1 แจกแจงประเด็นสำาคัญและข้อมูลที่ต้องก

ารจากวัตถุประสงค์ของการวิจัย กำาหนดตัวแปรที่ต้องการจะวัดจากประเ ด็นสำาคัญ

ขัน้ ตอนในการสร้างเครื่องมือ2 • กำำหนดตัวชีว้ด ั ของตัวแปรท่ต ี ้องก ำรศึกษำ • กำำหนดเกณฑ์ในกำรวัด

ขั้นตอนในการสร้างเครื่องมือ3

• กำำหนดวิธีท่ีจะใช้วด ั • ร่ำงคำำถำมท่ีจะใช้ในกำ รวัด

ลักษณะของเครื่องมือที่ดี

1 มีความตรง (Validity)

2. มีความเทีย่ ง (Reliability) 3. มีความยาก-ง่ายพอเหมาะ (Difficulty) 4. มีอำานาจจำาแนก(Discrimination Power) 5. ใช้ง่าย (Usability)

มีความตรง (Validity) วัดควำมรู้ knowledge

ได้ควำ knowledge มรู้ ได้ควำมคิดเห็น opinion

1. กีฬำเอเช่ียนเกมส์ครัง้ท่ี 14 จะจัดขึน ้ ท่ีประเทศใด? 2. กีฬำเอเช่ียนเกมส์ครัง้ท่ี 14

มีความเที่ยง (Reliability)

วัดกี่ครั้งยังได้ผลเหมือนเดิม

สอบครั้งที1่ นักศึกษา 100 คน สอบได้ 80 คน สอบตก 20 คน นำานักศึกษากลุ่มที่สอบได้ 40 คน กลุ่มที่สอบตก 10 คน มาสอบครัง้ ที่ 2 สอบครั้งที2่ นักศึกษา 50 คน สอบได้ 39 คน สอบตก 11 คน

มีความยาก-ง่ายพอเหมาะ (Difficulty) ข้อสอบง่ำย นักศึกษำเข้ำสอบ 100 คน ได้ A ทุกคน ข้อสอบยำก นักศึกษำเข้ำสอบ 100 คน ได้ C 5 คน D 80 คน F 15 คน ข้อสอบท่ีดี นักศึกษำเข้ำสอบ 100 คน ได้ A 15 คน B 35 คน C 35 คน D 15 คน

อำานาจจำาแนก (Discrimination Power) เด็กเรียนดี

สอบได้

เด็กเรียนไม่ดี สอบไม่ได้

Related Documents